พฤฒิบาศ หรือ พราหมณ์พฤฒิบาศ เป็นพราหมณ์จำพวกหนึ่งประกอบพิธีคชกรรมซึ่งเกี่ยวข้องกับช้างและม้าในราชสำนักไทย มีศาสตร์เฉพาะในการดูแลช้างและม้า และปัดเป่าเสนียดจัญไรออกไป มีบทบาทในราชสำนักไทยตั้งแต่อาณาจักรสุโขทัย เรื่อยมาจนถึงยุครัตนโกสินทร์ พวกเขาปฏิบัติบูชาเทพเจ้าเฉพาะกลุ่ม เรียกว่า และพระโกญจนาเนศวร์ ซึ่งไม่ปรากฏอยู่ในสารบบของศาสนาฮินดู ทั้งยังนับถือพระพิฆเนศเป็น "ครูของหมอช้าง" การมีอยู่ของพราหมณ์พฤฒิบาศถือเป็นร่องรอยของการมีอยู่ของศาสนาพระเทพกรรม อันเป็นศาสนาพื้นเมืองดั้งเดิมในอุษาคเนย์
ประวัติ
สันนิษฐานว่าพราหมณ์พฤฒิบาศมีต้นสายมาจากเมืองเขมร ในราชสำนักไทย พราหมณ์พฤฒิบาศนี้มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่อาณาจักรสุโขทัยเป็นอย่างน้อย ดังปรากฏใน จารึกนครชุม เมื่อ พ.ศ. 1900 เดิมนักบวชเหล่านี้นับถือศาสนาหนึ่งต่างหาก เรียกว่า ศาสนาพระเทพกรรม ดังปรากฏใน จารึกฐานพระอิศวรเมืองกำแพงเพชร เมื่อ พ.ศ. 2053 พวกเขานับถือพระครูประกรรม, เทพกรรม หรือเทวกรรม (คือผีปะกำ) เป็นใหญ่ ซึ่งเป็นเทพพื้นเมืองก่อนการรับอิทธิพลจากศาสนาพุทธหรือฮินดู ศาสนานี้เคยแพร่หลายในไทยและกัมพูชา ตั้งแต่ประชากรชนชั้นสามัญชนไปจนถึงชนชั้นเจ้านาย ดั่งพบว่าเจ้านายเขมรเข้าบวชเป็นหมอช้าง ปรากฏใน กล่าวถึงเจ้าพระยาโยม ซึ่งเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชโองการ พระบรมราชารามาธิราชาธิบดี ประสูติแต่นักนางแพง ได้ถือบวชเป็นหมอช้าง ความว่า "...เจ้าพระยาโยม ๆ นั้นเชี่ยวชาญชำนาญรู้ตำราช้างไสยสาตร เป็นครูเถ้าถือบวชเป็นหมอช้าง" แต่ในกาลต่อมา ศาสนาพระเทพกรรมถูกกลืนเข้ากับศาสนาฮินดูในไทย และอาจเป็นไปได้ว่าพราหมณ์พฤฒิบาศนี้อาจเป็นหมอปะกำหรือครูช้างที่เข้ารีตเป็นพราหมณ์ พราหมณ์พฤฒิบาศจึงถูกเกณฑ์ให้ไปนับถือพระนารายณ์ (คือพระวิษณุ) แทนผีปะกำ
สุจิตต์ วงษ์เทศ อธิบายว่า พราหมณ์พฤฒิบาศคือหมอผีปะกำ มีประสบการณ์สูงในการจับช้างป่า พูดเกลี้ยกล่อมช้างป่าได้สำเร็จทุกครั้ง จึงได้รับการยกย่องเป็นพราหมณ์ในท้องถิ่น เรียกว่าพราหมณ์พฤฒิบาศ แม้จะรับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูเข้ามาแล้ว แต่คงพิธีกรรมเซ่นสรวงบูชาผีปะกำ ต่อมาได้ยกขึ้นเป็นเทวดาเรียกว่า ไว้โดยแทรกความเป็นฮินดูไปด้วย พระครูประกรรมมีรูปลักษณ์เป็นบุรุษล่ำสัน นุ่งผ้าเกไล เปลือยอก สวมสายธุหร่ำเฉียงทางอังสะซ้าย โคนแขนสวมวลัย นับถือเป็นพระของหมอและควาญช้าง หลังรับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูแล้วจึงสร้างบุคลาธิษฐานด้วยการหยิบยืมรูปลักษณ์ของพระคเณศ ซึ่งเป็นเทพเจ้าของฮินดูมาใช้ กลายเป็นพระเทวกรรม เทพเจ้าแห่งช้าง และพระโกญจนาเนศวร์ เทพผู้ให้กำเนิดช้าง ส่วนพระคเณศได้รับการนับถือเป็นครูช้างอย่างน้อยก็ในยุคอาณาจักรอยุธยาเป็นต้นมา ดังปรากฏใน โคลงดั้นยวนพ่าย ความว่า "...การช้างพิฆเณศรน้าว ปูนปานท่านนา..." ซึ่ง ได้ถอดความหมายไว้ว่า "...รอบรู้วิชาคชกรรมจนเปรียบปานได้กับพระพิฆเนศวร..."
ในราชสำนักไทยยุคอาณาจักรอยุธยา พราหมณ์พฤฒิบาศมีบทบาทสำคัญในการเป็นกรรมวาจาจารย์ในพิธีปฐมกรรมหรือพิธีบวชพราหมณ์แก่พระมหากษัตริย์ ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ได้ตีกรุงกัมพูชาเมื่อ พ.ศ. 1964 พระองค์ได้กวาดต้อนพราหมณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านคชศาสตร์เข้ามาเป็นจำนวนมาก และในช่วงเวลาหลังจากนั้น พราหมณ์พฤฒิบาศจากเมืองเขมรที่อพยพเข้ากรุงศรีอยุธยาเริ่มลดจำนวนลงไปเรื่อย ๆ ตามลำดับ พวกเขามีบทบาทในการคล้องช้างที่เพนียดคล้องช้าง มีการสร้างหอปะกำ และเสาตะลุง ซึ่งสุจิตต์อ้างว่าเป็นธรรมเนียมตกทอดมาจากประเพณีโพนช้างของชาวกูย ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีการแบ่งพราหมณ์ออกเป็นสองฝ่าย แบ่งเป็นฝ่ายขาวคือพราหมณ์พิธี คือผู้กระทำพิธีอันสวัสดิมงคล กับฝ่ายดำคือพราหมณ์พฤฒิบาศ คือผู้กำจัดอวมงคลให้สิ้นสูญ โดยสกุลบุณยรัตพันธุ์รับราชการเป็นพฤฒิบาศมาแต่ครั้งกรุงเก่าเรื่อยมาจนถึงยุครัตนโกสินทร์
ยุครัตนโกสินทร์ พราหมณ์พฤฒิบาศเป็นกรมสังกัดหนึ่งในสองกรมพราหมณ์ เรียกว่า กรมพราหมณ์พฤฒิบาศ แยกกับกรมพราหมณ์พิธี โดยมี พระสิทธิไชยบดี หรือเรียกว่า พระหมอเฒ่า เป็นเจ้ากรม โดยมีเจ้านายและขุนนางหลายคนศึกษาวิชาคชศาสตร์จนได้เป็น "หมอเฒ่า" ได้แก่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงเทพพลภักดิ์ เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด) ต้นสกุลบุณยรัตพันธุ์ และเจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์) ต้นสกุลจันทโรจนวงศ์ เป็นต้น ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีเชื้อสายพราหมณ์พฤฒิบาศจากพระบุรพชนฝ่ายพระชนนีสายหนึ่งที่สืบสันดานมาจากสกุลบุณยรัตพันธุ์ อย่างไรก็ตามหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการยกเลิกกรมพิธีพราหมณ์ ทำให้บทบาทของพราหมณ์พฤฒิบาศหายไป
กระทั่งในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีพราหมณ์ขึ้นใหม่อีกครั้ง
การแบ่งกลุ่ม
พราหมณ์พฤฒิบาศมีความเชี่ยวชาญในการดูแลและช่วยกันทำกิจการต่าง ๆ เกี่ยวกับช้างได้เป็นอย่างดี โดยแบ่งออกเป็นสามกลุ่ม ได้แก่
- พระหมอเฒ่า หรือ หมอเฒ่า เป็นคณาจารย์ของพวกพฤฒิบาศ
- พ่อหมอเฒ่า หรือ หมอช้าง เป็นพฤฒิบาศรองลงมา
- หัศดาจารย์ หรือ ครูช้าง เป็นครูในการหัดช้าง
พราหมณ์พฤฒิบาศที่ตำแหน่งเป็น พระสิทธิไชยบดี หรือ พระหมอเฒ่า เป็นเพียงผู้รอบรู้กระบวนพิธี รู้ตำราคชลักษณ์ รอบรู้อาถรรพเวท เข้าใจการคชกรรม แต่ไม่มีหน้าที่คชบาล บางคนไม่กล้าเข้าใกล้ช้าง หรือกระโดดหนีช้างด้วยก็มี ด้วยเหตุนี้หน้าที่ด้านการคชบาลจึงตกเป็นของ พ่อหมอเฒ่า หรือ ควาญ ที่เชี่ยวชาญด้านคชศาสตร์จะประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ เช่น บำบัดโรคช้าง กำราบนิสัยช้าง พิธีเบิกไพรแก่ช้างป่าคล้องใหม่ กับพิธีบังไพรเพื่อต้อนช้างให้ไปสู่จุดมุ่งหมาย ด้วยบทบาทที่โดดเด่นกว่าเช่นนี้ ทำให้พ่อหมอเฒ่าได้รับการยกย่องนับถือเสียยิ่งกว่าพราหมณ์พฤฒิบาศที่ดำรงตำแหน่งเป็นพระสิทธิไชยบดีหรือพระหมอเฒ่าเสียอีก
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าให้พระเจ้าลูกยาเธอทุกพระองค์ศึกษาวิชาคชศาสตร์ เจ้านายที่มีชื่อเสียงด้านนี้มากที่สุด คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงเทพพลภักดิ์ ทรงเป็นธุระบำรุงกิจการคชกรรมเป็นอย่างมาก พระองค์เป็นแม่กองปฏิสังขรณ์เพนียดจนสมบูรณ์ พระองค์โปรดการคชกรรมมากจนถึงกับสร้างพระตำหนักขึ้นที่เพนียดและประทับอยู่ที่นั่นบ่อย ๆ จนได้รับพระสมัญญานามว่า "กรมหลวงเฒ่า" และเมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ลง พวกกรมช้างจึงได้มีการสร้างเทวาลัยเฉลิมพระเกียรติด้านเหนือของเพนียด เรียกว่า ศาลกรมหลวงเฒ่า
หลังการสิ้นพระชนม์ของกรมหลสงเทพพลภักดิ์ ก็ยังมีเจ้านายที่เชี่ยวชาญด้านคชศาสตร์อีก ได้แก่ หม่อมไกรสร สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์ ซึ่งทั้งหมดดำรงตำแหน่งเป็นอธิบดีกรมช้าง นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญด้านคชศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง เพราะทรงมีพระปรีชาสามารถในการได้อย่างถูกต้อง และโปรดให้มีการคล้องช้างเป็นประจำทุกปี
พิธีกรรม
พราหมณ์พฤฒิบาศมีหน้าที่ในการฝึกดูแลช้างหลวง เช่น การคล้องช้างป่ามาใช้ในราชการ และทำหน้าที่ปัดเป่าเสนียดจัญไรหากมีการเสียชีวิตภายในพระบรมมหาราชวังหรือที่ประทับของเจ้านาย พราหมณ์พฤฒิบาศจะเข้าไปประกอบ พิธีกลบบัตรสุมเพลิง เป็นพิธีที่ทำให้พื้นดินบริสุทธิ์ หากมีใครเลือดตกยางออกหรือตายในพระราชฐานชั้นใน ต้องแก้ไขด้วยการให้พราหมณ์พฤฒิบาศปลูกศาลเพียงตา ขุดดินบริเวณที่มีเลือดหรือคนตายกว้างสองศอก ยาวสองศอก และลึกศอกเศษ จากนั้นนำแกลบกลบลงในหลุมสูงหนึ่งศอกแล้วก่อไฟ หยิบเครื่องสังเวยใส่ในกองเพลิงแล้วอ่านโองการ เสร็จแล้วเกลี่ยดินกลบหลุม แล้วนำวิญญาณของผู้ตายออกจากที่เกิดเหตุไปลอยแม่น้ำ ในสมัยอยุธยา มีการแต่ง ตำราคชลักษณ์ ว่าด้วยลักษณะของช้าง ตำราคชกรรม ว่าด้วยการหัดช้างเถื่อน ขี่ช้างเถื่อน มนต์บังคับช้าง และระเบียบพิธีต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมี คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง มาใช้ในพระราชพิธีที่เกี่ยวกับการคชกรรม สุจิตต์สันนิษฐานว่า คงเป็นวรรณกรรมที่ดัดแปลงมาจากพิธีกรรมเข้าทรงผีช้าง
พราหมณ์พฤฒิบาศบูชาพระคเณศ ด้วยนับถือว่าเป็นครูของหมอช้าง จึงมีการสร้างโบสถ์สำหรับปฏิบัติบูชาพระคเณศ เรียกว่า สถานพิฆเนศวร ภายในเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ แยกจากโบสถ์ของพวกพราหมณ์พิธีไปต่างหาก
นอกจากนี้ในพระราชพิธีทอดเชือกดามเชือก จะมีพ่อหมอเฒ่าออกมา และในพิธีธนญชัยบาศรับช้างเผือก พราหมณ์พฤฒิบาศจะประกอบอาหาร เรียกว่า ข้าวเภา หรือ ข้าวกระยาสังแวง คลุกด้วยสีเหลือง และสีแดง มาปั้นเป็นก้อน โดยกระทำอยู่ภายใน สถลทิน สร้างเป็นเนินดิน ตั้งเสาโครงเพดานผ้าขาว เพื่อหุงข้าวเภาและปักต้นอ้อย รอรับช้างเผือก
นอกจากด้านคชกรรมแล้ว สตรีที่มีเชื้อสายพราหมณ์พฤฒิบาศที่เข้ารับราชการฝ่ายในบางท่าน เช่น ท้าวสมศักดิ์ (โหมด บุณยรัตพันธุ์) ยังมีบทบาทเกี่ยวกับสิ่งศิริมงคลตามคติพราหมณ์โดยไม่จำกัดจำเพาะว่ามีเชื้อพราหมณ์จากสายไหน โดยท้าวสมศักดิ์ท่านนี้ได้รับหน้าที่อ่านฉันท์โองการแช่งน้ำในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา สตรีที่มีเชื้อพราหมณ์ผู้รับหน้าที่อ่านฉันท์นี้จะต้องนุ่งขาว และสะพายแพรปักสีขาว
อ้างอิง
- จินตนา ปิ่นเฉลียว. ศรีจุฬาลักษณ์. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สาส์น, 2524, หน้า 137
- "จารึกนครชุม". ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). 15 กรกฎาคม 2564. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "พราหมณ์พฤฒิบาศ". คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ (2 เมษายน 2563). "ศาสนาผีของพระเทพกรรม ที่ระเบียงคด วัดพระแก้วฯ". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2563.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ (12 ตุลาคม 2560). "ครูช้าง พราหมณ์สยาม : พระคเณศกับปกรณัมแบบไทย ๆ". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2561.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - พสิษฐ์ ไชยวัฒน์ (5 พฤศจิกายน 2561). "สัมภาษณ์ คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง: ฮินดู...อีกมุมที่คนไทยไม่รู้จัก". ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - อายัณโฆษณ์ (2558). "เรื่องพระคเณศที่เกี่ยวข้องกับช้าง". วชิรญาณ. สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2563.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "จารึกฐานพระอิศวรเมืองกำแพงเพชร". ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2563.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - กรมศิลปากร (2481). ประชุมพงศาวดารภาคที่ 71 (PDF). พระนคร: กรุงเทพบรรณาคาร. p. 2.
- คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง (16 พฤศจิกายน 2560). "ไม่มีพระพรหมและพระคเณศในพิธีไหว้ครูโขนละครและดนตรี". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2563.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - สุจิตต์ วงษ์เทศ. "ชาวกูย จาก 'โขง-ชี-มูล' รับราชการ 'งานช้าง' ในอยุธยา". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - สุจิตต์ วงษ์เทศ (26 มิถุนายน 2565). "พระพิฆเนศในอินเดีย ผีช้างจากสุวรรณภูมิ". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง (พฤษภาคม–สิงหาคม 2561). "เทวนิยมอินเดีย : เส้นทางและปรากฏการณ์ในสังคมไทย". Veridian E-Journal (11:2), หน้า 1592
- ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ (30 สิงหาคม 2565). "หรือว่า 'พระคเณศ' เป็นครูช้างพราหมณ์สยาม? นัยของเรื่องนี้สะท้อนอะไรบ้าง?". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - คึกฤทธิ์ ปราโมช, ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ (2520). ปาฐกถา "สิรินธร" ครั้งที่ 2 เรื่อง "อิทธิพลของศาสนาฮินดูต่ออารยธรรมไทย" (PDF). p. 10.
- ศิริ สละคต (2525). การคล้องช้างที่เพนียดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (PDF). ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. p. 36.
- กรมศิลปากร (2493). สาส์นสมเด็จ ลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ภาค 3 (PDF). พระนคร: พระจันทร์. p. 131.
- ศิริ สละคต (2525). การคล้องช้างที่เพนียดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (PDF). ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. p. 19-21.
- พุทธานุวัตร. พระนคร: พระจันทร์. 2513. p. 1.[]
- "บทบาทหน้าที่ของพราหมณ์ต่อราชสำนักสยาม". มูลนิธิโครงการสารานุกรมฉบับเยาวชน. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - ศิริ สละคต (2525). การคล้องช้างที่เพนียดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (PDF). ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. p. 10.
- กิเลน ประลองเชิง (2 เมษายน 2562). "กลบบัตรสุมเพลิง". ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2563.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - ศิริ สละคต (2525). การคล้องช้างที่เพนียดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (PDF). ภาควิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. p. 11.
- "ข้าวที่ใช้ในพิธีต่าง ๆ". สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. 10 มิถุนายน 2553. สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - จงจิตรถนอม ดิศกุล, หม่อมเจ้า. บันทึกความทรงจำของหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์, 2522, หน้า 31
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phvthibas hrux phrahmnphvthibas epnphrahmncaphwkhnungprakxbphithikhchkrrmsungekiywkhxngkbchangaelamainrachsankithy misastrechphaainkarduaelchangaelama aelapdepaesniydcyirxxkip mibthbathinrachsankithytngaetxanackrsuokhthy eruxymacnthungyukhrtnoksinthr phwkekhaptibtibuchaethphecaechphaaklum eriykwa aelaphraokycnaenswr sungimpraktxyuinsarbbkhxngsasnahindu thngyngnbthuxphraphikhensepn khrukhxnghmxchang karmixyukhxngphrahmnphvthibasthuxepnrxngrxykhxngkarmixyukhxngsasnaphraethphkrrm xnepnsasnaphunemuxngdngediminxusakhenyprawticitrkrrmfaphnngrupphrahmnphvthibaskbchangephuxkpccynaekhnthrcakeruxng mhaewssndrchadk knthhimphanthxpakaaelaesatalung phayinephniydkhlxngchang snnisthanwaphrahmnphvthibasmitnsaymacakemuxngekhmr inrachsankithy phrahmnphvthibasnimiprawtikhwamepnmayawnantngaetxanackrsuokhthyepnxyangnxy dngpraktin caruknkhrchum emux ph s 1900 edimnkbwchehlaninbthuxsasnahnungtanghak eriykwa sasnaphraethphkrrm dngpraktin carukthanphraxiswremuxngkaaephngephchr emux ph s 2053 phwkekhanbthuxphrakhruprakrrm ethphkrrm hruxethwkrrm khuxphipaka epnihy sungepnethphphunemuxngkxnkarrbxiththiphlcaksasnaphuththhruxhindu sasnaniekhyaephrhlayinithyaelakmphucha tngaetprachakrchnchnsamychnipcnthungchnchnecanay dngphbwaecanayekhmrekhabwchepnhmxchang praktin klawthungecaphrayaoym sungepnphrarachoxrsinsmedcphrarachoxngkar phrabrmracharamathirachathibdi prasutiaetnknangaephng idthuxbwchepnhmxchang khwamwa ecaphrayaoym nnechiywchaychanayrutarachangisysatr epnkhruethathuxbwchepnhmxchang aetinkaltxma sasnaphraethphkrrmthukklunekhakbsasnahinduinithy aelaxacepnipidwaphrahmnphvthibasnixacepnhmxpakahruxkhruchangthiekharitepnphrahmn phrahmnphvthibascungthukeknthihipnbthuxphranarayn khuxphrawisnu aethnphipaka sucitt wngseths xthibaywa phrahmnphvthibaskhuxhmxphipaka miprasbkarnsunginkarcbchangpa phudekliyklxmchangpaidsaercthukkhrng cungidrbkarykyxngepnphrahmninthxngthin eriykwaphrahmnphvthibas aemcarbxiththiphlcaksasnahinduekhamaaelw aetkhngphithikrrmesnsrwngbuchaphipaka txmaidykkhunepnethwdaeriykwa iwodyaethrkkhwamepnhinduipdwy phrakhruprakrrmmiruplksnepnburuslasn nungphaekil epluxyxk swmsaythuhraechiyngthangxngsasay okhnaekhnswmwly nbthuxepnphrakhxnghmxaelakhwaychang hlngrbxiththiphlcaksasnahinduaelwcungsrangbukhlathisthandwykarhyibyumruplksnkhxngphrakhens sungepnethphecakhxnghindumaich klayepnphraethwkrrm ethphecaaehngchang aelaphraokycnaenswr ethphphuihkaenidchang swnphrakhensidrbkarnbthuxepnkhruchangxyangnxykinyukhxanackrxyuthyaepntnma dngpraktin okhlngdnywnphay khwamwa karchangphikhensrnaw punpanthanna sung idthxdkhwamhmayiwwa rxbruwichakhchkrrmcnepriybpanidkbphraphikhenswr inrachsankithyyukhxanackrxyuthya phrahmnphvthibasmibthbathsakhyinkarepnkrrmwacacaryinphithipthmkrrmhruxphithibwchphrahmnaekphramhakstriy inrchsmysmedcphrabrmrachathirachthi 2 idtikrungkmphuchaemux ph s 1964 phraxngkhidkwadtxnphrahmnphuechiywchaydankhchsastrekhamaepncanwnmak aelainchwngewlahlngcaknn phrahmnphvthibascakemuxngekhmrthixphyphekhakrungsrixyuthyaerimldcanwnlngiperuxy tamladb phwkekhamibthbathinkarkhlxngchangthiephniydkhlxngchang mikarsranghxpaka aelaesatalung sungsucittxangwaepnthrrmeniymtkthxdmacakpraephniophnchangkhxngchawkuy inrchsmysmedcphranaraynmharach mikaraebngphrahmnxxkepnsxngfay aebngepnfaykhawkhuxphrahmnphithi khuxphukrathaphithixnswsdimngkhl kbfaydakhuxphrahmnphvthibas khuxphukacdxwmngkhlihsinsuy odyskulbunyrtphnthurbrachkarepnphvthibasmaaetkhrngkrungekaeruxymacnthungyukhrtnoksinthr yukhrtnoksinthr phrahmnphvthibasepnkrmsngkdhnunginsxngkrmphrahmn eriykwa krmphrahmnphvthibas aeykkbkrmphrahmnphithi odymi phrasiththiichybdi hruxeriykwa phrahmxetha epnecakrm odymiecanayaelakhunnanghlaykhnsuksawichakhchsastrcnidepn hmxetha idaek phraecabrmwngsethx krmhlwngethphphlphkdi ecaphrayasrithrrmathirach buyrxd tnskulbunyrtphnthu aelaecaphrayasurinthracha cnthr tnskulcnthorcnwngs epntn sungsmedcphranangecasirikiti phrabrmrachininath phrabrmrachchnniphnpihlwng miechuxsayphrahmnphvthibascakphraburphchnfayphrachnnisayhnungthisubsndanmacakskulbunyrtphnthu xyangirktamhlngkarepliynaeplngkarpkkhrxng ph s 2475 phrabathsmedcphrapkeklaecaxyuhwmiphrabrmrachoxngkarykelikkrmphithiphrahmn thaihbthbathkhxngphrahmnphvthibashayip krathnginrchsmykhxngphrabathsmedcphramhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr thrngfunfuphrarachphithiphrahmnkhunihmxikkhrngkaraebngklumphrahmnphvthibasmikhwamechiywchayinkarduaelaelachwyknthakickartang ekiywkbchangidepnxyangdi odyaebngxxkepnsamklum idaek phrahmxetha hrux hmxetha epnkhnacarykhxngphwkphvthibas phxhmxetha hrux hmxchang epnphvthibasrxnglngma hsdacary hrux khruchang epnkhruinkarhdchang phrahmnphvthibasthitaaehnngepn phrasiththiichybdi hrux phrahmxetha epnephiyngphurxbrukrabwnphithi rutarakhchlksn rxbruxathrrphewth ekhaickarkhchkrrm aetimmihnathikhchbal bangkhnimklaekhaiklchang hruxkraoddhnichangdwykmi dwyehtunihnathidankarkhchbalcungtkepnkhxng phxhmxetha hrux khway thiechiywchaydankhchsastrcaprakxbphithikrrmtamkhwamechux echn babdorkhchang karabnisychang phithiebikiphraekchangpakhlxngihm kbphithibngiphrephuxtxnchangihipsucudmunghmay dwybthbaththioddednkwaechnni thaihphxhmxethaidrbkarykyxngnbthuxesiyyingkwaphrahmnphvthibasthidarngtaaehnngepnphrasiththiichybdihruxphrahmxethaesiyxik phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkmharach aelaphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly oprdeklaihphraecalukyaethxthukphraxngkhsuksawichakhchsastr ecanaythimichuxesiyngdannimakthisud khux phraecabrmwngsethx krmhlwngethphphlphkdi thrngepnthurabarungkickarkhchkrrmepnxyangmak phraxngkhepnaemkxngptisngkhrnephniydcnsmburn phraxngkhoprdkarkhchkrrmmakcnthungkbsrangphratahnkkhunthiephniydaelaprathbxyuthinnbxy cnidrbphrasmyyanamwa krmhlwngetha aelaemuxphraxngkhsinphrachnmlng phwkkrmchangcungidmikarsrangethwalyechlimphraekiyrtidanehnuxkhxngephniyd eriykwa salkrmhlwngetha hlngkarsinphrachnmkhxngkrmhlsngethphphlphkdi kyngmiecanaythiechiywchaydankhchsastrxik idaek hmxmikrsr smedcphraecabrmwngsethx ecafaxaphrn smedcphraecabrmwngsethx ecafamhamala krmphrayabarabprpks phraecarachwrwngsethx ecafaxisraphngs sungthnghmddarngtaaehnngepnxthibdikrmchang nxkcakniphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw thuxepnphramhakstriythithrngechiywchaydankhchsastrepnxyangying ephraathrngmiphraprichasamarthinkaridxyangthuktxng aelaoprdihmikarkhlxngchangepnpracathukpiphithikrrmphrahmnphvthibasmihnathiinkarfukduaelchanghlwng echn karkhlxngchangpamaichinrachkar aelathahnathipdepaesniydcyirhakmikaresiychiwitphayinphrabrmmharachwnghruxthiprathbkhxngecanay phrahmnphvthibascaekhaipprakxb phithiklbbtrsumephling epnphithithithaihphundinbrisuththi hakmiikhreluxdtkyangxxkhruxtayinphrarachthanchnin txngaekikhdwykarihphrahmnphvthibaspluksalephiyngta khuddinbriewnthimieluxdhruxkhntaykwangsxngsxk yawsxngsxk aelaluksxkess caknnnaaeklbklblnginhlumsunghnungsxkaelwkxif hyibekhruxngsngewyisinkxngephlingaelwxanoxngkar esrcaelwekliydinklbhlum aelwnawiyyankhxngphutayxxkcakthiekidehtuiplxyaemna insmyxyuthya mikaraetng tarakhchlksn wadwylksnakhxngchang tarakhchkrrm wadwykarhdchangethuxn khichangethuxn mntbngkhbchang aelaraebiybphithitang nxkcakniyngmi khachnthdusdisngewyklxmchang maichinphrarachphithithiekiywkbkarkhchkrrm sucittsnnisthanwa khngepnwrrnkrrmthiddaeplngmacakphithikrrmekhathrngphichang phrahmnphvthibasbuchaphrakhens dwynbthuxwaepnkhrukhxnghmxchang cungmikarsrangobsthsahrbptibtibuchaphrakhens eriykwa sthanphikhenswr phayinethwsthanobsthphrahmn aeykcakobsthkhxngphwkphrahmnphithiiptanghak nxkcakniinphrarachphithithxdechuxkdamechuxk camiphxhmxethaxxkma aelainphithithnychybasrbchangephuxk phrahmnphvthibascaprakxbxahar eriykwa khawepha hrux khawkrayasngaewng khlukdwysiehluxng aelasiaedng mapnepnkxn odykrathaxyuphayin sthlthin srangepnenindin tngesaokhrngephdanphakhaw ephuxhungkhawephaaelapktnxxy rxrbchangephuxk nxkcakdankhchkrrmaelw strithimiechuxsayphrahmnphvthibasthiekharbrachkarfayinbangthan echn thawsmskdi ohmd bunyrtphnthu yngmibthbathekiywkbsingsirimngkhltamkhtiphrahmnodyimcakdcaephaawamiechuxphrahmncaksayihn odythawsmskdithanniidrbhnathixanchnthoxngkaraechngnainphrarachphithithuxnaphraphiphthnstya strithimiechuxphrahmnphurbhnathixanchnthnicatxngnungkhaw aelasaphayaephrpksikhawxangxingcintna pinechliyw sriculalksn krungethph praphnthsasn 2524 hna 137 caruknkhrchum sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn 15 krkdakhm 2564 subkhnemux 31 minakhm 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help phrahmnphvthibas khnakrrmkarfayprachasmphnthnganphrarachphithibrmrachaphiesk subkhnemux 31 minakhm 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help siriphcn ehlamanaecriy 2 emsayn 2563 sasnaphikhxngphraethphkrrm thiraebiyngkhd wdphraaekw mtichnsudspdah subkhnemux 27 thnwakhm 2563 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help siriphcn ehlamanaecriy 12 tulakhm 2560 khruchang phrahmnsyam phrakhenskbpkrnmaebbithy mtichnsudspdah subkhnemux 18 phvscikayn 2561 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help phsisth ichywthn 5 phvscikayn 2561 smphasn khmkvch xuyetkekhng hindu xikmumthikhnithyimruck prachaith subkhnemux 11 phvsphakhm 2563 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help xaynokhsn 2558 eruxngphrakhensthiekiywkhxngkbchang wchiryan subkhnemux 12 phvsphakhm 2563 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help carukthanphraxiswremuxngkaaephngephchr thankhxmulcarukinpraethsithy sunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn subkhnemux 27 thnwakhm 2563 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help krmsilpakr 2481 prachumphngsawdarphakhthi 71 PDF phrankhr krungethphbrrnakhar p 2 khmkvch xuyetkekhng 16 phvscikayn 2560 immiphraphrhmaelaphrakhensinphithiihwkhruokhnlakhraeladntri mtichnsudspdah subkhnemux 20 tulakhm 2563 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help sucitt wngseths chawkuy cak okhng chi mul rbrachkar nganchang inxyuthya mtichnsudspdah subkhnemux 31 minakhm 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help sucitt wngseths 26 mithunayn 2565 phraphikhensinxinediy phichangcaksuwrrnphumi mtichnsudspdah subkhnemux 1 emsayn 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help khmkvch xuyetkekhng phvsphakhm singhakhm 2561 ethwniymxinediy esnthangaelapraktkarninsngkhmithy Veridian E Journal 11 2 hna 1592 siriphcn ehlamanaecriy 30 singhakhm 2565 hruxwa phrakhens epnkhruchangphrahmnsyam nykhxngeruxngnisathxnxairbang silpwthnthrrm subkhnemux 1 emsayn 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help khukvththi praomch sastracary hmxmrachwngs 2520 pathktha sirinthr khrngthi 2 eruxng xiththiphlkhxngsasnahindutxxarythrrmithy PDF p 10 siri slakht 2525 karkhlxngchangthiephniydcnghwdphrankhrsrixyuthya PDF phakhwichaobrankhdi mhawithyalysilpakr p 36 krmsilpakr 2493 sasnsmedc layphrahtthsmedcecafa krmphrayanrisranuwdtiwngs aelasmedckrmphrayadarngrachanuphaph phakh 3 PDF phrankhr phracnthr p 131 siri slakht 2525 karkhlxngchangthiephniydcnghwdphrankhrsrixyuthya PDF phakhwichaobrankhdi mhawithyalysilpakr p 19 21 phuththanuwtr phrankhr phracnthr 2513 p 1 lingkesiy bthbathhnathikhxngphrahmntxrachsanksyam mulnithiokhrngkarsaranukrmchbbeyawchn subkhnemux 31 minakhm 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help siri slakht 2525 karkhlxngchangthiephniydcnghwdphrankhrsrixyuthya PDF phakhwichaobrankhdi mhawithyalysilpakr p 10 kieln pralxngeching 2 emsayn 2562 klbbtrsumephling ithyrthxxniln subkhnemux 20 tulakhm 2563 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help siri slakht 2525 karkhlxngchangthiephniydcnghwdphrankhrsrixyuthya PDF phakhwichaobrankhdi mhawithyalysilpakr p 11 khawthiichinphithitang sanknganrachbnthityspha 10 mithunayn 2553 subkhnemux 1 emsayn 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help cngcitrthnxm diskul hmxmeca bnthukkhwamthrngcakhxnghmxmecacngcitrthnxm diskul krungethph wchrinthrkarphimph 2522 hna 31duephimphipaka sasnahinduinpraethsithy