พระผู้สร้าง (อังกฤษ: Creator) หมายถึง พระเป็นเจ้า (ตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม) หรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ (ตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม) ที่มีอำนาจบันดาลให้โลก (ทั้งเอกภพและจักรวาล) เกิดขึ้น
เทวนิยม
ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์
ชาวยิวและคริสต์ศาสนิกชนเชื่อเรื่องตามหนังสือปฐมกาล บทที่ 1 ข้อที่ 1 ที่ระบุว่าพระยาห์เวห์ทรงสร้างฟ้าสวรรค์และแผ่นดินโลกขึ้น และมีก่อให้เกิดสรรพสิ่งต่าง ๆ ทั้ง เวลา พืช สัตว์ มนุษย์ และอมนุษย์ เสร็จภายใน 6 วัน โดยมีลำดับดังนี้
- ตรัสให้มีแสงสว่างแยกออกจากความมืด จึงเกิดวันและคืน เป็นวันที่ 1
- ตรัสให้มีแผ่นฟ้า เพื่อแยกน้ำออกเป็นเบื้องบนกับเบื้องล่าง เป็นวันที่ 2
- ตรัสให้น้ำเบื้องล่างรวมกัน เพื่อให้เกิดที่แห้งเรียกว่าแผ่นดิน ให้มีพืชพันธุ์ธัญญาหารเกิดขึ้น เป็นวันที่ 3
- ตรัสให้บนฟ้ามีดวงสว่าง ได้แก่ ดวงอาทิตย์ครองกลางวัน ดวงจันทร์และดวงดาวครองกลางคืน เป็นวันที่ 4
- ตรัสให้มีสัตว์น้ำและสัตว์ปีก เป็นวันที่ 5
- ตรัสให้มีสัตว์บก แล้วทรงสร้างมนุษย์ตาม(พระฉายาของพระเป็นเจ้า) ให้ครอบครองสัตว์ทั้งปวงที่ทรงสร้างขึ้นนั้น เป็นวันที่ 6
การทรงสร้างนี้เป็นไปอย่างเจาะจง ทุกสิ่งถูกสร้างขึ้นตามชนิดของมันเอง ไม่มีการวิวัฒนาการสายพันธุ์ไปเป็นอย่างอื่น
คริสต์ศาสนิกชนเชื่อต่างจากชาวยิวตรงที่มองว่าการสร้างโลกไม่ได้เกิดจากพระยาห์เวห์เพียงบุคคลเดียว แต่พระตรีเอกภาพอีก 2 พระบุคคล คือ พระบุตรและพระวิญญาณบริสุทธิ์ก็มีส่วนร่วมในการสร้างด้วย เพราะทรงสร้างสรรพสิ่งด้วย ซึ่งพระวรสารนักบุญยอห์นระบุว่าพระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์คือพระเยซู
ศาสนาฮินดู
มีพัฒนาการความเชื่อเรื่องตำนานการสร้างโลกมายาวนานดังระบุไว้ในคัมภีร์ต่าง ๆ โดยแต่ละคัมภีร์จะให้ข้อมูลแตกต่างกันไป
คัมภีร์พระเวทระบุว่า พรหมันสร้างน้ำและใส่พีชะลงไป เกิดเป็นหิรัณยครรภ์ พระพรหมอุบัติขึ้นจากครรภ์นี้แล้วสร้างสรรพสิ่งต่อมาจนแล้วเสร็จเป็น 1 วันพระพรหม จากนั้นจึงบรรทมไป จนกระทั่งโลกแตกสลายไปด้วยไฟบรรลัยกัลป์ คงเหลือแต่ เทวดาทั้งหลาย และธาตุทั้ง 5 คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม และอากาศ พระพรหมก็ตื่นจากบรรทมแล้วสร้างโลกขึ้นใหม่อีกครั้งแล้วบรรทมอีก จนกระทั่งเกิดไฟบรรลัยกัลป์อีกครั้ง เป็นเช่นนี้จนครบ 100 ปีพระพรหมจะเกิดมหาประลัย คือทุกสรรพสิ่งไม่เว้นแม้แต่พระพรหมจะถูกทำลายหมดสิ้นกลับไปสู่ธาตุดั้งเดิม
ต่อมาได้เกิดความเชื่อเรื่องตรีมูรติขึ้นหลังพุทธศตวรรษที่ 8 โดยถือว่ามหาเทพมี 3 องค์ คือพระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ และเชื่อว่าพระพรหมคือพระผู้สร้างโลก ต่อมาได้เกิดลัทธิไวษณพขึ้น ซึ่งถือเอาพระวิษณุเป็นพระเป็นเจ้าแท้จริงเพียงพระองค์เดียว เป็นผู้สร้างพระพรหม มอบหมายให้ทำหน้าที่สร้างโลก ฝ่ายผู้นับถือพระศิวะก็ได้พัฒนาลัทธิไศวะขึ้นมาเช่นกัน โดยยกย่องพระศิวะเป็นพระเจ้า และถือว่าการที่พระศิวะทำลายล้างโลกก็เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์โลกขึ้นใหม่ ดังนั้นพระศิวะจึงเป็นพระผู้สร้างด้วย
อเทวนิยม
ศาสนาพุทธ
พุทธศาสนิกชนปฏิเสธความเชื่อเรื่องพระผู้สร้าง (อิสสรนิมมานวาท) และถือว่าเป็นความเชื่อนอกรีตพระพุทธศาสนา เกวัฏฏสูตรระบุว่าสัตว์ทั้งหลายแม้แต่เทวดาบนสวรรค์ก็หลงผิดว่ามีพระเจ้า เป็นผู้ประเสริฐและยิ่งใหญ่ที่สุด เป็นมหาพรหม ได้เนรมิตสร้างสิ่งต่าง ๆ และลิขิตสิ่งต่าง ๆ ให้เป็นไปตามอำนาจ แต่เมื่อภิกษุรูปหนึ่งซักถามเรื่องความดับของมหาภูตรูป 4 กับมหาพรหม มหาพรหมนั้นก็ตอบไม่ได้ และที่สุดก็ยอมรับความจริงว่าตนเองไม่ได้รู้จริง แต่พวกเทวดาเข้าใจผิดไปเองว่าตนเป็นพระเจ้า
อ้างอิง
- ปฐมกาล บทที่ 1, , เรียกข้อมูลวันที่ 21 ธันวาคม 2555
- กิตติคุณยอห์น บทที่ 1, , เรียกข้อมูลวันที่ 21 ธันวาคม 2555
- ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 111-112
- ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 533-535
- พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), ลัทธินอกพระพุทธศาสนา 3, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, เรียกข้อมูลวันที่ 21 ธันวาคม 2555
- เกวัฏฏสูตร, เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค, เรียกข้อมูลวันที่ 21 ธันวาคม 2555
บรรณานุกรม
- พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 3). องค์การค้าของคุรุสภา. 2552.
{{}}
:|first=
ไม่มี|last=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraphusrang xngkvs Creator hmaythung phraepneca tamkhwamechuxaebbexkethwniym hruxethwdaphuepnihy tamkhwamechuxaebbphhuethwniym thimixanacbndaliholk thngexkphphaelackrwal ekidkhunphrayahewhthrngsrangxadmethwniymsasnayudahaelasasnakhrist chawyiwaelakhristsasnikchnechuxeruxngtamhnngsuxpthmkal bththi 1 khxthi 1 thirabuwaphrayahewhthrngsrangfaswrrkhaelaaephndinolkkhun aelamikxihekidsrrphsingtang thng ewla phuch stw mnusy aelaxmnusy esrcphayin 6 wn odymiladbdngni trsihmiaesngswangaeykxxkcakkhwammud cungekidwnaelakhun epnwnthi 1 trsihmiaephnfa ephuxaeyknaxxkepnebuxngbnkbebuxnglang epnwnthi 2 trsihnaebuxnglangrwmkn ephuxihekidthiaehngeriykwaaephndin ihmiphuchphnthuthyyaharekidkhun epnwnthi 3 trsihbnfamidwngswang idaek dwngxathitykhrxngklangwn dwngcnthraeladwngdawkhrxngklangkhun epnwnthi 4 trsihmistwnaaelastwpik epnwnthi 5 trsihmistwbk aelwthrngsrangmnusytamphrachayakhxngphraepneca ihkhrxbkhrxngstwthngpwngthithrngsrangkhunnn epnwnthi 6 karthrngsrangniepnipxyangecaacng thuksingthuksrangkhuntamchnidkhxngmnexng immikarwiwthnakarsayphnthuipepnxyangxun khristsasnikchnechuxtangcakchawyiwtrngthimxngwakarsrangolkimidekidcakphrayahewhephiyngbukhkhlediyw aetphratriexkphaphxik 2 phrabukhkhl khux phrabutraelaphrawiyyanbrisuththikmiswnrwminkarsrangdwy ephraathrngsrangsrrphsingdwy sungphrawrsarnkbuyyxhnrabuwaphrawcnathrngrbepnmnusykhuxphraeysu sasnahindu miphthnakarkhwamechuxeruxngtanankarsrangolkmayawnandngrabuiwinkhmphirtang odyaetlakhmphircaihkhxmulaetktangknip khmphirphraewthrabuwa phrhmnsrangnaaelaisphichalngip ekidepnhirnykhrrph phraphrhmxubtikhuncakkhrrphniaelwsrangsrrphsingtxmacnaelwesrcepn 1 wnphraphrhm caknncungbrrthmip cnkrathngolkaetkslayipdwyifbrrlyklp khngehluxaet ethwdathnghlay aelathatuthng 5 khux din na if lm aelaxakas phraphrhmktuncakbrrthmaelwsrangolkkhunihmxikkhrngaelwbrrthmxik cnkrathngekidifbrrlyklpxikkhrng epnechnnicnkhrb 100 piphraphrhmcaekidmhapraly khuxthuksrrphsingimewnaemaetphraphrhmcathukthalayhmdsinklbipsuthatudngedim txmaidekidkhwamechuxeruxngtrimurtikhunhlngphuththstwrrsthi 8 odythuxwamhaethphmi 3 xngkh khuxphraphrhm phrawisnuaelaphrasiwa aelaechuxwaphraphrhmkhuxphraphusrangolk txmaidekidlththiiwsnphkhun sungthuxexaphrawisnuepnphraepnecaaethcringephiyngphraxngkhediyw epnphusrangphraphrhm mxbhmayihthahnathisrangolk fayphunbthuxphrasiwakidphthnalththiiswakhunmaechnkn odyykyxngphrasiwaepnphraeca aelathuxwakarthiphrasiwathalaylangolkkephuxihekidkarsrangsrrkholkkhunihm dngnnphrasiwacungepnphraphusrangdwyxethwniymsasnaphuthth phuththsasnikchnptiesthkhwamechuxeruxngphraphusrang xissrnimmanwath aelathuxwaepnkhwamechuxnxkritphraphuththsasna ekwttsutrrabuwastwthnghlayaemaetethwdabnswrrkhkhlngphidwamiphraeca epnphupraesrithaelayingihythisud epnmhaphrhm idenrmitsrangsingtang aelalikhitsingtang ihepniptamxanac aetemuxphiksuruphnungskthameruxngkhwamdbkhxngmhaphutrup 4 kbmhaphrhm mhaphrhmnnktxbimid aelathisudkyxmrbkhwamcringwatnexngimidrucring aetphwkethwdaekhaicphidipexngwatnepnphraecaxangxingpthmkal bththi 1 eriykkhxmulwnthi 21 thnwakhm 2555 kittikhunyxhn bththi 1 eriykkhxmulwnthi 21 thnwakhm 2555 rachbnthitysthan hna 111 112 rachbnthitysthan hna 533 535 phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyut ot lththinxkphraphuththsasna 3 phcnanukrmphuththsastr chbbpramwlthrrm eriykkhxmulwnthi 21 thnwakhm 2555 ekwttsutr elmthi 9 phrasuttntpidk elmthi 1 thikhnikay silkhnthwrrkh eriykkhxmulwnthi 21 thnwakhm 2555brrnanukrmphcnanukrmsphthsasnasakl xngkvs ithy chbbrachbnthitysthan phimphkhrngthi 3 xngkhkarkhakhxngkhuruspha 2552 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a first immi last help