พระโกญจนาเนศวร์ หรือ พระโกญจนาทเนศวร์ เป็นเทพเจ้าแห่งช้างองค์หนึ่ง มีพระวรกายเป็นมนุษย์แต่มีเศียรเป็นช้าง ซึ่งปรากฏใน ตำราช้าง และ คัมภีร์นารายณ์ยี่สิบปาง อันเป็นเอกสารของไทยช่วงรัตนโกสินทร์ แม้จะมีรูปลักษณ์คล้ายคลึงกับพระพิฆเนศ แต่เทพองค์นี้ได้รับการนับถือในฐานะครูหมอช้างตามหลักคชศาสตร์ของไทย และเป็นเทพที่ไม่ปรากฏในคัมภีร์ศาสนาฮินดูใด ๆ ของประเทศอินเดีย
พระโกญจนาเนศวร์ | |
---|---|
เทพเจ้าแห่งช้าง | |
ส่วนเกี่ยวข้อง | เทพพื้นเมือง |
อาวุธ | ขอช้าง · บ่วงบาศ |
พาหนะ | ช้างเจ็ดเศียร |
เป็นที่นับถือใน | ประเทศไทย |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
บิดา-มารดา |
|
ศัพทมูลวิทยา
พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) สันนิษฐานว่าพระนาม "โกญจนาเนศวร์" ใน คัมภีร์นารายณ์ยี่สิบปาง เป็นพระนามของพระขันทกุมาร เพราะคำว่า "โกญจนา" ตรงกับคำสันสกฤตว่า "เกราญจ" ซึ่งเป็นชื่อภูเขาที่พระขันทกุมารเสด็จไปประทับ รองศาสตราจารย์ ดร. มณีปิ่น พรหมสุทธิลักษณ์อธิบายมาจากคำสันสกฤตว่า "เกฺราญจนาเนศวร" (กฺราญจน+อานน+อิศวร) จึงแปลความหมายของชื่อดังกล่าวว่า "ผู้เป็นใหญ่เหนือแผ่นพักตร์เกราญจะ" และมณีปิ่นได้อธิบายอีกว่า ชาวสยามโบราณคงทราบทางเทพปกรณัมแขก [อินเดีย] ว่าพระอิศวรมีบุตรสององค์ แต่เข้าใจผิดว่าเป็นองค์เดียวกัน จึงโอนชื่อพระขันทกุมารไปให้กับพระคเณศ
คมกฤช อุ่ยเต็กเค่งอธิบายว่า "โกญจนาทเนศวร์" ซึ่งปรากฏใน ตำราช้าง มาจากคำว่า "โกญจนาท" แปลว่า "เสียงร้องของช้าง" และพระนามจึงควรจะเป็น "โกญจนาเทศวร์" แปลว่า "พระเป็นเจ้าที่มีเสียงร้องของช้าง" หรืออาจจะมาจาก "โกญจนาทนฺ+อีศวร" ตามการสนธิสันสกฤตอย่างทมิฬ
ประวัติ
พระโกญจนาเนศวร์หรือพระโกญจนาทเนศวร์ ปรากฏใน คัมภีร์นารายณ์ยี่สิบปาง อธิบายว่าพระโกญจนาเนศวร์เป็นบุตรของพระอิศวรและเป็นน้องชายของพระพิฆเนศ ดังเนื้อความ
"ในไตรดายุคพระอิศวรมีเทวโองการให้พระเพลิงพระทำเทวฤทธิ์เพื่อบังเกิดศิวบุตร 2 องค์ พระเพลิงรับเทวโองการและกระทำเทวฤทธิ์ให้บังเกิดเป็นเปลวเพลิงออกจากช่องพระกรรณทั้งสอง เบื้องขวาบังเกิดบุตรที่มีพระพักตร์เป็นช้างคือพระคเณศ ส่วนเบื้องซ้ายบังเกิดเป็นเทวกุมารองค์หนึ่งชื่อพระโกญจนาเนศวร มีพักตร์เป็นช้าง 3 พระพักตร์ มีพระกร 6 พระกร แต่ละพระหัตถ์กำเนิดมีช้างประเภทต่าง ๆ เช่น ช้างเอราวัณ ช้างคีรีเมฆละไตรดายุค ช้างเผือกเอก เผือกตรี เผือกโท เป็นต้น"
ใน คัมภีร์นารายณ์ยี่สิบปาง และ ตำราช้าง ได้อธิบายรูปลักษณ์ของพระโกญจนาเนศวร์ไว้ตรงกันคือมีเศียรรูปช้างสามเศียร มีกรหกกร ในพระกรทั้งหกกรจะมีช้างชนิดต่าง ๆ ทั้งของโลกและสวรรค์ คือช้างเอราวัณ ช้างเผือกชนิดต่าง ๆ และสังข์ทักขิณาวัฏในพระกรขวา และสังข์อุตราวัฏโลกในพระกรซ้าย ประทับยืนอยู่บนศีรษะของช้างเจ็ดเศียร มีบทบาททางคชศาสตร์คือสร้างช้างเผือกสำหรับพระราชาบนโลกมนุษย์ พระโกญจนาเนศวร์นี้มีเทวลักษณะใกล้เคียงกับตรีมุขคณปติ (พระคณบดีสามพักตร์) ปรากฏใน ตำราตัตวนิธิ ของอินเดียใต้ แต่ไม่ปรากฏบทบาทเกี่ยวกับช้างแต่อย่างใด
อ้างอิง
- พสิษฐ์ ไชยวัฒน์ (5 พฤศจิกายน 2561). "สัมภาษณ์ คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง: ฮินดู...อีกมุมที่คนไทยไม่รู้จัก". ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2561.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. ภารตะ-สยาม ? ผี พราหมณ์ พุทธ ?. กรุงเทพฯ : มติชน, 2560, หน้า 115-118
- ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ (12 ตุลาคม 2560). "ครูช้าง พราหมณ์สยาม : พระคเณศกับปกรณัมแบบไทย ๆ". มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2561.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraokycnaenswr hrux phraokycnathenswr epnethphecaaehngchangxngkhhnung miphrawrkayepnmnusyaetmiesiyrepnchang sungpraktin tarachang aela khmphirnaraynyisibpang xnepnexksarkhxngithychwngrtnoksinthr aemcamiruplksnkhlaykhlungkbphraphikhens aetethphxngkhniidrbkarnbthuxinthanakhruhmxchangtamhlkkhchsastrkhxngithy aelaepnethphthiimpraktinkhmphirsasnahinduid khxngpraethsxinediyphraokycnaenswrethphecaaehngchangswnekiywkhxngethphphunemuxngxawuthkhxchang bwngbasphahnachangecdesiyrepnthinbthuxinpraethsithykhxmulswnbukhkhlbida mardaphraxiswr bida sphthmulwithyaphrayaxnumanrachthn yng esthiyrokess snnisthanwaphranam okycnaenswr in khmphirnaraynyisibpang epnphranamkhxngphrakhnthkumar ephraakhawa okycna trngkbkhasnskvtwa ekrayc sungepnchuxphuekhathiphrakhnthkumaresdcipprathb rxngsastracary dr mnipin phrhmsuththilksnxthibaymacakkhasnskvtwa ek raycnaenswr k raycn xann xiswr cungaeplkhwamhmaykhxngchuxdngklawwa phuepnihyehnuxaephnphktrekrayca aelamnipinidxthibayxikwa chawsyamobrankhngthrabthangethphpkrnmaekhk xinediy waphraxiswrmibutrsxngxngkh aetekhaicphidwaepnxngkhediywkn cungoxnchuxphrakhnthkumaripihkbphrakhens khmkvch xuyetkekhngxthibaywa okycnathenswr sungpraktin tarachang macakkhawa okycnath aeplwa esiyngrxngkhxngchang aelaphranamcungkhwrcaepn okycnaethswr aeplwa phraepnecathimiesiyngrxngkhxngchang hruxxaccamacak okycnathn xiswr tamkarsnthisnskvtxyangthmilprawtiphraokycnaenswrhruxphraokycnathenswr praktin khmphirnaraynyisibpang xthibaywaphraokycnaenswrepnbutrkhxngphraxiswraelaepnnxngchaykhxngphraphikhens dngenuxkhwam initrdayukhphraxiswrmiethwoxngkarihphraephlingphrathaethwvththiephuxbngekidsiwbutr 2 xngkh phraephlingrbethwoxngkaraelakrathaethwvththiihbngekidepneplwephlingxxkcakchxngphrakrrnthngsxng ebuxngkhwabngekidbutrthimiphraphktrepnchangkhuxphrakhens swnebuxngsaybngekidepnethwkumarxngkhhnungchuxphraokycnaenswr miphktrepnchang 3 phraphktr miphrakr 6 phrakr aetlaphrahtthkaenidmichangpraephthtang echn changexrawn changkhiriemkhlaitrdayukh changephuxkexk ephuxktri ephuxkoth epntn in khmphirnaraynyisibpang aela tarachang idxthibayruplksnkhxngphraokycnaenswriwtrngknkhuxmiesiyrrupchangsamesiyr mikrhkkr inphrakrthnghkkrcamichangchnidtang thngkhxngolkaelaswrrkh khuxchangexrawn changephuxkchnidtang aelasngkhthkkhinawtinphrakrkhwa aelasngkhxutrawtolkinphrakrsay prathbyunxyubnsirsakhxngchangecdesiyr mibthbaththangkhchsastrkhuxsrangchangephuxksahrbphrarachabnolkmnusy phraokycnaenswrnimiethwlksnaiklekhiyngkbtrimukhkhnpti phrakhnbdisamphktr praktin tarattwnithi khxngxinediyit aetimpraktbthbathekiywkbchangaetxyangidxangxingphsisth ichywthn 5 phvscikayn 2561 smphasn khmkvch xuyetkekhng hindu xikmumthikhnithyimruck prachaith subkhnemux 18 phvscikayn 2561 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help khmkvch xuyetkekhng pharta syam phi phrahmn phuthth krungethph mtichn 2560 hna 115 118 siriphcn ehlamanaecriy 12 tulakhm 2560 khruchang phrahmnsyam phrakhenskbpkrnmaebbithy mtichnsudspdah subkhnemux 18 phvscikayn 2561 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help