ฟองมัน หรือ ตาไก่ (๏) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนที่นิยมใช้ในหนังสือไทยสมัยโบราณ ใช้เมื่อขึ้นต้นบท ตอน หรือเรื่อง ทั้งคำประพันธ์ร้อยกรองและร้อยแก้ว โดยไม่จำเป็นต้องย่อหน้าหรือขึ้นบรรทัดใหม่ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันนี้นิยมใช้ฟองมันเมื่อขึ้นต้นบทร้อยกรองเท่านั้น
อักษรไทย | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
๏ | |||||||
รูปพยัญชนะ | |||||||
ก | ข | ฃ | ค | ฅ | ฆ | ง | จ |
ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฎ | ฏ | ฐ |
ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ |
น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ |
ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส |
ห | ฬ | อ | ฮ | ||||
รูปสระ | |||||||
ะ | –ั | า | –ํ | –ิ | ' | " | |
–ุ | –ู | เ | โ | ใ | ไ | –็ | |
อ | ว | ย | ฤ | ฤๅ | ฦ | ฦๅ | |
รูปวรรณยุกต์ | |||||||
–่ | –้ | –๊ | –๋ | ||||
เครื่องหมายอื่น ๆ | |||||||
–์ | –๎ | –ฺ | |||||
เครื่องหมายวรรคตอน | |||||||
ฯ | ฯลฯ | ๆ | |||||
๏ | ๚ | ๛ | ┼ |
๏ | |
---|---|
ฟองมัน | |
- ๏ เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวสา
- รับกฐินภิญโญโมทนา
- ชุลีลาลงเรือเหลืออาลัย
- จาก นิราศภูเขาทอง
นอกจากเครื่องหมายฟองมันที่เป็นรูปวงกลมแล้ว ในสมัยโบราณยังนิยมใช้เครื่องหมาย ฟองมันฟันหนู ( ๏”) นั่นคือ มีเครื่องหมาย ฟันหนู (") วางอยู่บนฟองมัน ใช้กำกับเมื่อจะขึ้นต้นบท หรือตอน โดยมีชื่อเรียกอื่นอีก เช่น ฟันหนูฟองมัน หรือ ฝนทองฟองมัน บางแห่งใช้เครื่องหมายวงกลมเล็ก ( ๐”) มีฟันหนูวางอยู่ข้างบน เรียกว่า ฟองดัน ก็มี
รูปแบบ
เครื่องหมายฟองมันที่พบทั้งหมด มี 3 แบบ คือ
- วงกลมวงเดียว
- วงกลม 2 วงซ้อนกัน
- วงกลมและมีจุดตรงกลาง
แบบแรกพบในสมัยสุโขทัย สองแบบหลังพบในสมัยอยุธยา ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์พบทั้ง 3 แบบ ในสมัยสุโขทัยจะมีการเขียนอักษรอยู่ 2 ลักษณะ คือ เขียนเรียงต่อไปจนจบเรื่องโดยไม่มีการเว้นวรรค หรือ มีการเว้นวรรคควบคู่กับการใช้เครื่องหมายฟองมัน ศิลาจารึกที่พบว่ามีการใช้เครื่องหมายเหล่านี้ อาทิ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง (ด้านที่ 3 และ 4), ศิลาจารึกวังชิ้น, ศิลาจารึกนครชุม, ศิลาจารึกเขาสุมณกูฏ, ศิลาจารึกวัดช้างล้อม, ศิลาจารึกวัดลำปางหลวง การใช้ฟองมันสมัยสุโขทัยมีดังนี้
- ใช้คั่นข้อความต่างภาษากัน เช่น ขึ้นต้นภาษาบาลีพอจะแปลเป็นภาษาไทยก็ใช้ฟองมันคั่นไว้ หรือเมื่อจบภาษาไทยจะขึ้นภาษาบาลีก็คั่นข้อความไว้
- ใช้นำหน้าข้อความตอนใหม่ คือเขียนติดกันไปเรื่อย ๆ เมื่อขึ้นความตอนใหม่ก็คั่นด้วยฟองมัน แล้วเขียนต่อเลย ไม่ขึ้นบรรทัดใหม่หรือย่อหน้าใหม่
- ใช้นำหน้าข้อความที่เป็นกฎหมายแต่ละมาตรา โดยจะใช้ฟองมันคั่นข้อความแล้วตามด้วยมาตรา เช่น "...ไว้กลางเมือง ๐ มาตราหนึ่ง..."
- ใช้นำหน้าข้อความที่กล่าวถึงศักราช เช่น "...สรรพานตราย ๐ สักราชแก่พระเจ้า..."
- ใช้นำหน้ารายการต่าง ๆ เพื่อแยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น "...๐ จรามขันอันหนึ่ง ๐ ฟูก้อนหนึ่ง ๐ หมอนอันหนึ่ง ๐ บังงาอันหนึ่ง ๐ ...."
- ใช้แยกคำที่มีรูปเดียวกันและอยู่ชิดกัน เช่น "...ญิบหมื่นสี่พันหกสิบเดือน ๐ เดือนอันพระได้เป็นพระพุท..."
- ใช้แยกอักษรซึ่งมีรูปเดียวกันและอยู่ชิดกัน เช่น "...กระทำบุนยธรรมบ่ขาดสักเมื่อ ๐ อยู่ในสองแควได้เจ็ดเข้า..."
ในสมัยอยุธยามีการเพิ่มการใช้สำหรับเริ่มเรื่องขึ้นมา และสมัยต้นรัตนโกสินทร์ใช้สำหรับนำหน้าข้อย่อยแต่ละข้อเพิ่มขึ้น ชื่ออื่นที่ปรากฏในเอกสารเก่านอกจากฟองมันแล้วมี ฟองมัณฑ์ ฟองมันท์ ฟองดัน ตาไก่ ตานกแก้ว
ฟองมันไม่มีปรากฏบนแป้นพิมพ์ภาษาไทย แต่มีอยู่ในรหัสอักขระ TIS 620 ที่ 0xEF (239) และรหัสยูนิโคดที่ U+0E4F
ฟองมันในภาษาอื่น
ภาษาอื่นที่ใช้ฟองมันคือภาษาเขมร (៙) มีชื่อเรียกว่า กุกฺกุฎเนตฺร (เขมร: កុក្កុដនេត្រ) หรือ แภนฺกมาน่ (เขมร: ភ្នែកមាន់) ซึ่งแปลว่า ตาไก่ ใช้เมื่อขึ้นต้นบทเหมือนกับภาษาไทย ปัจจุบันใช้น้อย
อ้างอิง
- กอบกุล ถาวรานนท์ (2521). "บทที่ 2 ประวัติความเป็นมาของการเว้นวรรค". การเว้นวรรคในการเขียนหนังสือไทย (PDF) (อ.ม.). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2562.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
((help)) - นิยะดา เหล่าสุนทร (2552). วัตนาการของแบบเรียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ลายคำ. ISBN .
- Unicode chart: Range 0E00–0E7F
- หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนคำย่อ. ราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 5 (แก้ไขเพิ่มเติม) พ.ศ. 2533.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
fxngmn hrux taik epnekhruxnghmaywrrkhtxnthiniymichinhnngsuxithysmyobran ichemuxkhuntnbth txn hruxeruxng thngkhapraphnthrxykrxngaelarxyaekw odyimcaepntxngyxhnahruxkhunbrrthdihm xyangirktam inpccubnniniymichfxngmnemuxkhuntnbthrxykrxngethannxksrithyrupphyychnak kh kh kh Kh kh ng cch ch s ch y d t thth th n d t th th thn b p ph f ph f phm y r l w s s sh l x hrupsraa a i u u e o i i x w y v vi l lirupwrrnyukt ekhruxnghmayxun ekhruxnghmaywrrkhtxn l fxngmnwrrkhtxnxaphxsthrxfi wngelb thwiphakh culphakh cudikhpla xsecriy mhphphakh ytiphngkh ytiphakh prsni xyprakas xthphakh thb ewnwrrkh thwipaexmephxraesnd amp dxkcn aebksaelch xngsa buphsyya xsecriyklbhw prsniklbhw ekhruxnghmayxangxing nmebxr aehchaethk º ª epxresnt epxrmill thrphysinthangpyya c kxppielft skulengin sylksnskulengin 元 圆 圓 円karphimphechphaathang thiekiywkhxngekhruxnghmaytrrksastrinphasaxun inphasaithyokhmutrtinkhru ipyalnxyipyalihylfxngmnimymkxngkhn a ahmwdhmudkhk eduxnsibexdesrcthuraphrawsa rbkthinphiyoyomthna chulilalngeruxehluxxalycak nirasphuekhathxng dd nxkcakekhruxnghmayfxngmnthiepnrupwngklmaelw insmyobranyngniymichekhruxnghmay fxngmnfnhnu nnkhux miekhruxnghmay fnhnu wangxyubnfxngmn ichkakbemuxcakhuntnbth hruxtxn odymichuxeriykxunxik echn fnhnufxngmn hrux fnthxngfxngmn bangaehngichekhruxnghmaywngklmelk 0 mifnhnuwangxyukhangbn eriykwa fxngdn kmirupaebbekhruxnghmayfxngmnthiphbthnghmd mi 3 aebb khux wngklmwngediyw wngklm 2 wngsxnkn wngklmaelamicudtrngklang aebbaerkphbinsmysuokhthy sxngaebbhlngphbinsmyxyuthya swninsmyrtnoksinthrphbthng 3 aebb insmysuokhthycamikarekhiynxksrxyu 2 lksna khux ekhiyneriyngtxipcncberuxngodyimmikarewnwrrkh hrux mikarewnwrrkhkhwbkhukbkarichekhruxnghmayfxngmn silacarukthiphbwamikarichekhruxnghmayehlani xathi silacarukphxkhunramkhaaehng danthi 3 aela 4 silacarukwngchin silacaruknkhrchum silacarukekhasumnkut silacarukwdchanglxm silacarukwdlapanghlwng karichfxngmnsmysuokhthymidngni ichkhnkhxkhwamtangphasakn echn khuntnphasabaliphxcaaeplepnphasaithykichfxngmnkhniw hruxemuxcbphasaithycakhunphasabalikkhnkhxkhwamiw ichnahnakhxkhwamtxnihm khuxekhiyntidkniperuxy emuxkhunkhwamtxnihmkkhndwyfxngmn aelwekhiyntxely imkhunbrrthdihmhruxyxhnaihm ichnahnakhxkhwamthiepnkdhmayaetlamatra odycaichfxngmnkhnkhxkhwamaelwtamdwymatra echn iwklangemuxng 0 matrahnung ichnahnakhxkhwamthiklawthungskrach echn srrphantray 0 skrachaekphraeca ichnahnaraykartang ephuxaeykxxkepnswn echn 0 cramkhnxnhnung 0 fukxnhnung 0 hmxnxnhnung 0 bngngaxnhnung 0 ichaeykkhathimirupediywknaelaxyuchidkn echn yibhmunsiphnhksibeduxn 0 eduxnxnphraidepnphraphuth ichaeykxksrsungmirupediywknaelaxyuchidkn echn krathabunythrrmbkhadskemux 0 xyuinsxngaekhwidecdekha insmyxyuthyamikarephimkarichsahrberimeruxngkhunma aelasmytnrtnoksinthrichsahrbnahnakhxyxyaetlakhxephimkhun chuxxunthipraktinexksarekanxkcakfxngmnaelwmi fxngmnth fxngmnth fxngdn taik tankaekw fxngmnimmipraktbnaepnphimphphasaithy aetmixyuinrhsxkkhra TIS 620 thi 0xEF 239 aelarhsyuniokhdthi U 0E4Ffxngmninphasaxunphasaxunthiichfxngmnkhuxphasaekhmr michuxeriykwa kuk kudent r ekhmr ក ក ក ដន ត រ hrux aephn kman ekhmr ភ ន ក ម ន sungaeplwa taik ichemuxkhuntnbthehmuxnkbphasaithy pccubnichnxyxangxingkxbkul thawrannth 2521 bththi 2 prawtikhwamepnmakhxngkarewnwrrkh karewnwrrkhinkarekhiynhnngsuxithy PDF x m culalngkrnmhawithyaly subkhnemux 24 phvscikayn 2562 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite thesis title aemaebb Cite thesis cite thesis a trwcsxbkhawnthiin access date help niyada ehlasunthr 2552 wtnakarkhxngaebberiynphasaithy krungethph laykha ISBN 9789746438452 Unicode chart Range 0E00 0E7F hlkeknthkarichekhruxnghmaywrrkhtxnaelaekhruxnghmayxun hlkeknthkarewnwrrkh hlkeknthkarekhiynkhayx rachbnthitysthan phimphkhrngthi 5 aekikhephimetim ph s 2533