พญามังราย (ไทยถิ่นเหนือ: ᨻᩕ᩠ᨿᩣᨾᩢ᩠ᨦᩁᩣ᩠ᨿ; พ.ศ. 1782–1854) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 25 แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงลาว เสด็จขึ้นเสวยราชย์เมื่อ พ.ศ. 1802 พระองค์ทรงสร้างเมืองหลายแห่ง เป็นต้นว่า เมืองเชียงราย (ในจังหวัดเชียงรายปัจจุบัน), เวียงกุมกาม, และเมืองเชียงใหม่ (ในจังหวัดเชียงใหม่ปัจจุบัน) ซึ่งภายหลังเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา จึงถือกันว่าพระองค์เป็นปฐมกษัตริย์ของอาณาจักรล้านนาด้วย
พญามังราย | |
---|---|
พระบรมราชานุสาวรีย์ที่ จังหวัดเชียงราย ฝีมือปั้นของ | |
กษัตริย์แห่งล้านนา องค์ที่ 1 | |
ครองราชย์ | พ.ศ. 1805–1854 (49 ปี) |
ก่อนหน้า | ตนเองในฐานะพญาหิรัญนครเงินยางเชียงลาว |
ถัดไป | พญาไชยสงคราม |
พญาหิรัญนครเงินยางเชียงลาว | |
ครองราชย์ | พ.ศ. 1802–1805 (3 ปี) |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | ตนเองในฐานะกษัตริย์แห่งล้านนา |
พระราชสมภพ | พ.ศ. 1782 หิรัญนครเงินยางเชียงลาว |
สวรรคต | พ.ศ. 1854 (72 พรรษา) เชียงใหม่, อาณาจักรล้านนา |
พระราชบุตร |
|
ราชวงศ์ | มังราย |
พระราชบิดา | ลาวเมง |
พระราชมารดา | นางเทพคำข่าย |
พระนาม
"มังราย" เป็นพระนามที่ปรากฏในเอกสารชั้นต้นทุกชนิด ทั้งจารึก ใบลาน พงศาวดาร บทกฎหมาย บทกวี และอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงจารึกวัดพระยืน (พ.ศ. 1912) จารึกวัดสุวรรณมหาวิหาร (พ.ศ. 1954) ตำนานมูลศาสนา (พ.ศ. 1965) ชินกาลมาลีปกรณ์ (พ.ศ. 2059) โคลงนิราศหริภุญไชย (พ.ศ. 2060) จารึกวัดเชียงมั่น (พ.ศ. 2124) และมังรายศาสตร์ (ไม่ปรากฏศักราช) โดยจารึกวัดพระยืน จารึกวัดสุวรรณมหาวิหาร ตำนานมูลศาสนา จารึกวัดเชียงมั่น และมังรายศาสตร์ ระบุคำนำพระนามว่า "พญา" (เขียนแบบเก่าว่า "พรญา" หรือ "พรยา")
(พ.ศ. 2461) บันทึกตำนานเกี่ยวกับพระนาม "มังราย" ว่า ฤๅษีชื่อ ปัทมังกร เป็นผู้ตั้งถวาย โดยเอาชื่อของฤๅษีเอง พระนามของพระบิดา (ลาวเมง) และพระนามของพระมารดา (เทพคำข่าย) ผสมกันเป็น "มังราย"
มีแต่พงศาวดารโยนก ที่พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค) เขียนขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงสยาม และเอกสารสมัยหลังซึ่งอ้างอิงพงศาวดารโยก ที่ออกพระนามว่า "เม็งราย" โดยไม่ปรากฏเหตุผลที่พระยาประชากิจกรจักร์แก้พระนาม "มังราย" เป็น "เม็งราย" แต่อย่างใด ปัจจุบันมีสถานที่หลายแห่งใช้ชื่อว่า "เม็งราย" เช่น ตำบลเม็งราย อำเภอพญาเม็งราย และ ในจังหวัดเชียงราย ตลอดจนวัดพระเจ้าเม็งราย ในจังหวัดเชียงใหม่
ส่วนการเปลี่ยนคำนำพระนาม "พญา" เป็น "พ่อขุน" นั้น เป็นผลงานของหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) อธิบดีกรมศิลปากร ปรากฏครั้งแรกในบทขับร้องชื่อ "เพลงดนตรีประวัติศาสตร์" (พ.ศ. 2481) ของหลวงวิจิตรฯ ที่มีเนื้อเพลงว่า "พ่อขุนเมงราย" ทั้งนี้ คำว่า "พ่อขุน" เป็นคำนำพระนามพระมหากษัตริย์กรุงสุโขทัยสมัยหนึ่ง แต่ไม่ปรากฏการใช้งานในทางประวัติศาสตร์ของภูมิภาคล้านนา
เพ็ญสุภา สุขคตะ นักโบราณคดี ตั้งข้อสังเกตว่า การประดิษฐ์พระนามของพญามังรายขึ้นใหม่ เกิดขึ้นในช่วง พ.ศ. 2442–2443 ซึ่งอังกฤษเข้ายึดครองดินแดนพม่าได้แล้ว และพยายามอ้างสิทธิ์รวมดินแดนล้านนา ซึ่งในเวลานั้นเป็นของสยาม เข้ากับอาณานิคมพม่า โดยอ้างว่า พญามังราย "ทรงมีเชื้อสายเป็นชาวพม่า เหตุเพราะที่มีพระนามว่า 'มังราย' ฉะนี้แล้วอาณาจักรล้านนาย่อมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับพม่าโดยไม่มีข้อแม้" ชนชั้นนำสยามในเวลานั้นจึงน่าจะประดิษฐ์พระนามขึ้นใหม่ให้ใช้โดยแพร่หลายแทน
ต้นพระชนม์
พญามังรายเป็นพระราชโอรสของ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 24 แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงลาว กับ พระราชธิดาของ พระมหากษัตริย์แห่งเมืองเชียงรุ่งสิบสองพันนา
การขึ้นเป็นกษัตริย์
เมื่อพระราชบิดาสวรรคตใน พ.ศ. 1802 พญามังรายทรงขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงลาวต่อ และมีพระราชประสงค์จะทรงรวบรวมหัวเมืองอิสระต่าง ๆ เข้าเป็นหนึ่งเดียว โดยทรงเริ่มจากทางเหนือก่อน แล้วขยายไปฝ่ายใต้
การสร้างเชียงราย
หลังจากทรงขึ้นครองราชย์ ณ หิรัญนครเงินยางเชียงลาวได้ราว 3 ปี พญามังรายทรงสร้างเมืองเชียงรายขึ้นเป็นศูนย์อำนาจใหม่ใน พ.ศ. 1805 และทรงสร้างเมืองฝางเมื่อ พ.ศ. 1816, ทรงสร้างเมืองชะแวทางตะวันออกเฉียงเหนือของลำพูนเมื่อ พ.ศ. 1826, และทรงสร้างเวียงกุมกามเมื่อ พ.ศ. 1829 เมื่อสร้างเมืองใหม่แต่ละครั้ง พญามังรายจะประทับอยู่ที่เมืองนั้น ๆ เสมอ ซึ่งตามความเห็นของประเสริฐ ณ นคร แล้ว "คงมีพระประสงค์ที่จะสร้างชุมชนขึ้นใหม่ เพื่อรวบรวมผู้คนที่กระจัดกระจายกันอยู่ให้มาตั้งเป็นเมืองใหม่ขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็ทรงแสวงหาชัยภูมิที่เหมาะสมจะเป็นเมืองหลวงถาวรของพระองค์ต่อไป"
นอกจากนี้ ยังทรงตีได้เมืองมอบ, เมืองไร, และเมืองเชียงคำ จึงมีหัวเมืองหลายแห่งมาขออ่อนน้อมเป็นเมืองขึ้น เช่น เมืองร้าง ต่อมาจึงเสด็จไปเอาเมืองเชียงของได้ใน พ.ศ. 1812 และเมืองเซริงใน พ.ศ. 1818
ระหว่างประทับที่เวียงกุมกาม พญามังรายทรงให้ช่างก่อเจดีย์กู่คำ ณ วัดเจดีย์เหลี่ยม พญามังรายยังโปรดให้นายช่างชื่อ กานโถม สร้างวัดแห่งหนึ่งที่มีพระพุทธปฏิมากร 5 พระองค์สูงใหญ่เท่าพระวรกายของพระองค์ ตลอดจนมหาวิหารและเจดีย์อื่นอีกเป็นอันมาก นายช่างกานโถมปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้เขาไปครองเมืองรอย (ต่อมาสถาปนาเป็นเมืองเชียงแสน) และพระราชทานนามวัดนั้นว่า
การตีหริภุญไชย
พญามังรายมีพระราชประสงค์จะได้เมืองหริภุญไชย (ในจังหวัดลำพูนปัจจุบัน) เพราะเป็นเมืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์การค้าระหว่างประเทศ ธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ทั้งยังมีทางน้ำติดต่อถึงเมืองละโว้และเมืองอโยธยาด้วย ทรงวางแผนให้ข้าหลวงคนหนึ่งชื่อ อ้ายฟ้า เข้าไปเป็นไส้ศึกในเมืองหริภุญไชย ขณะนั้น พญาญี่บาครองเมืองหริภุญไชย อ้ายฟ้าทำให้ชาวหริภุญไชยไม่พอใจพญาญี่บา โดยเกณฑ์ไปขุดเหมืองในฤดูร้อนเพื่อถ่ายแม่น้ำปิงมาสู่เป็นระยะทาง 36 กิโลเมตร ปัจจุบัน เหมืองดังกล่าวยังมีอยู่และยังใช้การได้ นอกจากนี้ อ้ายฟ้ายังให้ตัดไม้ซุงลากผ่านที่นาของชาวบ้านในฤดูทำนา ทำให้ข้าวเสียหาย โดยอ้ายฟ้าแจ้งว่า พญาญี่บาจะทรงสร้างพระราชวังใหม่ อ้ายฟ้าบ่อนทำลายเมืองหริภุญไชยอยู่นานเกือบ 7 ปี เป็นเหตุให้ชาวหริภุญไชยเอาใจออกหากพญาญี่บา เมื่อพญามังรายทรงนำกองทัพมาล้อม จึงทรงได้เมืองไปโดยง่ายใน พ.ศ. 1824 แต่ชินกาลมาลีปกรณ์ว่าเป็น พ.ศ. 1835
การสร้างเชียงใหม่
เมื่อพญามังรายทรงได้เมืองหริภุญไชยแล้ว ขุนคราม พระราชบุตรพระองค์ที่ 2 ของพญามังราย ก็ตี (ในจังหวัดลำปางปัจจุบัน) ได้ใน พ.ศ. 1839 ในปีนั้นเอง พญามังรายทรงสร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้น พระราชทานนามว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่"
อาณาเขตของพญามังรายนั้น ปรากฏว่า ทางเหนือถึงเชียงรุ่งและเชียงตุง ทางตะวันออกถึงแม่น้ำโขง แต่ไม่รวมเมืองพะเยา, เมืองน่าน, และเมืองแพร่ ทางใต้ถึงนครเขลางค์ และทางตะวันตกถึงอาณาจักรพุกาม (พม่าและมอญ)
การตีพุกาม
พงศาวดารโยนก ของพระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค) ว่า ใน พ.ศ. 1833 อาณาจักรพุกามขอเป็นเมืองขึ้นของพระองค์ พญามังรายจึงเสด็จไปเยือนพุกาม และเมื่อนิวัติ ก็ทรงนำช่างฆ้อง ช่างหล่อ ช่างเหล็ก และช่างฝีมืออื่น ๆ กลับมาด้วย แล้วก็โปรดให้ช่างทองไปประจำที่เมืองเชียงตุง แต่เรื่องดังกล่าวไม่ปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์ และประเสริฐ ณ นคร เห็นว่า ถ้าเกิดขึ้นจริง ควรเป็น พ.ศ. 1843 มากกว่า พ.ศ. 1833 เพราะมอญอยู่ในอาณัติของพ่อขุนรามคำแหงกรุงสุโขทัยซึ่งสวรรคตเมื่อ พ.ศ. 1841 มอญจะแยกตัวไปขึ้นเมืองใหม่ได้ก็ควรหลัง พ.ศ. 1841
นอกจากนี้ บันทึกของจีนและไทลื้อระบุว่า พญามังรายทรงเคยยกรี้พลไปตีเมืองเชียงรุ่งและอาณาจักรพุกามบางส่วนใน พ.ศ. 1840 และสิบสองพันนาใน พ.ศ. 1844 ทั้งกล่าวว่า จีนเคยยกลงมาตีอาณาจักรล้านนาแต่พ่ายแพ้กลับไปด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
พญามังรายทรงมีสัมพันธไมตรีกับพญางำเมือง พระมหากษัตริย์แห่งเมืองพะเยา (ในจังหวัดพะเยาปัจจุบัน) และพ่อขุนรามคำแหง พระมหากษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ทั้ง 3 พระองค์เป็นศิษย์สำนักเดียวกันที่เมืองละโว้ และเป็นพระสหายร่วมสาบานกันด้วย
อนึ่ง เมื่อพญามังรายจะทรงสถาปนาเมืองเชียงใหม่นั้น ทรงปรึกษากับพระสหายทั้ง 2 พ่อขุนรามคำแหงทรงแนะนำว่า ควรลดขนาดเมืองลงครึ่งหนึ่งจากเดิมที่วางผังให้ยาวด้านละ 2,000 วา เพราะเมื่อเกิดศึกสงครามในอนาคต ผู้คนที่ไม่มากพอจะไม่อาจรักษาบ้านเมืองที่กว้างใหญ่เกินไปได้ ซึ่งพญามังรายทรงเห็นชอบด้วย
พระราชไมตรีระหว่างพระมหากษัตริย์ทั้ง 3 พระองค์ ทำให้แต่ละพระองค์ทรงสามารถขยายดินแดนไปได้อย่างไม่ต้องทรงพะวงหน้าพะวงหลัง
กฎหมาย
(บ้างเรียก วินิจฉัยมังราย) เป็นเอกสารที่ประมวลคำวินิจฉัยทางกฎหมายของพระมหากษัตริย์ ซึ่งรวมถึงพญามังราย ในรัชกาลพญามังราย มังรายศาสตร์มีเพียง 22 มาตรา ว่าด้วยการหนีศึก, ความชอบในสงคราม, หน้าที่ของไพร่ในการเข้าเวรทำงานหลวง 10 วัน กลับบ้านไปกสิกรรม 10 วัน สลับกันไป, และเรื่องที่ดิน ภายหลังมีการแก้ไขเพิ่มเติมจนยาวขึ้นอีก 10 เท่า
มังรายศาสตร์ฉบับเก่าแก่ที่สุดที่หลงเหลือในปัจจุบันมีเพียงฉบับเดียว คือ ฉบับที่พบ ณ วัดเสาไห้ คัดลอกเอาไว้เมื่อ พ.ศ. 2342 และต่อมา ราชบัณฑิตยสถานแปลเป็นภาษาไทยเมื่อ พ.ศ. 2514
พระราชวงศ์
พญามังรายมีพระราชบุตรเท่าใดไม่ปรากฏชัด แต่ปรากฏว่า พระราชบุตรพระองค์แรกมีพระนามว่า ขุนเครื่อง ทรงให้ไปครองเมืองเชียงราย แต่ภายหลังคิดขบถ จึงทรงให้คนไปลอบสังหาร
พระราชบุตรพระองค์ที่ 2 คือ ขุนคราม มีผลงานเป็นการตีนครเขลางค์ได้สำเร็จ จึงได้เฉลิมพระนามเป็น พญาไชยสงคราม ภายหลังได้สืบราชสมบัติต่อจากพญามังรายเป็นรัชกาลที่ 2 แห่งอาณาจักรล้านนา
พระราชบุตรพระองค์ที่ 3 คือ ขุนเครือ โปรดให้กินเมืองพร้าว แต่ต่อมาถูกพระองค์เนรเทศไปเมืองกองใต้ ชาวไทยใหญ่จึงสร้างเมืองใหม่ให้ขุนเครือปกครองแทน
สวรรคต
พญามังรายสวรรคตเพราะทรงถูกฟ้าผ่ากลางเมืองเชียงใหม่ใน พ.ศ. 1854 รวมพระชนม์ 72 พรรษาพญาไชยสงคราม พระราชบุตรพระองค์ที่ 2 เสวยราชย์สืบต่อมา
พ้นรัชกาลพญามังรายแล้ว ราชวงศ์มังรายครอบครองอาณาจักรล้านนาเป็นเอกราชอยู่ระยะหนึ่ง โดยเคยขยายอาณาบริเวณมาครอบคลุมเมืองพะเยา, น่าน, ตาก, แพร่, สวรรคโลก, และสุโขทัยด้วย กระทั่ง พ.ศ. 2101 ถูกพม่าตีแตก แล้วก็กลายเป็นเมืองขึ้นพม่าบ้าง เป็นอิสระบ้าง และเป็นเมืองขึ้นกรุงศรีอยุธยาบ้าง สลับกันไปดังนี้เป็นเวลากว่า 200 ปี จนยอมเป็นเมืองขึ้นกรุงรัตนโกสินทร์ และถูกกลืนเข้าเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน
ในวัฒนธรรมประชานิยม
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2012 มีผู้ตัดต่อภาพอนุสาวรีย์พญามังราย โดยนำสัญลักษณ์ "ชอบ" หรือ "ไลก์" (like) ของเฟซบุ๊กไปติดกับพระหัตถ์ แล้วลงเผยแพร่ทางเพจ "ไลค์ดะ" ในเฟซบุ๊ก โดยเรียกภาพนั้นว่า "พ่อขุนเม็งไลค์" มีบุคคลจำนวนหนึ่งไม่พอใจและพากันเข้าไปต่อว่า ในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2012 มงคล สิทธิหล่อ วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย แถลงว่า จะดำเนินคดีแก่เจ้าของเพจไลค์ดะ และในวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2012 ชาวเชียงรายบางกลุ่มเดินขบวนแสดงความไม่พอใจต่อเพจไลก์ดะที่บริเวณพระบรมราชานุสาวรีย์พญามังรายในอำเภอเมืองเชียงราย ส่วนเพจไลค์ดะได้ปิดตัวลงก่อนหน้านั้นแล้ว
อนึ่ง ในช่วงการประชุมผู้นำด้านน้ำแห่งภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ครั้งที่ 2 (2nd Asia–Pacific Water Summit) หรือการประชุมน้ำโลก ครั้งที่ 2 ที่จังหวัดเชียงใหม่ ปลอดประสพ สุรัสวดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถูกวิพากษ์วิจารณ์ที่แต่งกายเป็นพญามังรายด้วย "ชุดกษัตริย์ล้านนาโบราณ เปลือยท่อนบน โชว์พุงหลาม นุ่งผ้านุ่ง มีทับทรวงและมงกุฎ กำลังชี้นิ้วขึ้นฟ้าไปท้ารบเทวดาบนฟ้า"
สถานที่อันเนื่องมาจากพระนาม
- ในจังหวัดเชียงราย
- อำเภอพญาเม็งราย
- ตำบลเม็งราย
- สะพานเม็งราย
- วัดเม็งรายมหาราช
- อำเภอพญาเม็งราย
- ในจังหวัดเชียงใหม่
ราชตระกูล
พงศาวลีของพญามังราย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 267)
- ชมรมฮักตั๋วเมืองฯ (2021)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 276) "พญาเม็งราย...พระนามที่ถูกต้องว่า พญามังราย ทั้งนี้ ปรากฏตามหลักฐานในศิลาจารึก ตำนาน และเอกสารดั้งเดิมทุกชนิด ยกเว้นพงศาวดารโยนกที่พระยาประชากิจกรจักร์เรียบเรียงขึ้น และเอกสารที่อ้างอิงพงศาวดารโยนกในชั้นหลัง ซึ่งใช้พระนาม เม็งราย"
- สุจิตต์ วงษ์เทศ (2021)
- เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ (2021)
- ทิว วิชัยขัทคะ (n.d., p. ไม่มีเลขหน้า (แผ่นที่ 13))
- ประสาร ธาราพรรค์ (n.d., pp. 2–3)
- ทิว วิชัยขัทคะ (n.d., pp. 2–3)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 268)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, pp. 269–270)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 270)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 277)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 278)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, pp. 277–278)
- ประเสริฐ ณ นคร (2006, p. 269)
- ประชาไท (2012)
- ผู้จัดการออนไลน์ (2012)
- บัณรส บัวคลี่ (2013)
บรรณานุกรม
- ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2020-12-28). "ที่มาของ "อนุสาวรีย์สามกษัตริย์" และ "ตำนานพญามังราย"". มติชนสุดสัปดาห์. กรุงเทพฯ: มติชน. สืบค้นเมื่อ 2021-02-05.
- ทิว วิชัยขัทคะ (n.d.). พญาเมงราย หรือ พ่อขุนเมงราย อย่างไรจึงจะถูกต้อง (PDF). เชียงใหม่: ทิพย์เนตรการพิมพ์.
- บัณรส บัวคลี่ (2013-04-29). "ว่าด้วยปลอดประสพ รับบทพญามังราย". ผู้จัดการ. สืบค้นเมื่อ 2013-05-14.
- ประชาไท (2012-08-19). "วธ.เชียงราย เผยเตรียมเอาผิดเพจ "ไลค์ดะ" ตัดต่อรูปพ่อขุน". ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 2012-08-22.
- ประสาร ธาราพรรค์ (n.d.). "9 มหาราช แห่งสยามประเทศ" (PDF). ศูนย์เอเชียศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอเชียศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- ประเสริฐ ณ นคร (2006). ประวัติศาสตร์เบ็ดเตล็ด. กรุงเทพฯ: มติชน. ISBN .
- ผู้จัดการออนไลน์ (2012-08-22). . ผู้จัดการ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-01. สืบค้นเมื่อ 2012-08-22.
- เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ (2012-08-24). "750 ปี "พระญามังราย" หรือ "พ่อขุนเม็งราย"?". ประชาไท. กรุงเทพฯ: ประชาไท. สืบค้นเมื่อ 2021-02-05.
- สุจิตต์ วงษ์เทศ (2559-01-28). "พญามังราย ไม่ใช่พ่อขุนเม็งราย". มติชนออนไลน์. กรุงเทพฯ: มติชน. สืบค้นเมื่อ 2021-02-05.
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พญามังราย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phyamngray ithythinehnux ᨻ ᨿ ᨾ ᨦᩁ ᨿ ph s 1782 1854 epnphramhakstriyrchkalthi 25 aehnghirynkhrenginyangechiynglaw esdckhuneswyrachyemux ph s 1802 phraxngkhthrngsrangemuxnghlayaehng epntnwa emuxngechiyngray incnghwdechiyngraypccubn ewiyngkumkam aelaemuxngechiyngihm incnghwdechiyngihmpccubn sungphayhlngepnsunyklangkhxngxanackrlanna cungthuxknwaphraxngkhepnpthmkstriykhxngxanackrlannadwyphyamngrayphrabrmrachanusawriythi cnghwdechiyngray fimuxpnkhxngkstriyaehnglanna xngkhthi 1khrxngrachyph s 1805 1854 49 pi kxnhnatnexnginthanaphyahirynkhrenginyangechiynglawthdipphyaichysngkhramphyahirynkhrenginyangechiynglawkhrxngrachyph s 1802 1805 3 pi kxnhnathdiptnexnginthanakstriyaehnglannaphrarachsmphphph s 1782 hirynkhrenginyangechiynglawswrrkhtph s 1854 72 phrrsa echiyngihm xanackrlannaphrarachbutrkhunekhruxngphyaichysngkhramkhunekhruxrachwngsmngrayphrarachbidalawemngphrarachmardanangethphkhakhaybthkhwamnimikhxkhwam khaemuxng hakxupkrnkhxngkhunimsamarthernedxrxksrniid khunxacehnekhruxnghmaykhatham xksrphiess klxng hruxsylksnxun aethnthixksrthrrmlannaphranam mngray epnphranamthipraktinexksarchntnthukchnid thngcaruk iblan phngsawdar bthkdhmay bthkwi aelaxun sungrwmthungcarukwdphrayun ph s 1912 carukwdsuwrrnmhawihar ph s 1954 tananmulsasna ph s 1965 chinkalmalipkrn ph s 2059 okhlngnirashriphuyichy ph s 2060 carukwdechiyngmn ph s 2124 aelamngraysastr impraktskrach odycarukwdphrayun carukwdsuwrrnmhawihar tananmulsasna carukwdechiyngmn aelamngraysastr rabukhanaphranamwa phya ekhiynaebbekawa phrya hrux phrya ph s 2461 bnthuktananekiywkbphranam mngray wa visichux pthmngkr epnphutngthway odyexachuxkhxngvisiexng phranamkhxngphrabida lawemng aelaphranamkhxngphramarda ethphkhakhay phsmknepn mngray miaetphngsawdaroynk thiphrayaprachakickrckr aechm bunnakh ekhiynkhuninsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw rchkalthi 5 aehngkrungsyam aelaexksarsmyhlngsungxangxingphngsawdaroyk thixxkphranamwa emngray odyimpraktehtuphlthiphrayaprachakickrckraekphranam mngray epn emngray aetxyangid pccubnmisthanthihlayaehngichchuxwa emngray echn tablemngray xaephxphyaemngray aela incnghwdechiyngray tlxdcnwdphraecaemngray incnghwdechiyngihm swnkarepliynkhanaphranam phya epn phxkhun nn epnphlngankhxnghlwngwicitrwathkar wicitr wicitrwathkar xthibdikrmsilpakr praktkhrngaerkinbthkhbrxngchux ephlngdntriprawtisastr ph s 2481 khxnghlwngwicitr thimienuxephlngwa phxkhunemngray thngni khawa phxkhun epnkhanaphranamphramhakstriykrungsuokhthysmyhnung aetimpraktkarichnganinthangprawtisastrkhxngphumiphakhlanna ephysupha sukhkhta nkobrankhdi tngkhxsngektwa karpradisthphranamkhxngphyamngraykhunihm ekidkhuninchwng ph s 2442 2443 sungxngkvsekhayudkhrxngdinaednphmaidaelw aelaphyayamxangsiththirwmdinaednlanna sunginewlannepnkhxngsyam ekhakbxananikhmphma odyxangwa phyamngray thrngmiechuxsayepnchawphma ehtuephraathimiphranamwa mngray chaniaelwxanackrlannayxmepnxnhnungxnediywknkbphmaodyimmikhxaem chnchnnasyaminewlanncungnacapradisthphranamkhunihmihichodyaephrhlayaethntnphrachnmphyamngrayepnphrarachoxrskhxng phramhakstriyrchkalthi 24 aehnghirynkhrenginyangechiynglaw kb phrarachthidakhxng phramhakstriyaehngemuxngechiyngrungsibsxngphnnakarkhunepnkstriyemuxphrarachbidaswrrkhtin ph s 1802 phyamngraythrngkhunepnphramhakstriyaehnghirynkhrenginyangechiynglawtx aelamiphrarachprasngkhcathrngrwbrwmhwemuxngxisratang ekhaepnhnungediyw odythrngerimcakthangehnuxkxn aelwkhyayipfayit karsrangechiyngray sakobransthan inxaephxsarphi cnghwdechiyngihm pccubn hlngcakthrngkhunkhrxngrachy n hirynkhrenginyangechiynglawidraw 3 pi phyamngraythrngsrangemuxngechiyngraykhunepnsunyxanacihmin ph s 1805 aelathrngsrangemuxngfangemux ph s 1816 thrngsrangemuxngchaaewthangtawnxxkechiyngehnuxkhxnglaphunemux ph s 1826 aelathrngsrangewiyngkumkamemux ph s 1829 emuxsrangemuxngihmaetlakhrng phyamngraycaprathbxyuthiemuxngnn esmx sungtamkhwamehnkhxngpraesrith n nkhr aelw khngmiphraprasngkhthicasrangchumchnkhunihm ephuxrwbrwmphukhnthikracdkracayknxyuihmatngepnemuxngihmkhun inkhnaediywkn kthrngaeswnghachyphumithiehmaasmcaepnemuxnghlwngthawrkhxngphraxngkhtxip nxkcakni yngthrngtiidemuxngmxb emuxngir aelaemuxngechiyngkha cungmihwemuxnghlayaehngmakhxxxnnxmepnemuxngkhun echn emuxngrang txmacungesdcipexaemuxngechiyngkhxngidin ph s 1812 aelaemuxngesringin ph s 1818 rahwangprathbthiewiyngkumkam phyamngraythrngihchangkxecdiykukha n wdecdiyehliym phyamngrayyngoprdihnaychangchux kanothm srangwdaehnghnungthimiphraphuththptimakr 5 phraxngkhsungihyethaphrawrkaykhxngphraxngkh tlxdcnmhawiharaelaecdiyxunxikepnxnmak naychangkanothmptibtihnathiidepnthiphxphrarachhvthy cungoprdihekhaipkhrxngemuxngrxy txmasthapnaepnemuxngechiyngaesn aelaphrarachthannamwdnnwa kartihriphuyichy phyamngraymiphrarachprasngkhcaidemuxnghriphuyichy incnghwdlaphunpccubn ephraaepnemuxngmngkhng epnsunykarkharahwangpraeths thrrmchatixudmsmburn thngyngmithangnatidtxthungemuxnglaowaelaemuxngxoythyadwy thrngwangaephnihkhahlwngkhnhnungchux xayfa ekhaipepnissukinemuxnghriphuyichy khnann phyayibakhrxngemuxnghriphuyichy xayfathaihchawhriphuyichyimphxicphyayiba odyeknthipkhudehmuxnginvdurxnephuxthayaemnapingmasuepnrayathang 36 kiolemtr pccubn ehmuxngdngklawyngmixyuaelayngichkarid nxkcakni xayfayngihtdimsunglakphanthinakhxngchawbaninvduthana thaihkhawesiyhay odyxayfaaecngwa phyayibacathrngsrangphrarachwngihm xayfabxnthalayemuxnghriphuyichyxyunanekuxb 7 pi epnehtuihchawhriphuyichyexaicxxkhakphyayiba emuxphyamngraythrngnakxngthphmalxm cungthrngidemuxngipodyngayin ph s 1824 aetchinkalmalipkrnwaepn ph s 1835 karsrangechiyngihm emuxphyamngraythrngidemuxnghriphuyichyaelw khunkhram phrarachbutrphraxngkhthi 2 khxngphyamngray kti incnghwdlapangpccubn idin ph s 1839 inpinnexng phyamngraythrngsrangemuxngechiyngihmkhun phrarachthannamwa nphburisrinkhrphingkhechiyngihm xanaekhtkhxngphyamngraynn praktwa thangehnuxthungechiyngrungaelaechiyngtung thangtawnxxkthungaemnaokhng aetimrwmemuxngphaeya emuxngnan aelaemuxngaephr thangitthungnkhrekhlangkh aelathangtawntkthungxanackrphukam phmaaelamxy kartiphukam phngsawdaroynk khxngphrayaprachakickrckr aechm bunnakh wa in ph s 1833 xanackrphukamkhxepnemuxngkhunkhxngphraxngkh phyamngraycungesdcipeyuxnphukam aelaemuxniwti kthrngnachangkhxng changhlx changehlk aelachangfimuxxun klbmadwy aelwkoprdihchangthxngippracathiemuxngechiyngtung aeteruxngdngklawimpraktinchinkalmalipkrn aelapraesrith n nkhr ehnwa thaekidkhuncring khwrepn ph s 1843 makkwa ph s 1833 ephraamxyxyuinxantikhxngphxkhunramkhaaehngkrungsuokhthysungswrrkhtemux ph s 1841 mxycaaeyktwipkhunemuxngihmidkkhwrhlng ph s 1841 nxkcakni bnthukkhxngcinaelaithluxrabuwa phyamngraythrngekhyykriphliptiemuxngechiyngrungaelaxanackrphukambangswnin ph s 1840 aelasibsxngphnnain ph s 1844 thngklawwa cinekhyyklngmatixanackrlannaaetphayaephklbipdwy phrabrmrachanusawriysamkstriy thisalawakarcnghwdechiyngihm prakxbdwy phxkhunramkhaaehng phyangaemuxng aelaphyamngray tamladbkhwamsmphnthrahwangpraethsphyamngraythrngmismphnthimtrikbphyangaemuxng phramhakstriyaehngemuxngphaeya incnghwdphaeyapccubn aelaphxkhunramkhaaehng phramhakstriyaehngkrungsuokhthy thng 3 phraxngkhepnsisysankediywknthiemuxnglaow aelaepnphrashayrwmsabankndwy xnung emuxphyamngraycathrngsthapnaemuxngechiyngihmnn thrngpruksakbphrashaythng 2 phxkhunramkhaaehngthrngaenanawa khwrldkhnademuxnglngkhrunghnungcakedimthiwangphngihyawdanla 2 000 wa ephraaemuxekidsuksngkhraminxnakht phukhnthiimmakphxcaimxacrksabanemuxngthikwangihyekinipid sungphyamngraythrngehnchxbdwy phrarachimtrirahwangphramhakstriythng 3 phraxngkh thaihaetlaphraxngkhthrngsamarthkhyaydinaednipidxyangimtxngthrngphawnghnaphawnghlngkdhmay bangeriyk winicchymngray epnexksarthipramwlkhawinicchythangkdhmaykhxngphramhakstriy sungrwmthungphyamngray inrchkalphyamngray mngraysastrmiephiyng 22 matra wadwykarhnisuk khwamchxbinsngkhram hnathikhxngiphrinkarekhaewrthanganhlwng 10 wn klbbanipksikrrm 10 wn slbknip aelaeruxngthidin phayhlngmikaraekikhephimetimcnyawkhunxik 10 etha mngraysastrchbbekaaekthisudthihlngehluxinpccubnmiephiyngchbbediyw khux chbbthiphb n wdesaih khdlxkexaiwemux ph s 2342 aelatxma rachbnthitysthanaeplepnphasaithyemux ph s 2514phrarachwngsphyamngraymiphrarachbutrethaidimpraktchd aetpraktwa phrarachbutrphraxngkhaerkmiphranamwa khunekhruxng thrngihipkhrxngemuxngechiyngray aetphayhlngkhidkhbth cungthrngihkhniplxbsnghar phrarachbutrphraxngkhthi 2 khux khunkhram miphlnganepnkartinkhrekhlangkhidsaerc cungidechlimphranamepn phyaichysngkhram phayhlngidsubrachsmbtitxcakphyamngrayepnrchkalthi 2 aehngxanackrlanna phrarachbutrphraxngkhthi 3 khux khunekhrux oprdihkinemuxngphraw aettxmathukphraxngkhenrethsipemuxngkxngit chawithyihycungsrangemuxngihmihkhunekhruxpkkhrxngaethnswrrkhtkuphyamngray wddxyngaemuxng echuxknwa epnthibrrcuphrabrmxthi phyamngrayswrrkhtephraathrngthukfaphaklangemuxngechiyngihmin ph s 1854 rwmphrachnm 72 phrrsaphyaichysngkhram phrarachbutrphraxngkhthi 2 eswyrachysubtxma phnrchkalphyamngrayaelw rachwngsmngraykhrxbkhrxngxanackrlannaepnexkrachxyurayahnung odyekhykhyayxanabriewnmakhrxbkhlumemuxngphaeya nan tak aephr swrrkholk aelasuokhthydwy krathng ph s 2101 thukphmatiaetk aelwkklayepnemuxngkhunphmabang epnxisrabang aelaepnemuxngkhunkrungsrixyuthyabang slbknipdngniepnewlakwa 200 pi cnyxmepnemuxngkhunkrungrtnoksinthr aelathukklunekhaepnpraethsithyinpccubninwthnthrrmprachaniymsylksn chxb khxngefsbuk ineduxnsinghakhm ph s 2012 miphutdtxphaphxnusawriyphyamngray odynasylksn chxb hrux ilk like khxngefsbukiptidkbphrahtth aelwlngephyaephrthangephc ilkhda inefsbuk odyeriykphaphnnwa phxkhunemngilkh mibukhkhlcanwnhnungimphxicaelaphaknekhaiptxwa inwnthi 19 singhakhm ph s 2012 mngkhl siththihlx wthnthrrmcnghwdechiyngray aethlngwa cadaeninkhdiaekecakhxngephcilkhda aelainwnthi 22 singhakhm ph s 2012 chawechiyngraybangklumedinkhbwnaesdngkhwamimphxictxephcilkdathibriewnphrabrmrachanusawriyphyamngrayinxaephxemuxngechiyngray swnephcilkhdaidpidtwlngkxnhnannaelw xnung inchwngkarprachumphunadannaaehngphumiphakhexechiy aepsifik khrngthi 2 2nd Asia Pacific Water Summit hruxkarprachumnaolk khrngthi 2 thicnghwdechiyngihm plxdprasph surswdi rthmntriwakarkrathrwngwithyasastraelaethkhonolyi thukwiphakswicarnthiaetngkayepnphyamngraydwy chudkstriylannaobran epluxythxnbn ochwphunghlam nungphanung mithbthrwngaelamngkud kalngchiniwkhunfaiptharbethwdabnfa sthanthixnenuxngmacakphranamincnghwdechiyngray xaephxphyaemngray tablemngray saphanemngray wdemngraymharach incnghwdechiyngihm wdphraecaemngrayrachtrakulphngsawlikhxngphyamngray 2 lawemng 1 phyamngray 6 thawrungaeknchay 3 nangethphkhakhay xangxingpraesrith n nkhr 2006 p 267 chmrmhktwemuxng 2021 praesrith n nkhr 2006 p 276 phyaemngray phranamthithuktxngwa phyamngray thngni prakttamhlkthaninsilacaruk tanan aelaexksardngedimthukchnid ykewnphngsawdaroynkthiphrayaprachakickrckreriyberiyngkhun aelaexksarthixangxingphngsawdaroynkinchnhlng sungichphranam emngray sucitt wngseths 2021 harvtxt error no target CITEREFsucitt wngseths2021 ephysupha sukhkhta icxinthr 2021 harvtxt error no target CITEREFephysupha sukhkhta icxinthr2021 thiw wichykhthkha n d p immielkhhna aephnthi 13 prasar tharaphrrkh n d pp 2 3 thiw wichykhthkha n d pp 2 3 praesrith n nkhr 2006 p 268 praesrith n nkhr 2006 pp 269 270 praesrith n nkhr 2006 p 270 praesrith n nkhr 2006 p 277 praesrith n nkhr 2006 p 278 praesrith n nkhr 2006 pp 277 278 praesrith n nkhr 2006 p 269 prachaith 2012 phucdkarxxniln 2012 bnrs bwkhli 2013 brrnanukrmchmrmhktwemuxng sanksngesrimsilpwthnthrrm mhawithyalyechiyngihm 2020 12 28 thimakhxng xnusawriysamkstriy aela tananphyamngray mtichnsudspdah krungethph mtichn subkhnemux 2021 02 05 thiw wichykhthkha n d phyaemngray hrux phxkhunemngray xyangircungcathuktxng PDF echiyngihm thiphyentrkarphimph bnrs bwkhli 2013 04 29 wadwyplxdprasph rbbthphyamngray phucdkar subkhnemux 2013 05 14 prachaith 2012 08 19 wth echiyngray ephyetriymexaphidephc ilkhda tdtxrupphxkhun prachaith subkhnemux 2012 08 22 prasar tharaphrrkh n d 9 mharach aehngsyampraeths PDF sunyexechiysuksa mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly krungethph sunyexechiysuksa mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly praesrith n nkhr 2006 prawtisastrebdetld krungethph mtichn ISBN 9743236007 phucdkarxxniln 2012 08 22 phucdkar khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 11 01 subkhnemux 2012 08 22 ephysupha sukhkhta icxinthr 2012 08 24 750 pi phrayamngray hrux phxkhunemngray prachaith krungethph prachaith subkhnemux 2021 02 05 sucitt wngseths 2559 01 28 phyamngray imichphxkhunemngray mtichnxxniln krungethph mtichn subkhnemux 2021 02 05 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb phyamngray