ภาษาขมุ [ขะ-หฺมุ] หรือ ภาษากำมุ เป็นภาษาของซึ่งอาศัยอยู่ในตอนเหนือของประเทศลาวรวมถึงพื้นที่ใกล้เคียงในประเทศไทย ประเทศเวียดนาม และประเทศจีน จัดอยู่ในของตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก โดยในตระกูลภาษานี้ ภาษาขมุมักได้รับการระบุว่ามีความใกล้ชิดกับและมากที่สุด
ภาษาขมุ | |
---|---|
ภาษากำมุ | |
พาซา คะมุ้ | |
ออกเสียง | [pʰasa̤ː kʰəmúʔ] (ภาษาขมุตะวันตกถิ่นห้วยเอียน จังหวัดเชียงราย) |
ประเทศที่มีการพูด | ลาว, ไทย, เวียดนาม, จีน |
ชาติพันธุ์ | |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (798,400 คน อ้างถึงสำมะโน ค.ศ. 1990–2015) |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
ระบบการเขียน | อักษรลาว, อักษรไทย, อักษรละติน |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | อย่างใดอย่างหนึ่ง:kjg – ภาษาขมุkhf – ภาษาขมุพุทธ |
การกระจายตามเขตภูมิศาสตร์
สุวิไล เปรมศรีรัตน์ (2002) รายงานที่ตั้งและภาษาถิ่นของภาษาขมุในประเทศไทย ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม และประเทศจีนดังต่อไปนี้
- ไทย: พบผู้พูดภาษาขมุในหมู่บ้านหลายหมู่บ้านซึ่งรวมถึงหมู่ที่ 6 บ้านห้วยเอียน อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย (ชาวขมุในหมู่บ้านนี้มีถิ่นเดิมอยู่ที่เมืองปากแบ่ง แขวงไชยบุรี ประเทศลาว) นอกจากนี้ยังมีพบในจังหวัดน่านและจังหวัดลำปาง
- ลาว: พบผู้พูดภาษาขมุในแขวง 8 แขวงทางตอนเหนือของประเทศ ได้แก่ แขวงไชยบุรี แขวงบ่อแก้ว แขวงหลวงน้ำทา แขวงอุดมไซ แขวงพงสาลี แขวงหลวงพระบาง และแขวงเชียงขวาง รวมถึงในหมู่บ้านบางหมู่บ้านใกล้เวียงจันทน์
- เวียดนาม: พบผู้พูดภาษาขมุในตำบลกีมดา อำเภอเตืองเซือง และในเมืองวิญ จังหวัดเหงะอาน นอกจากนี้ยังพบในจังหวัดลายเจิว จังหวัดเซินลา และจังหวัดทัญฮว้า
- จีน: พบผู้พูดภาษาขมุในจังหวัดปกครองตนเองสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน
ภาษาถิ่น
ภาษาขมุประกอบด้วยภาษาถิ่นหลายภาษาโดยไม่มีวิธภาษามาตรฐาน ภาษาขมุถิ่นมีความแตกต่างกันในแง่จำนวนเสียงพยัญชนะ การใช้ลักษณะน้ำเสียง และระดับอิทธิพลจากที่อยู่โดยรอบ ภาษาขมุถิ่นต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่สามารถเข้าใจซึ่งกันและกันได้ อย่างไรก็ตาม ผู้พูดภาษาถิ่นที่อยู่ไกลจากกันออกไปอาจสื่อสารกันลำบากขึ้น
ภาษาขมุในท้องถิ่นต่าง ๆ สามารถจัดเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้สองกลุ่ม ได้แก่ ภาษาขมุตะวันตกและภาษาขมุตะวันออก
- ภาษาขมุตะวันตก ได้แก่ภาษาขมุที่พูดกันเป็นหลักในจังหวัดน่านและจังหวัดเชียงราย ประเทศไทย; แขวงบ่อแก้ว แขวงอุดมไซ และแขวงหลวงน้ำทา ประเทศลาว; และในบางหมู่บ้านของจังหวัดปกครองตนเองสิบสองปันนา ประเทศจีน ภาษาขมุถิ่นในกลุ่มนี้มีหน่วยเสียงพยัญชนะน้อยกว่าภาษาขมุตะวันออกและมีการเปรียบต่างหน่วยเสียงระหว่างลักษณะน้ำเสียงทุ้ม-ต่ำกับลักษณะน้ำเสียงแรง-ดัง-สูง (หรือใส-แรง) ภาษาถิ่นบางภาษายังผ่านภาวะการเป็นภาษามีลักษณะน้ำเสียงไปเป็นภาษามีวรรณยุกต์แล้วด้วย
- ภาษาขมุตะวันออก ได้แก่ภาษาขมุที่พูดกันเป็นหลักในแขวงพงสาลี แขวงหลวงพระบาง แขวงหัวพัน และแขวงเชียงขวาง ประเทศลาว; จังหวัดเหงะอาน จังหวัดเซินลา และจังหวัดเดี่ยนเบียนในประเทศเวียดนาม; และในบางหมู่บ้านของจังหวัดปกครองตนเองสิบสองปันนา ประเทศจีน ภาษาขมุถิ่นในกลุ่มนี้มีแนวโน้มตรงกันข้ามกับภาษาขมุตะวันตก กล่าวคือ ไม่มีการเปรียบต่างหน่วยเสียงระหว่างลักษณะน้ำเสียงหรือระหว่างวรรณยุกต์ แต่มีการเปรียบต่างหน่วยเสียงระหว่างเสียงพยัญชนะหยุด 3 ประเภท (ก้อง ไม่ก้อง และไม่พ่นลม) และระหว่างเสียงพยัญชนะนาสิก 3 ประเภท (ก้อง ไม่ก้อง และนำด้วยเสียงหยุด เส้นเสียง) ในตำแหน่งต้นพยางค์
สัทวิทยา
พยัญชนะ
ลักษณะการออกเสียง | ตำแหน่งเกิดเสียง | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | ก้อง | m | n | ɲ | ŋ | ||||||||
ไม่ก้อง | m̥ | n̥ | ɲ̥ | ŋ̥ | |||||||||
นำด้วย [ˀ] | ˀm | ˀn | ˀɲ | ˀŋ | |||||||||
เสียงหยุด | ก้อง | b | d | ɟ | ɡ | ||||||||
ไม่ก้อง | ไม่พ่นลม | p | t | c | k | ʔ | |||||||
พ่นลม | pʰ | tʰ | cʰ | kʰ | |||||||||
(f) | s | h | |||||||||||
ก้อง | r | ||||||||||||
ไม่ก้อง | r̥ | ||||||||||||
ก้อง | l | ||||||||||||
ไม่ก้อง | l̥ | ||||||||||||
ก้อง | w | j | |||||||||||
ไม่ก้อง | w̥ | j̥ | |||||||||||
นำด้วย [ˀ] | ˀw | ˀj |
- หน่วยเสียงในช่องสีแดงคือหน่วยเสียงที่ปรากฏเฉพาะในภาษาขมุตะวันออกถิ่นต่าง ๆ
- หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งและมี 15 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ɲ/, /ŋ/, /p/, /t/, /c/, /k/, /ʔ/, /s/, /h/, /r/, /l/, /w/ และ /j/
- หน่วยเสียงพยัญชนะต้นควบมี 13 หน่วยเสียง ได้แก่ /pr/, /pl/, /pʰr/, /tr/, /tʰr/, /cr/, /cʰr/, /kr/, /kl/, /kw/, /kʰr/, /kʰw/ และ /sr/ (แต่หน่วยเสียง /tʰr/ ไม่ปรากฏในภาษาขมุตะวันตกถิ่นห้วยเอียน จังหวัดเชียงราย)
- หน่วยเสียง /c/ เมื่ออยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์ออกเสียงเป็น [t͡ɕ] และเมื่ออยู่ในตำแหน่งท้ายพยางค์ออกเสียงเป็น [c]
- หน่วยเสียง /cʰ/ ออกเสียงเป็น [t͡ɕʰ]
- หน่วยเสียง /f/ เป็นหน่วยเสียงที่ปรากฏเฉพาะในคำยืมจากภาษากลุ่มไทที่อยู่โดยรอบ
- หน่วยเสียง /s/ เมื่ออยู่ในตำแหน่งท้ายพยางค์ออกเสียงเป็น [jh], [h], [ç] หรือ [s] ขึ้นอยู่กับภาษาถิ่น
- หน่วยเสียง /w̥/ ออกเสียงเป็น
- เสียง [ˀj] หรือ [ʔj] จัดเป็นหน่วยเสียงเอกเทศในภาษาขมุตะวันออก แต่จัดเป็นหน่วยเสียงย่อยของหน่วยเสียง /j/ ในภาษาขมุตะวันตก โดยปรากฏเฉพาะในคำบางคำและในคำยืมจากภาษากลุ่มไท
สระ
สระในภาษาขมุมีทั้งสิ้น 22 เสียง เป็นสระเดี่ยว 19 เสียง และสระประสมสองเสียง 3 เสียง ภาษาขมุถิ่นทุกภาษามีหน่วยเสียงสระคล้ายคลึงกัน แม้ว่าภาษาขมุถิ่นบางภาษาจะได้พัฒนาระบบลักษณะน้ำเสียงขึ้นใช้ แต่สระยังคงเหมือนเดิม
สระเดี่ยว
ระดับลิ้น | ตำแหน่งลิ้น | ||
---|---|---|---|
หน้า | กลาง | หลัง | |
สูง | i, iː | ɨ, ɨː | u, uː |
กึ่งสูง | e, eː | ə, əː | o, oː |
กึ่งต่ำ | ɛ, ɛː | ʌː | ɔ, ɔː |
ต่ำ | a, aː |
- สระสั้น /e/, /ɛ/, /ɨ/, /ə/, /u/, /o/ และสระยาว /ʌː/ มีจำนวนการเกิดไม่มากนัก
- คำที่มีพยัญชนะท้ายเป็น [h] สระมักจะมีลักษณะเป็นเสียงสั้น เช่น [sih] 'นอน' ในขณะที่คำที่มีพยัญชนะท้ายเป็น [ʔ] สระมักจะมีลักษณะเป็นเสียงยาว เช่น [ləʔ] 'ดี'
- เสียงสระในพยางค์แรกของคำ (ซึ่งเป็นพยางค์ที่ไม่ลงเสียงหนัก) อาจมีการแปรเสียง เช่น /kato̤ŋ/ [kəto̤ŋ~kɨto̤ŋ] 'ไข่'
สระประสม
ภาษาขมุมีหน่วยเสียง 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /iə/, /ɨə/ และ /uə/
ลักษณ์เหนือหน่วยแยกส่วน
ภาษาขมุนั้นมีทั้งภาษาถิ่นที่ใช้ลักษณะน้ำเสียง ภาษาถิ่นที่ใช้วรรณยุกต์และความแตกต่างของพยัญชนะต้น (พ่นลมหรือไม่พ่นลม) ภาษาถิ่นที่ใช้วรรณยุกต์แต่ไม่ใช้ความแตกต่างของพยัญชนะต้น (พ่นลมหรือไม่พ่นลม) และภาษาถิ่นที่ไม่ใช้ทั้งลักษณะน้ำเสียงและวรรณยุกต์ แต่ใช้ความแตกต่างของพยัญชนะต้น (ก้องหรือไม่ก้อง) ในการจำแนกความหมายของคำ ดังตัวอย่างในตาราง
คำ | ภาษาไม่มีวรรณยุกต์ และไม่มีลักษณะน้ำเสียง | ภาษามีลักษณะน้ำเสียง | ภาษามีวรรณยุกต์ | |
---|---|---|---|---|
ภาษาขมุตะวันออก | ภาษาขมุตะวันตก | |||
ถิ่นที่ 1 | ถิ่นที่ 2 | ถิ่นที่ 3 | ||
'เหล้า' | buːc | pṳːc | pʰùːc | pùːc |
'ถอด' | puːc | pûːc | púːc | pûːc |
'เหยี่ยว' | ɡlaːŋ | kla̤ːŋ | kʰlàːŋ | klàːŋ |
'หิน' | klaːŋ | klâːŋ | kláːŋ | klâːŋ |
จากตาราง ภาษาขมุตะวันออกเป็นตัวแทนของภาษาขมุดั้งเดิมที่รักษาความเปรียบต่างระหว่างพยัญชนะก้องกับพยัญชนะไม่ก้องในตำแหน่งต้นพยางค์ และเป็นภาษาไม่มีลักษณะน้ำเสียงและไม่มีวรรณยุกต์ แต่ในภาษาขมุตะวันตกถิ่นที่ 1 พยัญชนะก้องในตำแหน่งต้นพยางค์ได้กลายเป็นพยัญชนะไม่ก้องพร้อมสระที่มีลักษณะน้ำเสียงทุ้ม-ต่ำ ในภาษาขมุตะวันตกถิ่นที่ 2 พยัญชนะก้องในตำแหน่งต้นพยางค์ได้กลายเป็นพยัญชนะไม่ก้อง พ่นลม ส่วนลักษณะน้ำเสียงทุ้ม-ต่ำได้พัฒนาไปเป็นเสียงวรรณยุกต์ต่ำ ส่วนภาษาขมุตะวันตกถิ่นที่ 3 พยัญชนะก้องในตำแหน่งต้นพยางค์ได้กลายเป็นพยัญชนะไม่ก้องพร้อมสระที่มีเสียงวรรณยุกต์ต่ำ ในขณะเดียวกัน ภาษาขมุตะวันตกยังคงรักษาเสียงพยัญชนะไม่ก้องในตำแหน่งต้นพยางค์จากภาษาขมุดั้งเดิมเอาไว้ แต่ได้พัฒนาลักษณะน้ำเสียงแรง-ดัง-สูงหรือวรรณยุกต์สูง (หรือสูง-ตก) ขึ้นมาเป็นลักษณ์เด่นจำแนกควบคู่กัน
ในภาษาขมุถิ่นที่ใช้ลักษณะน้ำเสียงบางภาษา (เช่น ภาษาขมุตะวันตกถิ่นห้วยเอียน จังหวัดเชียงราย) ลักษณะน้ำเสียงยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ ถ้าเป็นคำที่มีคู่เทียบเสียง ลักษณะน้ำเสียงที่ 1 และลักษณะน้ำเสียงที่ 2 ในคำเหล่านั้นจะมีลักษณะต่างกันอย่างชัดเจน แต่ถ้าไม่มีคู่เทียบเสียง ลักษณะน้ำเสียงทั้งสองจะใกล้เคียงกัน และถ้าเป็นคำหลายพยางค์ จะลงเสียงหนักและระบุลักษณะน้ำเสียงที่พยางค์สุดท้ายเท่านั้น ส่วนพยางค์อื่นจะไม่ลงเสียงหนัก จึงไม่ระบุลักษณะน้ำเสียง เช่น /kato̤ŋ/ 'ไข่', /sicáːŋ/ 'ช้าง', /talaːptáːp/ 'ผีเสื้อ', /taleŋtéŋ/ 'แมลงปอ'
ไวยากรณ์
วิทยาหน่วยคำ
โดยทั่วไปภาษาขมุเป็นภาษาไม่มีการเปลี่ยนรูปคำเพื่อแสดงเพศหรือ (ยกเว้นคำสรรพนาม) และไม่มีการกระจายรูปคำกริยาตามหรือการณ์ลักษณะ นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มที่จะเป็นภาษาที่มีคำพยางค์เดียวมากขึ้นเช่นเดียวกับภาษาอื่น ๆ ในตระกูลออสโตรเอเชียติก เช่น ภาษามัล ภาษาเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ในภาษาขมุก็มีการเติมหน่วยคำเติมเพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ์อยู่บ้าง แต่จัดเป็นระบบไม่ได้ชัดเจนนัก
สรรพนาม
คำสรรพนามแทนบุคคลมีรูปเป็นเอกพจน์ ทวิพจน์ และพหูพจน์ดังนี้
สรรพนาม | เอกพจน์ | ทวิพจน์ | พหูพจน์ | |
---|---|---|---|---|
บุรุษที่ 1 | โอะ | อะ | อิ | |
บุรุษที่ 2 | ชาย | แยะ | ซะว้า | ปอ |
หญิง | ปา | |||
บุรุษที่ 3 | ชาย | เกอ | ซะน้า | นอ |
หญิง | นา | |||
สัตว์ | เกอ, นา | |||
สิ่งของ | เกอ |
คำสรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยคซึ่งตรงกับคำว่า "อันที่" "คนที่" หรือ "ตัวที่" ในภาษาไทย ภาษาขมุจะใช้ว่า กัม หรือ นัม
หน่วยคำเติม
คำในภาษาขมุที่มีมากกว่า 1 พยางค์อาจเกิดจากการเติมหน่วยคำเติมหน้า (อุปสรรค) หรือ (อาคม) เพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ์ การเติมหน่วยคำเติมยังอาจทำให้ลักษณะน้ำเสียงในพยางค์ที่ 2 เปลี่ยนไปด้วย ตัวอย่างการเติมหน่วยคำเติมมีดังนี้
- หน่วยคำเติมหน้า {ซัง–} และ {รึน–} ทำให้คำกริยาเป็นคำนาม เช่น
- จุ้ 'เจ็บ' → ซังจุ้ 'ความเจ็บป่วย'
- เต็น 'นั่ง' → รึนเต็น 'ที่นั่ง'
- หน่วยคำเติมหน้า {ตึร–} และ {อึน–} ทำให้คำกริยาเป็นคำคุณศัพท์ เช่น
- เวียด 'บิด' → ตึรเวียด 'ที่ผิดไปจากรูปเดิม'
- จ้าก 'ฉีก' → อึนจ้าก 'ที่ฉีกขาด'
- หน่วยคำเติมหน้า {ปะ–} และ {ปึน–} เปลี่ยนคำกริยาทั่วไปให้เป็น (กริยาการีต) เช่น
- เลียน 'ออก' → ปะเลี้ยน 'ทำให้ออก'
- ล้ง 'ลืม, ไม่รู้ทาง' → ปึนล้ง 'ปล่อย, ทำให้หลงทาง'
- หน่วยคำเติมกลาง {–ึรน–} ทำให้คำกริยาเป็นคำนาม เช่น
- แก้บ 'คีบ' → กึรแนบ 'คีม'
- ต้าญ 'สาน' → ตึรนาญ 'เครื่องสาน'
วากยสัมพันธ์
ภาษาขมุเป็นภาษาที่มีการเรียงลำดับคำแบบประธาน–กริยา–กรรมเป็นหลัก มีการใช้คำสันธานน้อย โดยมากใช้ประโยคเรียงต่อกันเท่านั้น คำบุพบทมีไม่กี่คำ ที่ใช้มากคือคำว่า ตา หมายถึง 'ด้าน' หรือ 'ที่' และคำว่า ลอง หมายถึง 'แถว' หรือ 'บริเวณ'
ระบบการเขียน
คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดตัวเขียนภาษาขมุอักษรไทยตามระบบเสียงภาษาขมุตะวันตกที่พูดกันในบ้านห้วยเอียน ตำบลหล่ายงาว อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ไว้ดังนี้
|
|
|
อ้างอิง
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2536). พจนานุกรมไทย–ขมุ–อังกฤษ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า 57, 389.
- "Kmhmu'". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-07-26.
- "Khuen". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-07-26.
- Hammarström (2015) Ethnologue 16/17/18th editions: a comprehensive review: online appendices
- "Mon-Khmer Classification (Draft)".
- Diffloth, Gérard (2005). "The contribution of linguistic palaeontology and Austroasiatic". in Laurent Sagart, Roger Blench and Alicia Sanchez-Mazas, eds. The Peopling of East Asia: Putting Together Archaeology, Linguistics and Genetics. 77–80. London: Routledge Curzon.
- Premsrirat, Suwilai. (2002). Dictionary of Khmu in Laos. Mon-Khmer Studies, Special Publication, Number 1, Volume 3. Nakhon Pathom: Mahidol University at Salaya, Thailand.
- Premsrirat, Suwilai (2001). "Tonogenesis in Khmu dialects of SEA". Mon-Khmer Studies. 31: 54.
- Premsrirat, Suwilai (2001). "Tonogenesis in Khmu dialects of SEA". Mon-Khmer Studies. 31: 50.
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 37.
- Premsrirat, Suwilai (1987). "A Khmu Grammar". Papers in South-East Asian Linguistics. 10: 8.
- Premsrirat, Suwilai. The Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia. Nakhon Pathom: Institute of Language and Culture for Rural Development and SIL International, 2002.
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 38.
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 37.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2536). พจนานุกรมไทย–ขมุ–อังกฤษ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า (25).
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2536). พจนานุกรมไทย–ขมุ–อังกฤษ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า (25)–(26).
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 16.
- Premsrirat, Suwilai (2001). "Tonogenesis in Khmu dialects of SEA". Mon-Khmer Studies. 31: 54.
- ผณินทรา ธีรานนท์. (2557). เสียงวรรณยุกต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กำเนิดและพัฒนาการ. เชียงราย: ชอบพิมพ์, หน้า 41.
- Premsrirat, Suwilai (2001). "Tonogenesis in Khmu dialects of SEA". Mon-Khmer Studies. 31: 53.
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 44.
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 45.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2536). พจนานุกรมไทย–ขมุ–อังกฤษ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, หน้า (29).
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 17.
- สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2566). คู่มือระบบเขียนภาษาขมุอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, หน้า 16–17.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasakhmu kha h mu hrux phasakamu epnphasakhxngsungxasyxyuintxnehnuxkhxngpraethslawrwmthungphunthiiklekhiynginpraethsithy praethsewiydnam aelapraethscin cdxyuinkhxngtrakulphasaxxsotrexechiytik odyintrakulphasani phasakhmumkidrbkarrabuwamikhwamiklchidkbaelamakthisudphasakhmuphasakamuphasa khamuxxkesiyng pʰasa ː kʰemuʔ phasakhmutawntkthinhwyexiyn cnghwdechiyngray praethsthimikarphudlaw ithy ewiydnam cinchatiphnthucanwnphuphudimthrab 798 400 khn xangthungsamaon kh s 1990 2015 trakulphasaxxsotrexechiytik phasakhmurabbkarekhiynxksrlaw xksrithy xksrlatinrhsphasaISO 639 3xyangidxyanghnung a href https iso639 3 sil org code kjg class extiw title iso639 3 kjg kjg a phasakhmu a href https iso639 3 sil org code khf class extiw title iso639 3 khf khf a phasakhmuphuththkarkracaytamekhtphumisastrbriewnthimikarphudphasakhmuthinodypramaninpraethslaw suwiil eprmsrirtn 2002 raynganthitngaelaphasathinkhxngphasakhmuinpraethsithy praethslaw praethsewiydnam aelapraethscindngtxipni ithy phbphuphudphasakhmuinhmubanhlayhmubansungrwmthunghmuthi 6 banhwyexiyn xaephxewiyngaekn cnghwdechiyngray chawkhmuinhmubannimithinedimxyuthiemuxngpakaebng aekhwngichyburi praethslaw nxkcakniyngmiphbincnghwdnanaelacnghwdlapanglaw phbphuphudphasakhmuinaekhwng 8 aekhwngthangtxnehnuxkhxngpraeths idaek aekhwngichyburi aekhwngbxaekw aekhwnghlwngnatha aekhwngxudmis aekhwngphngsali aekhwnghlwngphrabang aelaaekhwngechiyngkhwang rwmthunginhmubanbanghmubaniklewiyngcnthnewiydnam phbphuphudphasakhmuintablkimda xaephxetuxngesuxng aelainemuxngwiy cnghwdehngaxan nxkcakniyngphbincnghwdlayeciw cnghwdesinla aelacnghwdthyhwacin phbphuphudphasakhmuincnghwdpkkhrxngtnexngsibsxngpnna mnthlyunnanphasathin phasakhmuprakxbdwyphasathinhlayphasaodyimmiwithphasamatrthan phasakhmuthinmikhwamaetktangkninaengcanwnesiyngphyychna karichlksnanaesiyng aelaradbxiththiphlcakthixyuodyrxb phasakhmuthintang odyswnihysamarthekhaicsungknaelaknid xyangirktam phuphudphasathinthixyuiklcakknxxkipxacsuxsarknlabakkhun phasakhmuinthxngthintang samarthcdepnklumihy idsxngklum idaek phasakhmutawntkaelaphasakhmutawnxxk phasakhmutawntk idaekphasakhmuthiphudknepnhlkincnghwdnanaelacnghwdechiyngray praethsithy aekhwngbxaekw aekhwngxudmis aelaaekhwnghlwngnatha praethslaw aelainbanghmubankhxngcnghwdpkkhrxngtnexngsibsxngpnna praethscin phasakhmuthininklumnimihnwyesiyngphyychnanxykwaphasakhmutawnxxkaelamikarepriybtanghnwyesiyngrahwanglksnanaesiyngthum takblksnanaesiyngaerng dng sung hruxis aerng phasathinbangphasayngphanphawakarepnphasamilksnanaesiyngipepnphasamiwrrnyuktaelwdwyphasakhmutawnxxk idaekphasakhmuthiphudknepnhlkinaekhwngphngsali aekhwnghlwngphrabang aekhwnghwphn aelaaekhwngechiyngkhwang praethslaw cnghwdehngaxan cnghwdesinla aelacnghwdediynebiyninpraethsewiydnam aelainbanghmubankhxngcnghwdpkkhrxngtnexngsibsxngpnna praethscin phasakhmuthininklumnimiaenwonmtrngknkhamkbphasakhmutawntk klawkhux immikarepriybtanghnwyesiyngrahwanglksnanaesiynghruxrahwangwrrnyukt aetmikarepriybtanghnwyesiyngrahwangesiyngphyychnahyud 3 praephth kxng imkxng aelaimphnlm aelarahwangesiyngphyychnanasik 3 praephth kxng imkxng aelanadwyesiynghyud esnesiyng intaaehnngtnphyangkhsthwithyaphyychna hnwyesiyngphyychnaphasakhmu lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngesiyngnasik kxng m n ɲ ŋimkxng m n ɲ ŋ nadwy ˀ ˀm ˀn ˀɲ ˀŋesiynghyud kxng b d ɟ ɡimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰ f s hkxng rimkxng r kxng limkxng l kxng w jimkxng w j nadwy ˀ ˀw ˀj hnwyesiynginchxngsiaedngkhuxhnwyesiyngthipraktechphaainphasakhmutawnxxkthintang hnwyesiyngthiepnidthngaelami 15 hnwyesiyng idaek m n ɲ ŋ p t c k ʔ s h r l w aela j hnwyesiyngphyychnatnkhwbmi 13 hnwyesiyng idaek pr pl pʰr tr tʰr cr cʰr kr kl kw kʰr kʰw aela sr aethnwyesiyng tʰr impraktinphasakhmutawntkthinhwyexiyn cnghwdechiyngray hnwyesiyng c emuxxyuintaaehnngtnphyangkhxxkesiyngepn t ɕ aelaemuxxyuintaaehnngthayphyangkhxxkesiyngepn c hnwyesiyng cʰ xxkesiyngepn t ɕʰ hnwyesiyng f epnhnwyesiyngthipraktechphaainkhayumcakphasaklumiththixyuodyrxb hnwyesiyng s emuxxyuintaaehnngthayphyangkhxxkesiyngepn jh h c hrux s khunxyukbphasathin hnwyesiyng w xxkesiyngepn esiyng ˀj hrux ʔj cdepnhnwyesiyngexkethsinphasakhmutawnxxk aetcdepnhnwyesiyngyxykhxnghnwyesiyng j inphasakhmutawntk odypraktechphaainkhabangkhaaelainkhayumcakphasaklumithsra srainphasakhmumithngsin 22 esiyng epnsraediyw 19 esiyng aelasraprasmsxngesiyng 3 esiyng phasakhmuthinthukphasamihnwyesiyngsrakhlaykhlungkn aemwaphasakhmuthinbangphasacaidphthnarabblksnanaesiyngkhunich aetsrayngkhngehmuxnedim sraediyw hnwyesiyngsraediywphasakhmu radblin taaehnnglinhna klang hlngsung i iː ɨ ɨː u uːkungsung e eː e eː o oːkungta ɛ ɛː ʌː ɔ ɔːta a aː srasn e ɛ ɨ e u o aelasrayaw ʌː micanwnkarekidimmaknk khathimiphyychnathayepn h sramkcamilksnaepnesiyngsn echn sih nxn inkhnathikhathimiphyychnathayepn ʔ sramkcamilksnaepnesiyngyaw echn leʔ di esiyngsrainphyangkhaerkkhxngkha sungepnphyangkhthiimlngesiynghnk xacmikaraepresiyng echn kato ŋ keto ŋ kɨto ŋ ikh sraprasm phasakhmumihnwyesiyng 3 hnwyesiyng idaek ie ɨe aela ue lksnehnuxhnwyaeykswn phasakhmunnmithngphasathinthiichlksnanaesiyng phasathinthiichwrrnyuktaelakhwamaetktangkhxngphyychnatn phnlmhruximphnlm phasathinthiichwrrnyuktaetimichkhwamaetktangkhxngphyychnatn phnlmhruximphnlm aelaphasathinthiimichthnglksnanaesiyngaelawrrnyukt aetichkhwamaetktangkhxngphyychnatn kxnghruximkxng inkarcaaenkkhwamhmaykhxngkha dngtwxyangintarang twxyangphthnakarkhxngesiyngwrrnyuktinphasakhmu 4 thin kha phasaimmiwrrnyukt aelaimmilksnanaesiyng phasamilksnanaesiyng phasamiwrrnyuktphasakhmutawnxxk phasakhmutawntkthinthi 1 thinthi 2 thinthi 3 ehla buːc pṳːc pʰuːc puːc thxd puːc puːc puːc puːc ehyiyw ɡlaːŋ kla ːŋ kʰlaːŋ klaːŋ hin klaːŋ klaːŋ klaːŋ klaːŋ caktarang phasakhmutawnxxkepntwaethnkhxngphasakhmudngedimthirksakhwamepriybtangrahwangphyychnakxngkbphyychnaimkxngintaaehnngtnphyangkh aelaepnphasaimmilksnanaesiyngaelaimmiwrrnyukt aetinphasakhmutawntkthinthi 1 phyychnakxngintaaehnngtnphyangkhidklayepnphyychnaimkxngphrxmsrathimilksnanaesiyngthum ta inphasakhmutawntkthinthi 2 phyychnakxngintaaehnngtnphyangkhidklayepnphyychnaimkxng phnlm swnlksnanaesiyngthum taidphthnaipepnesiyngwrrnyuktta swnphasakhmutawntkthinthi 3 phyychnakxngintaaehnngtnphyangkhidklayepnphyychnaimkxngphrxmsrathimiesiyngwrrnyuktta inkhnaediywkn phasakhmutawntkyngkhngrksaesiyngphyychnaimkxngintaaehnngtnphyangkhcakphasakhmudngedimexaiw aetidphthnalksnanaesiyngaerng dng sunghruxwrrnyuktsung hruxsung tk khunmaepnlksnedncaaenkkhwbkhukn inphasakhmuthinthiichlksnanaesiyngbangphasa echn phasakhmutawntkthinhwyexiyn cnghwdechiyngray lksnanaesiyngyngphthnaimsmburn thaepnkhathimikhuethiybesiyng lksnanaesiyngthi 1 aelalksnanaesiyngthi 2 inkhaehlanncamilksnatangknxyangchdecn aetthaimmikhuethiybesiyng lksnanaesiyngthngsxngcaiklekhiyngkn aelathaepnkhahlayphyangkh calngesiynghnkaelarabulksnanaesiyngthiphyangkhsudthayethann swnphyangkhxuncaimlngesiynghnk cungimrabulksnanaesiyng echn kato ŋ ikh sicaːŋ chang talaːptaːp phiesux taleŋteŋ aemlngpx iwyakrnwithyahnwykha odythwipphasakhmuepnphasaimmikarepliynrupkhaephuxaesdngephshrux ykewnkhasrrphnam aelaimmikarkracayrupkhakriyatamhruxkarnlksna nxkcakniyngmiaenwonmthicaepnphasathimikhaphyangkhediywmakkhunechnediywkbphasaxun intrakulxxsotrexechiytik echn phasaml phasaewiydnam xyangirktam inphasakhmukmikaretimhnwykhaetimephuxaesdnglksnathangiwyakrnxyubang aetcdepnrabbimidchdecnnk srrphnam khasrrphnamaethnbukhkhlmirupepnexkphcn thwiphcn aelaphhuphcndngni srrphnam exkphcn thwiphcn phhuphcnburusthi 1 oxa xa xiburusthi 2 chay aeya sawa pxhying paburusthi 3 chay ekx sana nxhying nastw ekx nasingkhxng ekx khasrrphnamthiichechuxmpraoykhsungtrngkbkhawa xnthi khnthi hrux twthi inphasaithy phasakhmucaichwa km hrux nm hnwykhaetim khainphasakhmuthimimakkwa 1 phyangkhxacekidcakkaretimhnwykhaetimhna xupsrrkh hrux xakhm ephuxaesdnglksnathangiwyakrn karetimhnwykhaetimyngxacthaihlksnanaesiynginphyangkhthi 2 epliynipdwy twxyangkaretimhnwykhaetimmidngni hnwykhaetimhna sng aela run thaihkhakriyaepnkhanam echncu ecb sngcu khwamecbpwy etn nng runetn thinng dd dd hnwykhaetimhna tur aela xun thaihkhakriyaepnkhakhunsphth echnewiyd bid turewiyd thiphidipcakrupedim cak chik xuncak thichikkhad dd dd hnwykhaetimhna pa aela pun epliynkhakriyathwipihepn kriyakarit echneliyn xxk paeliyn thaihxxk lng lum imruthang punlng plxy thaihhlngthang dd dd hnwykhaetimklang urn thaihkhakriyaepnkhanam echnaekb khib kuraenb khim tay san turnay ekhruxngsan dd dd wakysmphnth phasakhmuepnphasathimikareriyngladbkhaaebbprathan kriya krrmepnhlk mikarichkhasnthannxy odymakichpraoykheriyngtxknethann khabuphbthmiimkikha thiichmakkhuxkhawa ta hmaythung dan hrux thi aelakhawa lxng hmaythung aethw hrux briewn rabbkarekhiynkhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithy sanknganrachbnthityspha idkahndtwekhiynphasakhmuxksrithytamrabbesiyngphasakhmutawntkthiphudkninbanhwyexiyn tablhlayngaw xaephxewiyngaekn cnghwdechiyngray iwdngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k kwl khrktakhawtrak khwaykh kʰ ekhib fkismidng ŋ engaa khawepluxkaechrng chabc c ecuxng ethamuc mdch cʰ chang khangs s emuxepnphyychnatn esaa hmay ɲ yang iyaemngmumsurmiy dawd d dng padngdib t emuxepnphyychnathay srwd echat t emuxepnphyychnatn ti muxth tʰ than raebiyngbann n ny kraaetxyxn rafunraifb b ebd ebd p emuxepnphyychnathay etiyb hx kriya p p emuxepnphyychnatn pd epdph pʰ ephuxn khnotkf f aefb phngskfxkm m mr nguyum lukxxdy j yan mohrathukraway esuxyh s emuxepnphyychnathay hxyh tkaetnr r era ir emnkar ping yangl l la ibimoyl hwpliw w ewx r midthakhyaplaw maphrawx ʔ emuxepnphyychnatn aexb kratibxy ˀj xyng krabungaebbkhmuh h hwl hmitih ehdimmirup ʔ emuxepnphyychnathay xi phwkeraokhra nkkrnghwcukxy epnthwixksr sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuximmiphyychnathay aelaxyuinkhahlayphyangkh hruxemuxmiphyychnathayepn ʔ kamul enginlawang thxngfaka pla a emuxmiphyychnathay thiimich ʔ w khwr aekha khuymh khawsuk a aː sa krabung i i yim siaedng i iː sim nk u ɨ turlub krabxkimiph ux ɨː emuximmiphyychnathay cux ca u ɨː emuxmiphyychnathay xung xungxang u u plu tnkha u uː mum xab na e a e emuxmiphyychnathayepn ʔ epa same e emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngthum ekb td elmetn nnge e emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngis aerng ecd ecdesng saxade eː ep imeplk plaihlae a ɛ emuxmiphyychnathayepn ʔ sngaeba aephaae ɛ emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngthum aeth takrapakbanae ɛ emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngis aerng aesk td echuxk ae ɛː aexb kratibaelb aebno a o emuxmiphyychnathayepn ʔ osa khwanaebbkhmuo o emuxmiphyychnathayepn ɲ c s h r l aelamilksnanaesiyngthum okr ekaoyyh epraa hkngayoxh aephlo o emuxmiphyychnathayepn ɲ c s h r l aelamilksnanaesiyngis aerng othr ekhruxngdntrichnidhnung thacakimipho a ldrup o emuxmiphyychnathay thiimich ʔ ɲ c s h r l bk khudodyichcxbpd hyibxm nao oː osry aehngsnithomb aexb sxne aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ echaa xud x ɔ emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngthum yxh ipplxy aeka khawophd x ɔ emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngis aerng rxh it x ɔː cxy chwyehluxcxy isdkplae xa e emuxmiphyychnathayepn ʔ eklxa phm nam e i e emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngthum exib khrumering ering rungsange i e emuxmiphyychnathayxun aelamilksnanaesiyngis aerng ering nanexying phachnaaechkhawe x eː emuximmiphyychnathay esxekrx taikhre i eː emuxmiphyychnathay epikepx tukaeketib phx hyude x ʌː edx m due a aw eta etae iya ie emuxmiphyychnathayepn ʔ esiya lukphiluknxngchaye iy ie emuximmiphyychnathay hruxemuxmiphyychnathayxun epliy swyesiym esiyme uxa ɯe emuxmiphyychnathayepn ʔ ekluxa ehyiywchnidhnunge ux ɯe emuximmiphyychnathay hruxemuxmiphyychnathayxun purelux ifetruxk siokhrng wa ue emuxmiphyychnathayepn ʔ kumlwa phuchchnidhnungkhlaykha w ue emuximmiphyychnathay siyw imthahnacw w ue emuxmiphyychnathayxun pwyh ekngrupsrasnthimiekhruxnghmay cais iwehnuxphyychnatnediywhrux phyychnatnkhwbtwthisxng echn yxh aeklh inkrnithiepnsra e i caeluxn ipiwehnuxphyychnathdip enuxngcakchnkbrupsrabn i echn exib inkrnithiepnsraesiyngsnthimilksnanaesiyngis aerng ihisechphaa ekhruxnghmay odyimtxngisekhruxnghmay ephuxaesdngesiyngsndwy echn aesk othr ering inkrnithiphyychnatnkhwbpraktrwmkbrupsrahna e ae o imtxngeluxnphyychnatwaerkipiwhnarupsrann echn ekla aechrng osry lksnanaesiyng xksrithy lksna naesiyng twxyangkha khwamhmayimmirup thum thum ta tuk cnpih ihyrang dxkimekla sami is aerng aerng dng sung tuk phukpih cung yangimrang fn nam ekla ophlkhathimikhuethiyblksnanaesiyng phuphudphasakhmu caxxkesiyngkhatangknchdecn echn engaa klw kb engaa khawepluxk swnkhathiimmikhuethiyb lksnanaesiyng phuphudphasakhmucaimekhrngkhrd inkarichekhruxnghmayaesdnglksnanaesiyng echn xh mi xacekhiynodyimisekhruxnghmay aesdnglksnanaesiyngkakbkid inkrnithiepnkhahlayphyangkh calngesiynghnk aelarabulksnanaesiyngthiphyangkhsudthayethann swnphyangkhxuncaimlngesiynghnk cungimrabulksna naesiyng echn katng sicang talabtab taelngetngxangxingsuwiil eprmsrirtn 2536 phcnanukrmithy khmu xngkvs nkhrpthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxphthnachnbth mhawithyalymhidl hna 57 389 Kmhmu Ethnologue phasaxngkvs subkhnemux 2018 07 26 Khuen Ethnologue phasaxngkvs subkhnemux 2018 07 26 Hammarstrom 2015 Ethnologue 16 17 18th editions a comprehensive review online appendices Mon Khmer Classification Draft Diffloth Gerard 2005 The contribution of linguistic palaeontology and Austroasiatic in Laurent Sagart Roger Blench and Alicia Sanchez Mazas eds The Peopling of East Asia Putting Together Archaeology Linguistics and Genetics 77 80 London Routledge Curzon Premsrirat Suwilai 2002 Dictionary of Khmu in Laos Mon Khmer Studies Special Publication Number 1 Volume 3 Nakhon Pathom Mahidol University at Salaya Thailand Premsrirat Suwilai 2001 Tonogenesis in Khmu dialects of SEA Mon Khmer Studies 31 54 Premsrirat Suwilai 2001 Tonogenesis in Khmu dialects of SEA Mon Khmer Studies 31 50 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 37 Premsrirat Suwilai 1987 A Khmu Grammar Papers in South East Asian Linguistics 10 8 Premsrirat Suwilai The Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia Nakhon Pathom Institute of Language and Culture for Rural Development and SIL International 2002 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 38 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 37 suwiil eprmsrirtn 2536 phcnanukrmithy khmu xngkvs nkhrpthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxphthnachnbth mhawithyalymhidl hna 25 suwiil eprmsrirtn 2536 phcnanukrmithy khmu xngkvs nkhrpthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxphthnachnbth mhawithyalymhidl hna 25 26 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 16 Premsrirat Suwilai 2001 Tonogenesis in Khmu dialects of SEA Mon Khmer Studies 31 54 phninthra thirannth 2557 esiyngwrrnyuktinexechiytawnxxkechiyngit kaenidaelaphthnakar echiyngray chxbphimph hna 41 Premsrirat Suwilai 2001 Tonogenesis in Khmu dialects of SEA Mon Khmer Studies 31 53 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 44 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 45 suwiil eprmsrirtn 2536 phcnanukrmithy khmu xngkvs nkhrpthm sthabnwicyphasaaelawthnthrrmephuxphthnachnbth mhawithyalymhidl hna 29 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 17 sanknganrachbnthityspha 2566 khumuxrabbekhiynphasakhmuxksrithy chbbrachbnthityspha krungethph sanknganrachbnthityspha hna 16 17 mikarthdsxb phasakhmu khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxr