สำหรับคณิตศาสตร์ สาขาตรรกศาสตร์แล้ว จะใช้สัญลักษณ์แทนสิ่งต่างๆ ซึ่งเป็นตัวเชื่อม/เงื่อนไขของประพจน์หรือประโยคเปิดนั้นๆ โดยแถวแรก จะเป็นสัญลักษณ์ แถวที่สอง จะเป็นเรื่องชื่อสัญลักษณ์/คำอ่านหมวดหมู่ และแถวที่สาม จะเป็นคำอธิบาย ส่วนแถวสุดท้าย จะเป็นการแสดงตัวอย่าง
สัญลักษณ์พื้นฐาน
สัญลักษณ์ | ชื่อ | คำอธิบาย | ตัวอย่าง |
---|---|---|---|
คำอ่าน | |||
หมวดหมู่ | |||
| เงื่อนไขเชิงตรรกศาสตร์ | จะเป็นเท็จได้ ก็ต่อเมื่อ เป็นจริง และ เป็นเท็จเท่านั้น อาจมีความหมายเหมือนกับ (สัญลักษณ์นี้อาจะแสดงถึงโดเมนและโคโดเมนของฟังก์ชันใดๆ ดูเพิ่มที่รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์) หรือเขียน แทน ก็ได้ (อาจหมายถึงซูเปอร์เซต) | เป็นจริง แต่ เป็นเท็จ เพราะ เป็น ได้ |
ถ้า...แล้ว... | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, | |||
| ก็ต่อเมื่อ | จะเป็นจริงได้ ก็ต่อเมื่อ และมีค่าความจริงเหมือนกัน | |
...ก็ต่อเมื่อ... | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์ | |||
| นิเสธ | จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ เป็นเท็จ |
|
นิเสธ, น็อท | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์ | |||
| การเชื่อมเชิงตรรกศาสตร์ | จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ และ เป็นจริงเท่านั้น | |
...และ... | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
| การเลือกเชิงตรรกศาสตร์ | จะเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ และเป็นเท็จเท่านั้น | |
หรือ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
| เฉพาะ หรือ | จะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ หรือ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นจริงเท่านั้น ใช้ ก็ได้ | เป็นจริงเสมอ แต่ เป็นเท็จเสมอ |
เฉพาะ/หรือ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
| แล้ว จะเป็นจริงเสมอ | เป็นจริงเสมอ | |
สัจนิรันดร์ | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
| แล้ว จะเป็นเท็จเสมอ | เป็นจริงเสมอ | |
ขัดแย้ง | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, พีชคณิตแบบบูล | |||
| หรือ หมายความว่า เป็นจริง สำหรับ ทุกตัว | ||
สำหรับ...แต่ละตัว, สำหรับ...ใดๆ, ฟอร์ออล... | |||
หมายความว่า เป็นจริงสำหรับ บางตัว | เป็นจำนวนคู่ | ||
มี...อยู่บางตัว, ฟอร์ซัม... | |||
ตัวบ่งปริมาณ (หนึ่งตัว) | หมายความว่า เป็นจริงสำหรับ หนึ่งตัว | ||
มี...หนึ่งตัว | |||
| บทนิยาม | หมายความว่า P เป็นนิยามของ/สมมูลกับ Q | |
บทนิยามของ, สมมูลกับ | |||
ลำดับการดำเนินการ | |||
นขลิขิต, วงเล็บ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
ใช้ในทุกหมวดหมู่ | |||
พิสูจน์ได้ | หมายความว่า y พิสูจน์ได้จาก x | ||
พิสูจน์ได้จาก | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, | |||
หมายความว่า | หมายความว่า x มีความหมายเดียวกับ y | ||
หมายความว่า | |||
แคลคูลัสเชิงประพจน์, |
สัญลักษณ์ขั้นสูงและไม่ค่อยมีการใช้งาน
สัญลักษณ์พวกนี้จัดเรียงตามลำดับค่ายูนิโคด
- u+00B7 : · จุดกึ่งกลาง ใช้แทน "และ"
- U+22C5 : จุดกึ่งกลางมีขีดข้างบน ใช้แทน " (NAND)"
- U+0305 : ขีดด้านบน ใช้แสดงถึงทฤษฎีตัวเลขไทโปกราฟิเชียล (Typographical Number Theory) เช่น 4̅ ใช้แทน SSSS0
- ใช้แสดงถึง เช่น คือจำนวนเกอเดิลของ A V B
- ใช้แสดงถึงการนิเสธ เช่น คือ
- U+2191 : ↑ ลูกศรชี้ขึ้น หรือ U+007C : | เส้นตรง : สัญลักษณ์ของนิเสธของและ (NAND)
- U+2193 : ↓ ลูกศรคว่ำหัว ลูกศร แสดงถึงการดำเนินการปฏิเสธแบบร่วม
- U+2201 : ∁ ส่วนเติมเต็ม
- U+2204 : ∄ ไม่มีเลย มีความหมายตรงกันกับ ¬∃
- U+22A8 : ⊨ เป็นจริงต่อ
- U+22AC : ⊬ พิสูจน์ไม่ได้ด้วย ตัวอย่างเช่น T ⊬ P หมายความว่า P ไม่ใช่นิยามของ T
- U+22AD : ⊭ เป็นนิเสธกับ
- U+22BC : ⊼ ตัวดำเนินการนิเสธของและ (NAND) (ในภาษา HTML)
- U+22BD : ⊽ การปฏิเสธแบบร่วม (ในภาษา HTML)
- U+25C7 : ◇ ข้าวหลามตัดโปร่ง "เป็นไปได้ว่า" "ไม่จำเป็นต้องไม่" หรือที่พบน้อยมากๆ "ไม่ได้พิสูจน์ได้ว่าไม่" (ตรรกศาสตร์โมเดลนิยามตัวนี้โดยใช้ ¬◻¬"
- U+22C6 : ⋆ ตัวดำเนินการเฉพาะ (Ad-Hoc Operators)
- U+22A5 : ⊥ ที่มีความหมายเดียวกับ ↓
- U+2310 : ⌐ ตัวผกผันของนิเสธ
- U+231C : ⌜ มุมซ้ายบน และ ⌝ มุมขวาบน หรือเรียกสองตัวนี้รวมกันว่า ไควน์โควท (Quine Quote) (อาจใช้แทนตัวแปรที่ไม่กำหนดค่าได้
- อาจใช้ในการแสดงถึง
- (อนึ่ง ฟอนต์บางตัว มุมซ้ายและขวาบนจะไม่เท่ากัน หรือฟอนต์บางตัว (Arial เป็นต้น) จะเป็น ⌈ และ ⌉ ไปเลย หรือในโหมดซูเปอร์สคริปต์ จะใช้ตัวนิเสธและตัวผกผันการนิเสธ (⌐ ¬) ไปเลย)
- U+25FB : ◻ กล่องสี่เหลี่ยมขาว ใช้แทนว่า "จำเป็นต้อง" ใน (Model Logic)
- ใช้แทนคำว่า พิสูจน์ได้ว่า ใน (Provaility Logic)
- ใช้แทนคำว่า จะเห็นได้ว่า ใน (Deontic Logic)
- ใช้แทนคำว่า เชื่อได้ว่า ใน (Doxastic Logic)
- ใช้แทนประโยคว่าง (หรือ และ ⊥)
สัญลักษณ์ต่อไปนี้ จะเป็นสัญลักษณ์ที่อาจจะไม่แสดงผลในคอมพิวเตอร์บางท่าน ซึ่งการที่จะแสดงผลได้ จำเป็นต้องมีฟอนต์ที่จำเป็นสำหรับหน้าเว็บเพจต่างๆ
- U+27E2 : ⟢ ข้าวหลามตัดเบี่ยงซ้าย ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "ไม่เคย"
- U+27E3 : ⟣ ข้าวหลามตัดเบี่ยงขวา ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "จะไม่เป็น"
- U+27E4 : ⟤ กล่องโปร่งขีดซ้าย ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "เสมอมา"
- U+27E5 : ⟥ กล่องโปร่งขีดขวา ใช้แทนการดำเนินการโมเดลว่า "เสมอไป"
- U+297D : ⥽ หางปลาเบี่ยงซ้าย ใช้แทนความสัมพันธ์แบบตัวดำเนินการเฉพาะ (Ad-hoc) (ตัวอย่างเช่น การแสดงว่า "เป็นประจักษ์" ในงานของ ) โดย ซี.ไอ. เลวิส ได้นำมาทำการนิยามให้เจาะจงขึ้น คือ โดยในรหัส LaTeX เป็น \strictif ดูที่นี่ สำหรับรูปของหางปลาเบี่ยงซ้าย สัญลักษณ์นี้ถูกเพิ่มมาในยูนิโคด 3.2.0
- U+2A07 : ⨇ การดำเนินการและแบบซ้อน
การใช้ในประเทศต่างๆ
ในปี 2014 โปแลนด์ ได้ใช้ แทน และ แทน
ในญี่ปุ่น บางทีมีการใช้ตัว แทนคำว่า "สรุปได้ว่า" หรือ "ผลก็คือ" เช่น "เราได้ทำการตรวจสอบแล้วว่าจะทำการขายสินค้าอะไรดี ⇒ เราจะไม่ขายอะไรทั้งนั้น" ส่วน แทนคำว่า "เปลี่ยนเป็น" เช่น "อัตราความสนใจเปลี่ยนไป คือ มีนาคม 20% → เมษายน 21%"
ดูเพิ่ม
อ่านเพิ่ม
- Józef Maria Bocheński (1959), A Précis of Mathematical Logic, trans., Otto Bird, from the French and German editions, Dordrecht, South Holland: D. Reidel
อ้างอิง
- https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_logic_symbols#cite_note-4
- https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_logic_symbols#cite_note-5
- https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_logic_symbols#cite_note-6
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sahrbkhnitsastr sakhatrrksastraelw caichsylksnaethnsingtang sungepntwechuxm enguxnikhkhxngpraphcnhruxpraoykhepidnn odyaethwaerk caepnsylksn aethwthisxng caepneruxngchuxsylksn khaxanhmwdhmu aelaaethwthisam caepnkhaxthibay swnaethwsudthay caepnkaraesdngtwxyangsylksnphunthansylksn chux khaxthibay twxyangkhaxanhmwdhmu displaystyle Rightarrow displaystyle rightarrow displaystyle supset enguxnikhechingtrrksastr A B displaystyle mathrm A Rightarrow mathrm B caepnethcid ktxemux A displaystyle mathrm A epncring aela B displaystyle mathrm B epnethcethann displaystyle rightarrow xacmikhwamhmayehmuxnkb displaystyle Rightarrow sylksnnixacaaesdngthungodemnaelaokhodemnkhxngfngkchnid duephimthiraykarsylksnthangkhnitsastr hruxekhiyn displaystyle supset aethn displaystyle Rightarrow kid xachmaythungsuepxrest x 2 x2 4 displaystyle displaystyle x 2 Rightarrow x 2 4 epncring aet x2 4 x 2 displaystyle displaystyle x 2 4 Rightarrow x 2 epnethc ephraa x displaystyle x epn 2 displaystyle 2 idtha aelw aekhlkhulsechingpraphcn displaystyle Leftrightarrow displaystyle equiv displaystyle leftrightarrow ktxemux A B displaystyle mathrm A Leftrightarrow mathrm B caepncringid ktxemux A displaystyle mathrm A aelaB displaystyle mathrm B mikhakhwamcringehmuxnkn x 5 y 2 x 3 y displaystyle displaystyle x 5 y 2 Leftrightarrow x 3 y ktxemux aekhlkhulsechingpraphcn displaystyle neg displaystyle sim displaystyle niesth A displaystyle neg mathrm A caepncring ktxemux A displaystyle mathrm A epnethc A A displaystyle displaystyle neg neg A Leftrightarrow A x y x y displaystyle displaystyle x neq y Leftrightarrow neg x y niesth nxthaekhlkhulsechingpraphcn displaystyle land amp displaystyle And displaystyle cdot karechuxmechingtrrksastr A B displaystyle mathrm A land mathrm B caepncring ktxemux A displaystyle mathrm A aela B displaystyle mathrm B epncringethann n 4 n gt 2 n 3 n N displaystyle n 4 land n gt 2 Leftrightarrow n 3 n in mathbb N aela aekhlkhulsechingpraphcn phichkhnitaebbbul displaystyle lor displaystyle displaystyle kareluxkechingtrrksastr A B displaystyle mathrm A lor mathrm B caepnethc ktxemux A displaystyle mathrm A aelaB displaystyle mathrm B epnethcethann n 4 n 2 n 3 n N displaystyle n geq 4 lor n leq 2 Leftrightarrow n neq 3 n in mathbb N hruxaekhlkhulsechingpraphcn phichkhnitaebbbul displaystyle oplus displaystyle veebar echphaa hrux A B displaystyle mathrm A oplus mathrm B caepncring ktxemux A displaystyle mathrm A hrux B displaystyle mathrm B xyangidxyanghnungepncringethann ich A B displaystyle mathrm A veebar mathrm B kid A A displaystyle neg mathrm A oplus mathrm A epncringesmx aet A A displaystyle mathrm A oplus mathrm A epnethcesmxechphaa hruxaekhlkhulsechingpraphcn phichkhnitaebbbul displaystyle top T displaystyle mathrm T 1 displaystyle 1 A displaystyle top mathrm A aelw A displaystyle mathrm A caepncringesmx A T displaystyle mathrm A Rightarrow T epncringesmxscnirndraekhlkhulsechingpraphcn phichkhnitaebbbul displaystyle bot F displaystyle mathrm F 0 displaystyle 0 A displaystyle bot mathrm A aelw A displaystyle mathrm A caepnethcesmx A displaystyle bot Rightarrow mathrm A epncringesmxkhdaeyngaekhlkhulsechingpraphcn phichkhnitaebbbul displaystyle forall displaystyle x P x displaystyle forall x P x hrux x P x displaystyle x P x hmaykhwamwa P x displaystyle P x epncring sahrb x displaystyle x thuktw n N n2 n displaystyle forall n in mathbb N n 2 geq n sahrb aetlatw sahrb id fxrxxl displaystyle exists x P x displaystyle exists x P x hmaykhwamwa P x displaystyle P x epncringsahrb x displaystyle x bangtw n N displaystyle exists n in mathbb N n displaystyle n epncanwnkhumi xyubangtw fxrsm displaystyle exists twbngpriman hnungtw x P x displaystyle exists x P x hmaykhwamwa P x displaystyle P x epncringsahrb x displaystyle x hnungtw n N n 5 2n displaystyle exists n in mathbb N n 5 2n mi hnungtw displaystyle displaystyle equiv displaystyle Leftrightarrow bthniyam P Q displaystyle P equiv Q hmaykhwamwa P epnniyamkhxng smmulkb Q coshx 12 expx exp x displaystyle mathrm cosh x frac 1 2 mathrm exp x mathrm exp x A B A B A B displaystyle A oplus B Leftrightarrow A lor B land neg A land B bthniyamkhxng smmulkbladbkardaeninkarnkhlikhit wngelbichinthukhmwdhmuichinthukhmwdhmu displaystyle vdash phisucnid x y displaystyle x vdash y hmaykhwamwa y phisucnidcak x A B B A displaystyle A rightarrow B vdash neg B rightarrow neg A phisucnidcakaekhlkhulsechingpraphcn displaystyle vDash hmaykhwamwa x y displaystyle x vDash y hmaykhwamwa x mikhwamhmayediywkb y A B B A displaystyle A rightarrow B vDash neg B rightarrow neg A hmaykhwamwaaekhlkhulsechingpraphcn sylksnkhnsungaelaimkhxymikarichngansylksnphwknicderiyngtamladbkhayuniokhd u 00B7 cudkungklang ichaethn aela U 22C5 displaystyle bar cdot cudkungklangmikhidkhangbn ichaethn NAND U 0305 displaystyle bar khiddanbn ichaesdngthungthvsditwelkhithopkrafiechiyl Typographical Number Theory echn 4 ichaethn SSSS0 ichaesdngthung echn A B displaystyle overline mathrm A lor mathrm B khuxcanwnekxedilkhxng A V B ichaesdngthungkarniesth echn A B displaystyle overline mathrm A lor mathrm B khux A B displaystyle neg mathrm A lor mathrm B U 2191 luksrchikhun hrux U 007C esntrng sylksnkhxngniesthkhxngaela NAND U 2193 luksrkhwahw luksr aesdngthungkardaeninkarptiesthaebbrwm U 2201 swnetimetm U 2204 immiely mikhwamhmaytrngknkb U 22A8 epncringtx U 22AC phisucnimiddwy twxyangechn T P hmaykhwamwa P imichniyamkhxng T U 22AD epnniesthkb U 22BC twdaeninkarniesthkhxngaela NAND inphasa HTML U 22BD karptiesthaebbrwm inphasa HTML U 25C7 khawhlamtdoprng epnipidwa imcaepntxngim hruxthiphbnxymak imidphisucnidwaim trrksastromedlniyamtwniodyich U 22C6 twdaeninkarechphaa Ad Hoc Operators U 22A5 thimikhwamhmayediywkb U 2310 twphkphnkhxngniesth U 231C mumsaybn aela mumkhwabn hruxeriyksxngtwnirwmknwa ikhwnokhwth Quine Quote xacichaethntwaeprthiimkahndkhaidxacichinkaraesdngthung xnung fxntbangtw mumsayaelakhwabncaimethakn hruxfxntbangtw Arial epntn caepn aela ipely hruxinohmdsuepxrskhript caichtwniesthaelatwphkphnkarniesth ipely U 25FB klxngsiehliymkhaw ichaethnwa caepntxng in Model Logic ichaethnkhawa phisucnidwa in Provaility Logic ichaethnkhawa caehnidwa in Deontic Logic ichaethnkhawa echuxidwa in Doxastic Logic ichaethnpraoykhwang hrux displaystyle displaystyle emptyset aela sylksntxipni caepnsylksnthixaccaimaesdngphlinkhxmphiwetxrbangthan sungkarthicaaesdngphlid caepntxngmifxntthicaepnsahrbhnaewbephctang U 27E2 khawhlamtdebiyngsay ichaethnkardaeninkaromedlwa imekhy U 27E3 khawhlamtdebiyngkhwa ichaethnkardaeninkaromedlwa caimepn U 27E4 klxngoprngkhidsay ichaethnkardaeninkaromedlwa esmxma U 27E5 klxngoprngkhidkhwa ichaethnkardaeninkaromedlwa esmxip U 297D hangplaebiyngsay ichaethnkhwamsmphnthaebbtwdaeninkarechphaa Ad hoc twxyangechn karaesdngwa epnpracks inngankhxng ody si ix elwis idnamathakarniyamihecaacngkhun khux p q p q displaystyle displaystyle p prec displaystyle q equiv Box p rightarrow q odyinrhs LaTeX epn strictif duthini sahrbrupkhxnghangplaebiyngsay sylksnnithukephimmainyuniokhd 3 2 0 U 2A07 kardaeninkaraelaaebbsxnkarichinpraethstangopaelndaelaeyxrmni inpi 2014 opaelnd idich displaystyle land aethn displaystyle forall aela displaystyle lor aethn displaystyle exists yipun inyipun bangthimikarichtw aethnkhawa srupidwa hrux phlkkhux echn eraidthakartrwcsxbaelwwacathakarkhaysinkhaxairdi eracaimkhayxairthngnn swn aethnkhawa epliynepn echn xtrakhwamsnicepliynip khux minakhm 20 emsayn 21 duephimtarangkhakhwamcring raykarsylksnthangkhnitsastrxanephimJozef Maria Bochenski 1959 A Precis of Mathematical Logic trans Otto Bird from the French and German editions Dordrecht South Holland D Reidelxangxinghttps en wikipedia org wiki List of logic symbols cite note 4 https en wikipedia org wiki List of logic symbols cite note 5 https en wikipedia org wiki List of logic symbols cite note 6