ปูมะพร้าว | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Arthropoda |
ไฟลัมย่อย: | Crustacea |
ชั้น: | |
อันดับใหญ่: | |
อันดับ: | Decapoda |
อันดับย่อย: | |
อันดับฐาน: | Anomura |
วงศ์ใหญ่: | Paguroidea |
วงศ์: | Coenobitidae |
สกุล: | Birgus , 1816 |
สปีชีส์: | B. latro |
ชื่อทวินาม | |
Birgus latro (Linnaeus, 1767) | |
การกระจายตัวของปูมะพร้าว | |
ชื่อพ้อง | |
|
ปูมะพร้าว (อังกฤษ: Coconut crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Birgus latro) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรพอด เป็นสัตว์ที่วิวัฒนาการมาจากปูเสฉวน และเป็นสัตว์ขาปล้องขนาดใหญ่ที่สุดที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน กิตติศัพท์ที่ว่าปูมะพร้าวสามารถเจาะลูกมะพร้าวด้วยอันทรงพลังนั้นเป็นที่รู้จักกันดี ในบางครั้งปูมะพร้าวถูกเรียกว่า ปูปล้น หรือ ปาล์มขโมย (เยอรมัน: Palmendieb) ทั้งนี้เนื่องจากปูมะพร้าวมักจะขโมยข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่ส่องประกาย อย่างเช่น หรือถ้วยสแตนเลส บางคนเรียกปูมะพร้าวว่า ปูเสฉวนบก แต่อันที่จริงนอกจากปูมะพร้าวแล้ว ยังมีปูชนิดอื่นอีกที่จัดได้ว่าเป็นปูเสฉวนบกเช่นกัน นอกจากนี้ ปูมะพร้าวอาจมีชื่อเรียกต่างกันไปอีกในแต่ละที่ เช่น ที่เกาะกวม เรียกปูมะพร้าวว่า อายูยู
ลักษณะทางกายภาพ
ขนาดตัวของปูมะพร้าวนั้นหลากหลาย ของปูมะพร้าวสามารถเจริญเติบโตจนมีน้ำหนัก 4 กิโลกรัม และความยาวของลำตัว 40 เซนติเมตร แต่ถ้านับรวมช่วงขาแล้วจะยาวถึง 1 เมตรได้ทีเดียว โดยทั่วไปตัวผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย มีรายงานว่ามีการพบปูมะพร้าวที่หนักถึง 17 กิโลกรัม และมีความยาวของลำตัว 1 เมตร ซึ่งเป็นที่เชื่อว่านี่คือขนาดตัวที่ใหญ่ที่สุดที่เป็นไปได้ของสัตว์ขาปล้องที่อยู่บนบก ปูมะพร้าวมีอายุประมาณ 30-60 ปี
ลำตัวของปูมะพร้าวก็เหมือนกับทั่วไป คือประกอบด้วย (เซฟาโลโทแรกซ์) และ ที่มี 10 ขา ขาคู่หน้าสุดของปูมะพร้าวเป็นก้ามขนาดใหญ่ ใช้สำหรับเจาะลูกมะพร้าว และสามารถยกน้ำหนักได้ถึง 29 กิโลกรัม ขาอีกสามคู่ถัดมามีลักษณะคล้ายแหนบ ใช้สำหรับเดินและปีนป่าย (ปูมะพร้าวสามารถใช้ขาทั้งสามคู่นี้ไต่ต้นมะพร้าวได้สูงถึง 6 เมตร) ส่วนขาคู่สุดท้ายนั้นเล็กมาก ใช้สำหรับทำความสะอาดอวัยวะหายใจ ขาคู่นี้มักจะอยู่ในตรงช่องที่บรรจุอวัยวะหายใจ
แม้ปูมะพร้าวจะวิวัฒนาการมาจากปูเสฉวน แต่มีเพียงตัวอ่อนของปูมะพร้าวเท่านั้นที่ต้องการเปลือกหอยมาปกป้องส่วนท้อง ตัวเต็มวัยของปูมะพร้าวสามารถสร้างส่วนท้องที่แข็งแรงขึ้นได้ด้วยไคติน และ เปลือกแข็งที่ส่วนท้องนี้ช่วยป้องกันอันตรายและลดการเสียน้ำบนพื้นดิน ปูมะพร้าวจะลอกคราบเปลือกแข็งนี้ทุก ๆ ช่วงเวลาหนึ่ง (ประมาณ 1 ปี) การลอกคราบครั้งหนึ่งใช้เวลาประมาณ 30 วัน โดยช่วงที่ลอกคราบเสร็จใหม่ ๆ ส่วนท้องของปูมะพร้าวจะอ่อนแอ และต้องการการป้องกัน
ปูมะพร้าวมีอวัยวะพิเศษสำหรับหายใจ เรียกว่า branchiostegal lung อวัยวะนี้อาจกล่าวได้ว่าเป็นครึ่งครึ่งปอด ตั้งอยู่ด้านหลังของส่วนหัวอก มีเนื้อเยื่อคล้ายเหงือก แต่เนื้อเยื่อนี้ทำหน้าที่จากในอากาศ ไม่ใช่ในน้ำ ปูมะพร้าวมีเหงือกอยู่เหมือนกัน แต่เหงือกนี้ก็ไม่สามารถรับออกซิเจนได้มากนัก จึงไม่มีประโยชน์อะไร เหงือกนี้น่าจะเป็นสิ่งหลงเหลือจากวิวัฒนาการมากกว่า ปูมะพร้าวจึงว่ายน้ำไม่เป็น และอาจจะจมน้ำตายได้ถ้าอยู่ในน้ำนาน ๆ
อาหารการกิน
อาหารหลักของปูมะพร้าวคือผลไม้ โดยเฉพาะมะพร้าว อย่างไรก็ดี อะไรอย่างอื่นที่เป็นชีวภาพ ปูมะพร้าวสามารถกินได้หมด ไม่ว่าจะเป็น ใบไม้ ผลไม้เน่า ไข่เต่า และของสัตว์อื่น ๆ ปูมะพร้าวอาจกินสัตว์อื่นเป็น ๆ ที่เคลื่อนไหวช้า เช่น เต่าทะเลที่เพิ่งออกจากไข่ เป็นต้น บ่อยครั้ง ปูมะพร้าวชอบที่จะขโมยอาหารจากปูมะพร้าวตัวอื่น และเอาอาหารลงไปกินในของมัน
ปูมะพร้าวชอบปีนต้นไม้เพื่อหาอาหาร นอกจากนั้นยังเพื่อหลบร้อนและหลีกภัย บางคนเชื่อว่าปูมะพร้าวตัดลูกมะพร้าวจากต้นแล้วลงมากินที่พื้น แต่นักชีววิทยาชาวเยอรมัน บอกว่าปูมะพร้าวไม่ได้ฉลาดพอที่จะคิดแผนการได้ถึงขนาดนั้น มันเพียงบังเอิญทำลูกมะพร้าวหล่นตอนที่จะกินลูกมะพร้าวบนต้นเท่านั้นเอง
การกระจายตัว
ปูมะพร้าวสามารถพบได้ที่หมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและหมู่เกาะทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก ในมหาสมุทรอินเดียนับได้ว่าเป็นแหล่งอาศัยของปูมะพร้าวที่ใหญ่และสมบูรณ์ที่สุด หมู่เกาะคุกในมหาสมุทรแปซิฟิกก็นับว่ามีปูมะพร้าวจำนวนมากไม่แพ้กัน นอกจากนี้ปูมะพร้าวยังพบได้ที่อื่นอีก เช่น ในเซเชลส์ เป็นต้น การกระจายตัวของปูมะพร้าวสามารถแสดงคร่าว ๆ ได้ดังรูปด้านขวามือ
ลักษณะสีของปูมะพร้าวจะต่างกันไปตามแต่ละเกาะ ตั้งแต่สีม่วงอ่อน สีม่วงเข้ม ไปจนถึงสีน้ำตาล เนื่องจากปูมะพร้าวว่ายน้ำได้เฉพาะช่วงที่เป็นตัวอ่อนเท่านั้น และช่วงที่ตัวอ่อนของปูมะพร้าวมีระยะเวลาเพียง 28 วัน จึงสันนิษฐานว่าการกระจายของปูมะพร้าวจากเกาะหนึ่งไปสู่อีกเกาะหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ น่าจะเป็นด้วยวิธีเกาะขอนไม้ หรือสิ่งอื่นที่ลอยได้ มากกว่าจะว่ายน้ำไป
การกระจายตัวในรูปพบว่ามีช่องว่างที่ช่วงเกาะบอร์เนียว และปาปัวนิวกินี คาดว่าที่ไม่มีปูมะพร้าวอยู่บนเกาะเหล่านี้เป็นเพราะปูมะพร้าวถูกมนุษย์จับกินหมดแล้วนั่นเอง
ปูมะพร้าวในประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2542 เรือสำรวจแหล่งปลาทูน่าในของกรมประมง เมื่อเดินทางไปสำรวจมหาสมุทรอินเดียแล้ว ได้นำปูมะพร้าวจำนวน 23 ตัว จาก ประเทศเซเชลส์ กลับมาประเทศไทยด้วย โดยเป็นตัวผู้ 4 ตัว และตัวเมีย 19 ตัว ซึ่งตอนนี้เลี้ยงไว้ที่สถาบันวิจัยชีววิทยาและประมงทะเล จังหวัดภูเก็ต
ในปลายปี พ.ศ. 2557 มีรายงานการพบปูมะพร้าวคู่แม่ลูก 3 ตัวด้วยกัน ที่เกาะสี่ ภายในหมู่เกาะสิมิลัน นับเป็นการกลับมาอีกครั้งของปูมะพร้าวในรอบนับ 10 ปี บ่งบอกว่ามีการแพร่ขยายพันธุ์อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการอนุรักษ์ธรรมชาติ
อ้างอิง
- จาก IUCN
- talaythai.com การกลับมาของ...ปูมะพร้าว 2007-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- เรื่องเล่าเช้านี้ พบปูมะพร้าวขนาดยักษ์ใกล้สูญพันธ์ที่สิมิลัน (09 ธ.ค.57) จากเรื่องเล่าเช้านี้
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Birgus latro ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
pumaphrawsthanakarxnurksimmikhxmul IUCN 2 3 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Arthropodaiflmyxy Crustaceachn xndbihy xndb Decapodaxndbyxy xndbthan Anomurawngsihy Paguroideawngs Coenobitidaeskul Birgus 1816spichis B latrochuxthwinamBirgus latro Linnaeus 1767 karkracaytwkhxngpumaphrawchuxphxngCancer latro Linnaeus 1767 pumaphrawkhnaxyubnphun pumaphraw xngkvs Coconut crab chuxwithyasastr Birgus latro cdxyuinpraephthstwimmikraduksnhlng iflmxarothrphxd epnstwthiwiwthnakarmacakpueschwn aelaepnstwkhaplxngkhnadihythisudthixasyxyubnphundin kittisphththiwapumaphrawsamarthecaalukmaphrawdwyxnthrngphlngnnepnthiruckkndi inbangkhrngpumaphrawthukeriykwa pupln hrux palmkhomy eyxrmn Palmendieb thngnienuxngcakpumaphrawmkcakhomykhawkhxngekhruxngichphayinbanthisxngprakay xyangechn hruxthwysaetnels bangkhneriykpumaphrawwa pueschwnbk aetxnthicringnxkcakpumaphrawaelw yngmipuchnidxunxikthicdidwaepnpueschwnbkechnkn nxkcakni pumaphrawxacmichuxeriyktangknipxikinaetlathi echn thiekaakwm eriykpumaphrawwa xayuyulksnathangkayphaphkhnadtwkhxngpumaphrawnnhlakhlay khxngpumaphrawsamarthecriyetibotcnminahnk 4 kiolkrm aelakhwamyawkhxnglatw 40 esntiemtr aetthanbrwmchwngkhaaelwcayawthung 1 emtridthiediyw odythwiptwphucamikhnadihykwatwemiy miraynganwamikarphbpumaphrawthihnkthung 17 kiolkrm aelamikhwamyawkhxnglatw 1 emtr sungepnthiechuxwanikhuxkhnadtwthiihythisudthiepnipidkhxngstwkhaplxngthixyubnbk pumaphrawmixayupraman 30 60 pi latwkhxngpumaphrawkehmuxnkbthwip khuxprakxbdwy esfaolothaerks aela thimi 10 kha khakhuhnasudkhxngpumaphrawepnkamkhnadihy ichsahrbecaalukmaphraw aelasamarthyknahnkidthung 29 kiolkrm khaxiksamkhuthdmamilksnakhlayaehnb ichsahrbedinaelapinpay pumaphrawsamarthichkhathngsamkhuniittnmaphrawidsungthung 6 emtr swnkhakhusudthaynnelkmak ichsahrbthakhwamsaxadxwywahayic khakhunimkcaxyuintrngchxngthibrrcuxwywahayic aempumaphrawcawiwthnakarmacakpueschwn aetmiephiyngtwxxnkhxngpumaphrawethannthitxngkarepluxkhxymapkpxngswnthxng twetmwykhxngpumaphrawsamarthsrangswnthxngthiaekhngaerngkhuniddwyikhtin aela epluxkaekhngthiswnthxngnichwypxngknxntrayaelaldkaresiynabnphundin pumaphrawcalxkkhrabepluxkaekhngnithuk chwngewlahnung praman 1 pi karlxkkhrabkhrnghnungichewlapraman 30 wn odychwngthilxkkhrabesrcihm swnthxngkhxngpumaphrawcaxxnaex aelatxngkarkarpxngkn pumaphrawmixwywaphiesssahrbhayic eriykwa branchiostegal lung xwywanixacklawidwaepnkhrungkhrungpxd tngxyudanhlngkhxngswnhwxk mienuxeyuxkhlayehnguxk aetenuxeyuxnithahnathicakinxakas imichinna pumaphrawmiehnguxkxyuehmuxnkn aetehnguxknikimsamarthrbxxksiecnidmaknk cungimmipraoychnxair ehnguxkninacaepnsinghlngehluxcakwiwthnakarmakkwa pumaphrawcungwaynaimepn aelaxaccacmnatayidthaxyuinnanan xaharkarkinxaharhlkkhxngpumaphrawkhuxphlim odyechphaamaphraw xyangirkdi xairxyangxunthiepnchiwphaph pumaphrawsamarthkinidhmd imwacaepn ibim phlimena ikheta aelakhxngstwxun pumaphrawxackinstwxunepn thiekhluxnihwcha echn etathaelthiephingxxkcakikh epntn bxykhrng pumaphrawchxbthicakhomyxaharcakpumaphrawtwxun aelaexaxaharlngipkininkhxngmn pumaphrawchxbpintnimephuxhaxahar nxkcaknnyngephuxhlbrxnaelahlikphy bangkhnechuxwapumaphrawtdlukmaphrawcaktnaelwlngmakinthiphun aetnkchiwwithyachaweyxrmn bxkwapumaphrawimidchladphxthicakhidaephnkaridthungkhnadnn mnephiyngbngexiythalukmaphrawhlntxnthicakinlukmaphrawbntnethannexngkarkracaytwpumaphrawsamarthphbidthihmuekaainmhasmuthrxinediyaelahmuekaathangtawntkkhxngmhasmuthraepsifik inmhasmuthrxinediynbidwaepnaehlngxasykhxngpumaphrawthiihyaelasmburnthisud hmuekaakhukinmhasmuthraepsifikknbwamipumaphrawcanwnmakimaephkn nxkcaknipumaphrawyngphbidthixunxik echn inesechls epntn karkracaytwkhxngpumaphrawsamarthaesdngkhraw iddngrupdankhwamux lksnasikhxngpumaphrawcatangkniptamaetlaekaa tngaetsimwngxxn simwngekhm ipcnthungsinatal enuxngcakpumaphrawwaynaidechphaachwngthiepntwxxnethann aelachwngthitwxxnkhxngpumaphrawmirayaewlaephiyng 28 wn cungsnnisthanwakarkracaykhxngpumaphrawcakekaahnungipsuxikekaahnungthixyuikl nacaepndwywithiekaakhxnim hruxsingxunthilxyid makkwacawaynaip karkracaytwinrupphbwamichxngwangthichwngekaabxreniyw aelapapwniwkini khadwathiimmipumaphrawxyubnekaaehlaniepnephraapumaphrawthukmnusycbkinhmdaelwnnexngpumaphrawinpraethsithyinpi ph s 2542 eruxsarwcaehlngplathunainkhxngkrmpramng emuxedinthangipsarwcmhasmuthrxinediyaelw idnapumaphrawcanwn 23 tw cak praethsesechls klbmapraethsithydwy odyepntwphu 4 tw aelatwemiy 19 tw sungtxnnieliyngiwthisthabnwicychiwwithyaaelapramngthael cnghwdphuekt inplaypi ph s 2557 mirayngankarphbpumaphrawkhuaemluk 3 twdwykn thiekaasi phayinhmuekaasimiln nbepnkarklbmaxikkhrngkhxngpumaphrawinrxbnb 10 pi bngbxkwamikaraephrkhyayphnthuxnepnphlsubenuxngmacakkarxnurksthrrmchatixangxingcakIUCN talaythai com karklbmakhxng pumaphraw 2007 09 27 thi ewyaebkaemchchin eruxngelaechani phbpumaphrawkhnadyksiklsuyphnththisimiln 09 th kh 57 cakeruxngelaechani wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Birgus latroaehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb Birgus latro thiwikispichis