พระพุทธโฆสะ ในประเทศไทยมักเรียกว่า พระพุทธโฆษาจารย์ เป็นพระคันถรจนาจารย์เถรวาทผู้มีชีวิตอยู่ราวพุทธศตวรรษที่ 10 เป็นผู้แต่งคัมภีร์หลายเล่ม ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือคัมภีร์วิสุทธิมรรค ซึ่งรวบรวมแนวคำสอนเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมเพื่อการหลุดพ้นจากทุกข์ การตีความคำสอนในพระพุทธศาสนาของท่านถือเป็นแนวคิดที่ใช้เป็นหลักในนิกายเถรวาทในปัจจุบัน ทั้งนักวิชาการตะวันตกและชาวพุทธเถรวาทต่างยอมรับว่าท่านเป็นอรรถกถาจารย์ที่สำคัญที่สุดในนิกายเถรวาท
พระพุทธโฆสะ | |
---|---|
พระพุทธโฆสะถวายต้นฉบับคัมภีร์วิสุทธิมรรคแก่ประธานสงฆ์คณะ | |
เกิด | ราว พุทธคยา |
อาชีพ | คันถรจนาจารย์ |
ช่วงเวลา | ราวพุทธศตวรรษที่ 10 |
หัวข้อ | ศาสนาพุทธนิกายเถรวาท |
ผลงานที่สำคัญ | วิสุทธิมรรค |
ผลงานประพันธ์และแปล
ตารางต่อไปนี้คือรายชื่อคัมภีร์อรรถกถาที่เชื่อว่าพระพุทธโฆสะได้รจนาโดยเพื่ออธิบายคัมภีร์ต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกภาษาบาลี
พระไตรปิฎกภาษาบาลี | อรรถกถาของพระพุทธโฆสะ | ||
---|---|---|---|
พระวินัยปิฎก | พระวินัย (ทั่วไป) | สมันตปาสาทิกา | |
ปาฏิโมกข์ | |||
พระสุตตันตปิฎก | ทีฆนิกาย | สุมังคลวิลาสินี | |
มัชฌิมนิกาย | ปปัญจสูทนี | ||
สารัตถัปปกาสินี | |||
มโนรถปูรณี | |||
ปรมัตถโชติกา (ภาค 1) | |||
ธรรมบท | ธัมมปทัฏฐกถา | ||
ปรมัตถโชติกา (ภาค 2) สุตตนิปาตอัฏฐกถา | |||
ชาดก | ชาตกัฏฐกถา | ||
พระอภิธรรมปิฎก | อัฏฐสาลินี | ||
วิภังค์ | สัมโมหวิโนทนี | ||
ปุคคลบัญญัติ | |||
กถาวัตถุ | |||
ยมก | |||
อ้างอิง
- (Strong 2004, p. 75)
- ตารางตาม (Bullitt 2002) เพิ่มเติม ดูที่ อรรถกถา
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraphuththokhsa inpraethsithymkeriykwa phraphuththokhsacary epnphrakhnthrcnacaryethrwathphumichiwitxyurawphuththstwrrsthi 10 epnphuaetngkhmphirhlayelm thiepnthiruckmakthisudkhuxkhmphirwisuththimrrkh sungrwbrwmaenwkhasxnekiywkbkarptibtithrrmephuxkarhludphncakthukkh kartikhwamkhasxninphraphuththsasnakhxngthanthuxepnaenwkhidthiichepnhlkinnikayethrwathinpccubn thngnkwichakartawntkaelachawphuththethrwathtangyxmrbwathanepnxrrthkthacarythisakhythisudinnikayethrwathphraphuththokhsaphraphuththokhsathwaytnchbbkhmphirwisuththimrrkhaekprathansngkhkhnaekidraw phuththkhyaxachiphkhnthrcnacarychwngewlarawphuththstwrrsthi 10hwkhxsasnaphuththnikayethrwathphlnganthisakhywisuththimrrkhphlnganpraphnthaelaaepltarangtxipnikhuxraychuxkhmphirxrrthkthathiechuxwaphraphuththokhsaidrcnaodyephuxxthibaykhmphirtang inphraitrpidkphasabali phraitrpidkphasabali xrrthkthakhxngphraphuththokhsaphrawinypidk phrawiny thwip smntpasathikapatiomkkhphrasuttntpidk thikhnikay sumngkhlwilasinimchchimnikay ppycsuthnisartthppkasinimonrthpurniprmtthochtika phakh 1 thrrmbth thmmpthtthkthaprmtthochtika phakh 2 suttnipatxtthkthachadk chatktthkthaphraxphithrrmpidk xtthsaliniwiphngkh smomhwionthnipukhkhlbyytikthawtthuymkxangxing Strong 2004 p 75 harv error no target CITEREFStrong2004 tarangtam Bullitt 2002 harv error no target CITEREFBullitt2002 ephimetim duthi xrrthktha bthkhwamsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk