บทความนี้ไม่มีจาก(สิงหาคม 2565) |
ภาษามัลดีฟส์ (อังกฤษ: Maldivian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันและเป็นภาษาราชการของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดประมาณ 300,000 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ รวมทั้งภาษามาห์ล (Mahl dialect) ที่ใช้ในลักษทวีป ซึ่งเป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย เรียกชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง ภาษาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของภาษามัลดีฟส์มีหลายภาษา โดยเฉพาะภาษาอาหรับ ที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลาม รวมทั้ง ภาษาสิงหล ภาษามลยาฬัม ภาษาฮินดี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส และ ภาษาอังกฤษ คาดว่าภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหลสืบมาจากภาษาเดียวกัน ซึ่งได้สูญพันธุ์ไป เมื่อเกิดภาษาใหม่ 2 ภาษาในช่วงประมาณ พ.ศ. 43
ภาษามัลดีฟส์ | |
---|---|
ދިވެހި | |
ออกเสียง | [diˈʋehi] |
ภูมิภาค | มัลดีฟส์; ลักษทวีป (อินเดีย) |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | 3.4 แสนคน (2012) |
ตระกูลภาษา | |
รูปแบบก่อนหน้า |
|
ระบบการเขียน | อักษรทานะ |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | มัลดีฟส์ |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | อินเดีย |
สถาบันมัลดีฟส์ | |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | dv |
ISO 639-2 | div |
ISO 639-3 | div |
ผู้ศึกษาภาษานี้เป็นคนแรกคือ H. C. P. Bell เขาตั้งชื่อภาษานี้ว่า Divehi มาจาก –dives ของชื่อประเทศคือ Maldives คำว่ามัลดีฟส์นี้มีรากศัพท์มาจากคำเดียวกับทวีป (dvīp) ซึ่งหมายถึงเกาะในภาษาสันสกฤต นักภาษาศาสตร์ที่ทำวิจัยเกี่ยวกับภาษามัลดีฟส์เป็นคนแรกคือ Wilhelm Geiger ชาวเยอรมัน
จุดกำเนิด
ภาษามัลดีฟส์เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันใกล้เคียงกับภาษาสิงหลในประเทศศรีลังกา จัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่อยู่ใต้สุด ภาษามัลดีฟส์มีลักษณะเฉพาะเช่นเดียวกับภาษาสิงหล ซึ่งเรียกรวมกันว่าภาษาอินโด-อารยันหมู่เกาะ
ในช่วงแรกเชื่อว่าภาษามัลดีฟส์เป็นลูกหลานของภาษาสิงหล ใน พ.ศ. 2512 M. W. S. de Silva เสนอว่าภาษาสิงหลและภาษามัลดีฟส์แตกแขนงออกมาจากภาษาแม่ที่เป็นภาษาปรากฤต ตระกูลภาษาดราวิเดียนมีอิทธิพลต่อภาษามัลดีฟส์โดยเฉพาะชื่อโบราณ ทฤษฎีของ De Silva ได้รับการสนับสนุนจากตำนานของเจ้าชายวิชัยที่อพยพจากอินเดียยังศรีลังกาและแผ่อิทธิพลไปถึงมัลดีฟส์
ความหลากหลายของภาษา
เมื่อภาษาได้แพร่ไปตลอดหมู่เกาะได้เกิดความแตกต่างทางด้านคำศัพท์ และการออกเสียงขึ้น เนื่องจากเกาะอยู่ไกลกันมาก โดยเฉพาะระหว่างเกาะตอนเหนือและตอนใต้ คนในมาเล (Malé) ไม่สามารถเข้าใจภาษาย่อยที่ใช้ในหมู่เกาะ (Addu) ได้สำเนียงมาตรฐานคือสำเนียงมาเลที่ใช้พูดในเมืองหลวง สำเนียงที่สำคัญของภาษานี้มักพบทางตอนใต้ได้แก่ ฮูวาดุ ฟูอะ มูลากุ และอัดดุ มีเฉพาะสำเนียงมาเลและสำเนียงมาลิกุเท่านั้นที่ใช้ในการเขียน สำเนียงอื่นใช้เฉพาะการพูดและการร้องเพลง
สำเนียงโมโลกิที่ใช้พูดในต่างจากสำเนียงมาเลที่มีเสียง 'l' เป็นตัวสะกด (ލް) มีเสียง 'o' ท้ายคำ แทนที่เสียง 'u' เช่น 'fannu' กลายเป็น 'fanno' อักษร () ซึ่งใช้แทนเสียงม้วนลิ้นของ "n" พบมากในภาษาในอินเดีย เช่นภาษาสิงหล ภาษาคุชราต ภาษาฮินดี ถูกตัดออกจากการเขียนมาตรฐานของภาษามัลดีฟส์ เมื่อ พ.ศ. 2493 ปัจจุบันจะพบได้เฉพาะในเอกสารโบราณหรือการเขียนของสำเนียงอัดดุ
ระดับชั้นของภาษา
ภาษามัลดีฟส์มีการแบ่งระดับชั้นของภาษาชัดเจนโดยมีระดับของภาษา 3 ระดับ คือ ระดับแรก รีทิ บัส (reethi bas) หรือ อาเธ-วดัยเนฟวุน (aadhe-vadainevvun) ในอดีตใช้ติดต่อกับชนชั้นสูงและราชวงศ์ แต่ปัจจุบันใช้ในวิทยุโทรทัศน์ ในการแสดงความเคารพต่อผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่ และคนแปลกหน้า จะใช้ระดับที่ 2 คือ ลับบา-ธุรุวุน (labba-dhuruvun) คนส่วนใหญ่ใช้ระดับที่ 3 ที่เป็นระดับกันเองในชีวิตประจำวัน
ระบบการเขียน
อักษรที่ใช้เขียนภาษามัลดีฟส์มี 2 ชนิด ชนิดที่ใช้ในปัจจุบันเรียกว่าอักษรทานะ (Thaana) เขียนจากขวาไปซ้าย ส่วนอักษรดั้งเดิมเรียกอักษรดิเวส อกุรุ (Dhives Akuru) ซึ่งเขียนจากซ้ายไปขวา อักษรดิเวส อกุรุ ใช้ในทุกเกาะจนถึงช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และการมาถึงของศาสนาอิสลาม แต่ยังคงใช้ในการติดต่อกับหมู่เกาะอัดดุ จนถึงช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตอนต้น และยังคงใช้ในเกาะที่ห่างไกลและหมู่บ้านในชนบทจนถึงทศวรรษ 1960 คนที่ใช้เป็นอักษรแม่คนสุดท้ายตายในช่วงทศวรรษ 1990 และปัจจุบัน ส่วนใหญ่ชาวมัลดีฟส์ไม่ได้เรียนอักษรดิเวส อกุรุ กันทุกคน แต่คนที่เรียนจะเรียนเป็นอักษรที่ 2
อัตราการเรียนรู้หนังสือสูงมาก (98%) เมื่อเทียบกับประเทศในเอเชียใต้ประเทศอื่น ๆ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 ในการสอนหนังสือในโรงเรียนส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษ แต่ก็ยังคงมีการสอนหนังสือภาษามัลดีฟส์ และใช้ในการปกครอง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk singhakhm 2565 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phasamldifs xngkvs Maldivian language epnphasaklumxinod xarynaelaepnphasarachkarkhxngpraethsmldifs mikhnphudpraman 300 000 khn swnihyxasyxyuinmldifs rwmthngphasamahl Mahl dialect thiichinlksthwip sungepndinaednshphaphkhxngxinediy eriykchuxtangkndwyehtuphlthangkaremuxng phasathimixiththiphltxkarphthnakhxngphasamldifsmihlayphasa odyechphaaphasaxahrb thiekhamaphrxmkbsasnaxislam rwmthng phasasinghl phasamlyalm phasahindi phasafrngess phasaepxresiy phasaoprtueks aela phasaxngkvs khadwaphasamldifsaelaphasasinghlsubmacakphasaediywkn sungidsuyphnthuip emuxekidphasaihm 2 phasainchwngpraman ph s 43phasamldifsދ ވ ހ xxkesiyng diˈʋehi phumiphakhmldifs lksthwip xinediy chatiphnthucanwnphuphud3 4 aesnkhn 2012 trakulphasaxinod yuorepiyn phasaklumxinod xiereniynphasaklumxinod xarynphasamldifsrupaebbkxnhnaphasamldifsrabbkarekhiynxksrthanasthanphaphthangkarphasathangkar mldifsphasachnklumnxythirbrxngin xinediysthabnmldifsrhsphasaISO 639 1dvISO 639 2divISO 639 3div phusuksaphasaniepnkhnaerkkhux H C P Bell ekhatngchuxphasaniwa Divehi macak dives khxngchuxpraethskhux Maldives khawamldifsnimiraksphthmacakkhaediywkbthwip dvip sunghmaythungekaainphasasnskvt nkphasasastrthithawicyekiywkbphasamldifsepnkhnaerkkhux Wilhelm Geiger chaweyxrmncudkaenidphasamldifsepnphasaklumxinod xaryniklekhiyngkbphasasinghlinpraethssrilngka cdepnphasaklumxinod xarynthixyuitsud phasamldifsmilksnaechphaaechnediywkbphasasinghl sungeriykrwmknwaphasaxinod xarynhmuekaa inchwngaerkechuxwaphasamldifsepnlukhlankhxngphasasinghl in ph s 2512 M W S de Silva esnxwaphasasinghlaelaphasamldifsaetkaekhnngxxkmacakphasaaemthiepnphasaprakvt trakulphasadrawiediynmixiththiphltxphasamldifsodyechphaachuxobran thvsdikhxng De Silva idrbkarsnbsnuncaktanankhxngecachaywichythixphyphcakxinediyyngsrilngkaaelaaephxiththiphlipthungmldifskhwamhlakhlaykhxngphasaemuxphasaidaephriptlxdhmuekaaidekidkhwamaetktangthangdankhasphth aelakarxxkesiyngkhun enuxngcakekaaxyuiklknmak odyechphaarahwangekaatxnehnuxaelatxnit khninmael Male imsamarthekhaicphasayxythiichinhmuekaa Addu idsaeniyngmatrthankhuxsaeniyngmaelthiichphudinemuxnghlwng saeniyngthisakhykhxngphasanimkphbthangtxnitidaek huwadu fuxa mulaku aelaxddu miechphaasaeniyngmaelaelasaeniyngmalikuethannthiichinkarekhiyn saeniyngxunichechphaakarphudaelakarrxngephlng saeniyngomolkithiichphudintangcaksaeniyngmaelthimiesiyng l epntwsakd ލ miesiyng o thaykha aethnthiesiyng u echn fannu klayepn fanno xksr sungichaethnesiyngmwnlinkhxng n phbmakinphasainxinediy echnphasasinghl phasakhuchrat phasahindi thuktdxxkcakkarekhiynmatrthankhxngphasamldifs emux ph s 2493 pccubncaphbidechphaainexksarobranhruxkarekhiynkhxngsaeniyngxdduradbchnkhxngphasaphasamldifsmikaraebngradbchnkhxngphasachdecnodymiradbkhxngphasa 3 radb khux radbaerk rithi bs reethi bas hrux xaeth wdyenfwun aadhe vadainevvun inxditichtidtxkbchnchnsungaelarachwngs aetpccubnichinwithyuothrthsn inkaraesdngkhwamekharphtxphusungxayu ecahnathi aelakhnaeplkhna caichradbthi 2 khux lbba thuruwun labba dhuruvun khnswnihyichradbthi 3 thiepnradbknexnginchiwitpracawnrabbkarekhiynxksrthiichekhiynphasamldifsmi 2 chnid chnidthiichinpccubneriykwaxksrthana Thaana ekhiyncakkhwaipsay swnxksrdngedimeriykxksrdiews xkuru Dhives Akuru sungekhiyncaksayipkhwa xksrdiews xkuru ichinthukekaacnthungchwngkhriststwrrsthi 18 aelakarmathungkhxngsasnaxislam aetyngkhngichinkartidtxkbhmuekaaxddu cnthungchwngkhriststwrrsthi 20 txntn aelayngkhngichinekaathihangiklaelahmubaninchnbthcnthungthswrrs 1960 khnthiichepnxksraemkhnsudthaytayinchwngthswrrs 1990 aelapccubn swnihychawmldifsimideriynxksrdiews xkuru knthukkhn aetkhnthieriyncaeriynepnxksrthi 2 xtrakareriynruhnngsuxsungmak 98 emuxethiybkbpraethsinexechiyitpraethsxun tngaetthswrrs 1960 inkarsxnhnngsuxinorngeriynswnihyichphasaxngkvs aetkyngkhngmikarsxnhnngsuxphasamldifs aelaichinkarpkkhrxng wikiphiediy saranukrmesri inphasamldifs