ปรัชญาเกาหลี มุ่งเน้นไปที่โลกทัศน์บางแง่มุมของ ลัทธิมู-กโย, พุทธศาสนา และ ลัทธิขงจื่อใหม่ ซึ่งถูกรวมเข้าเป็นปรัชญาเกาหลี ความคิดดั้งเดิมของเกาหลีได้รับอิทธิพลจากระบบความคิดทางปรัชญาและศาสนามาเป็นเวลาหลายปี แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตในเกาหลี ได้แก่ ลัทธิมู-กโย, ลัทธิเต๋า, พุทธศาสนา, ลัทธิขงจื่อ และขบวนการซิลฮัก ซึ่งได้กำหนดวิถีชีวิตและความคิดของชาวเกาหลี
พุทธศาสนา
นักคิดชาวพุทธของเกาหลี ได้นำแนวคิดที่มาจากประเทศจีนซึ่งมีรูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ ยุคสามอาณาจักรของเกาหลี พุทธศาสนาได้รับความนิยมในแถบตะวันตกและได้เผยแผ่ไปยังประเทศญี่ปุ่น พุทธศาสนาแบบเกาหลีส่วนใหญ่เป็นนิกายซอน ซึ่งรับมาจากพุทธศาสนาฉาน (เซน) จากจีนและได้นำพุทธศาสนานิกายเซนให้เป็นที่รู้จักกันในโลกตะวันตกผ่านญี่ปุ่น
วัดทางพุทธศาสนา สามารถพบได้ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาหลี วัดหลายแห่งถือเป็นสมบัติประจำชาติของเกาหลีใต้
ลัทธิขงจื่อ
หนึ่งในอิทธิพลที่เป็นแก่นสารที่สุดในประวัติศาสตร์ความคิดของเกาหลี คือ การนำแนวคิดของลัทธิขงจื่อมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมจากประเทศจีน วันนี้มรดกของลัทธิขงจื่อยังคงเป็นพื้นฐานสำคัญของ สังคมเกาหลี การสร้างระบบคุณธรรมอันเป็นวิถีชีวิตในความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้อาวุโสกับผู้เยาว์ และวัฒนธรรมระดับสูง แต่กระนั้นลัทธิขงจื่อก็สามารถดำรงอยู่ได้ภายใต้ความเป็นสมัยใหม่ของระบบกฎหมาย
สำนักความคิดในสมัยโชซอน
ราชวงศ์นี้เกิดขึ้นจากระบอบเผด็จการทหารและความวุ่นวายในยุคก่อนหน้า ยุคนี้เป็นการเปลี่ยนผ่านจากพุทธศาสนาเข้าสู่ลัทธิขงจื่อใหม่ มีการเขียนผลงานจำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งความคิดเห็น และสำนักจูซี เป็นตัวแทนยุคทองของปรัชญาและศาสนาของเกาหลีอย่างแท้จริง การค้นหาเชิงอภิปรัชญาในเวลานี้ได้ทำการตรวจสอบความสัมพันธ์เชิงเทววิทยาระหว่างธรรมชาติดั้งเดิม (이 - อี) กับ ลักษณะทางกายภาพ (기 - คี) และระหว่างแหล่งกำเนิดทั้งสี่ (사단) กับความรู้สึกทั้งเจ็ด (칠총) ลัทธิขงจื่อแห่งโชซอนแบ่งออกเป็นสองสำนักหลัก ได้แก่ : "สำนักพลัง" และ "สำนักหลักการ" ฮวาดัม (Suh Kyungduk, 1489-1546) ผู้ซึ่งเป็นนักปรัชญา ได้นำ "ธรรมชาติดั้งเดิม" (อี) กับ "ลักษณะทางกายภาพ" (คี) มารวมกันและกล่าวถึงการประสานกลมกลืนที่ยิ่งใหญ่ (대화 - แทฮวา)
ในการถกเถียงเรื่องพลังทั้งสี่และอารมณ์ทั้งเจ็ดกับคีแดซอง, ทอ-กฺเย (Yi Hwang, 1501 - 70) ในขณะที่การดำรงอยู่ยังคงเป็นสิ่งตรงกันข้าม โดยแยกตัวออกจากจูซี โดยสนับสนุนแหล่งกำเนิด (호발 - โฮบัล) ของธรรมชาติดั้งเดิม (이 - อี) และลักษณะทางกายภาพ (기 - คี) ที่ให้อิทธิพลซึ่งกันและกัน เมื่อธรรมชาติดั้งเดิมถือกำเนิดขึ้น ก็จะทำให้เกิดลักษณะทั้งสี่ เมื่อลักษณะทั้งสี่หลั่งไหลออกมา ก็จะทำให้เกิดอารมณ์ทั้งเจ็ด ธรรมชาติดั้งเดิมทำให้เกิดลักษณะทางกายภาพ แม้ว่าเขาจะวิจารณ์แนวคิดของทอ-กฺเย ที่ว่าลักษณะทางกายภาพเกิดจากธรรมชาติดั้งเดิมซึ่งดำรงอยู่ภายใต้สภาวะตรงข้าม แต่กระนั้นยุล-กก - 율곡 (Yi I, 1536 - 84) ยังคงใช้ความคิดของเขาที่ว่า "ธรรมชาติดั้งเดิมทำให้เกิดลักษณะทางกายภาพ" มีเพียงลักษณะทางกายภาพเท่านั้นที่ไหลออกมาได้ และธรรมชาติดั้งเดิมจะเคลื่อนย้ายออกมาจากแหล่งกำเนิด ธรรมชาติดั้งเดิมและลักษณะทางกายภาพไม่ใช่ทั้ง "สองสิ่ง" หรือ "สิ่งเดียว" ตามที่ปรากฏในตำรา "การรวมตัวอย่างมหัศจรรย์' (묘합 - มฺโย-ฮับ) สำหรับยุล-กก ธรรมชาติดั้งเดิม (อี) และลักษณะทางกายภาพ (คี) รวมกันเป็นธรรมชาติของมนุษย์เพียงหนึ่งเดียว ความคิดของทอ-กฺเย และ ยุล-กก ถูกหลอมรวมเข้าด้วยกันอย่างลงตัว และกลายเป็นจุดสุดยอดของลัทธิขงจื่อใหม่แห่งเอเชียตะวันออกโดยแสดงความชำนาญทางด้านวิภาษวิธีในการเชื่อมโยงแนวคิดของธรรมชาติดั้งเดิมและลักษณะทางกายภาพ ซึ่งขยายความได้ชัดเจนกว่าของจีน
ทอ-กฺเย ได้พัฒนาแนวคิดของนักขงจื่อใหม่ในเรื่องความใจกว้างหนึ่งเดียว (경 - คยฺอง) ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นมนุษย์ที่ชัดเจน ดังที่ได้แสดงโดยการปฏิเสธทั้งหมดของอาณัติของสวรรค์ (준명 - ชุน-มยฺอง) ซึ่งยังคงยึดถือหลักการของจีนอันรวมไปถึงจูซี หลักการคยฺองของทอ-กฺเย ได้นำความรู้สึกจงรักภักดีอย่างเข้มข้นและความพยายามสูงสุด (치성 - ชีซอง) ของเกาหลียุคแรกมาสังเคราะห์เข้ากับแนวคิดการถือครองใจ (직경 - จี-คยฺอง) ของลัทธิขงจื่อ เขาได้สนับสนุนความพยายามในตนเองเพื่อการสร้างชีวิตที่มีความหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดความใจกว้างหนึ่งเดียวซึ่งต่อมาได้ให้อิทธิพลต่อนักขงจื่อใหม่ชาวญี่ปุ่นในยุคโทขุงาวะ
นักขงจื่อใหม่ชาวเกาหลีส่วนมากได้แบ่งปันความหมกมุ่นของทอ-กฺเยด้วยความใจกว้างเพียงหนึ่งเดียวซึ่งส่งสัญญาณการตอกย้ำเกี่ยวกับความจริงในการพัฒนาของลัทธิขงจื่อใหม่แบบเกาหลี การหลอมรวมแนวคิดทางอภิปรัชญาและทางกายภาพ เป็นการนำมาปฏิบัติผ่านความคิด ซึ่งสำคัญเทียบเท่ากับตัวทฤษฎี นี่เป็นประเด็นของการบูรณาการความจริงใจ (성 - ซอง) ด้วยความใจกว้างหนึ่งเดียวของยุล-กก ในแง่นี้ลัทธิขงจื่อใหม่แบบเกาหลีได้ทำลายหลักการดั้งเดิมของสำนักเฉิง-จูแห่งลัทธิขงจื่อใหม่แบบจีน ซึ่งเน้นการคาดเดามากเกินไป
ในยุคโชซอนตอนปลาย ขบวนการซิลฮักซึ่งเป็นรูปแบบของลัทธิขงจื่อใหม่ได้ปรากฎออกมา หนึ่งในนักปรัชญา ซิลฮักที่โดดเด่นที่สุด คือ ชองยักยง
ปรัชญาตะวันตกในเกาหลีช่วงปี ค.ศ.1890-1945
ผู้ที่ไปศึกษาในญี่ปุ่นส่วนมาก พอกลับมาก็มีความรู้ทางด้านปรัชญาตะวันตกที่จำกัด แม้ว่าอิทธิพลการศึกษาของเยอรมันในญี่ปุ่นนำไปสู่การเริ่มต้นที่จะสนใจในนักคิดอุดมคตินิยมชาวเยอรมันในเกาหลีโดยผ่านความรู้ทางอ้อม ยกเว้น คาร์ล มากซ์ ฟรีเดอริช เฮเกล และนักวิภาษวิธี
อิทธิพลอันแข็งแกร่งของศาสนาคริสต์ในช่วงที่คริสตจักรเสื่อมลง มีการนำปรัชญาอเมริกันรูปแบบ YMCA ในทางปฏิบัติที่เข้ามาสู่เกาหลีตั้งแต่ยุคทศวรรษ 1890 โดยผ่านทางโรงเรียนมิชชันนารี การอภิปรายเกี่ยวกับศาสนาคริสต์แบบเกาหลี และ ปรัชญาคริสต์แบบเกาหลี นั้นมีความซับซ้อนในหลายแผนก และมีการโต้เถียงกันในตัวบทอื่น ๆ
ปรัชญาในเกาหลีถูกแบ่งออกโดยโรงเรียนแบบตะวันตกตามประเภทของความเชื่อแบบเสรีนิยมก้าวหน้าที่หลากหลายที่เน้นการผสมผสานในภาคปฏิบัติในภาคใต้ด้วยการเปลี่ยนแปลงที่ผันแปรอย่างมากจากลัทธิเผด็จการที่เข้มงวดจนกลายมาเป็นวิธีการปฏิบัติที่เรียบง่ายและนุ่มนวลกว่าตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 1990
ปรัชญาในเกาหลีเหนือ หลังปี 1945
ในยุคสาธารณรัฐ (หลังปี ค.ศ.1945), ลัทธิมาร์กซ์ - เลนิน ในเกาหลีเหนือถูกสร้างขึ้นโดยชนชั้นยังบันผู้ซึ่งเป็นนักรบและนักวิชาการขงจื่อในยุคแรก ซึ่งถูกนำมาใช้เป็นระบอบเผด็จการแบบสุดโต่ง
แนวคิด "The Red Banner Spirit" มีอิทธิพลหลักในเกาหลีเหนือมาตั้งแต่ปี 1996 ระบบความเชื่อนี้สนับสนุนให้ชาวเกาหลีเหนือสร้าง "คังซง แทกุก" (강송 대국) ซึ่งเป็นรัฐป้อมปราการที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองและความภักดีอย่างแท้จริงต่อผู้นำ (수령) ปรัชญานี้ถูกสร้างขึ้นโดย "นายพลสามคนของ Mt.แพ็คทู (팩트) ซึ่งหมายถึง คิมจองอิล อดีตผุู้นำเกาหลีเหนือ และคิมอิลซองผู้ซึ่งเป็นบิดา และ คิมจองซุก ผู้ซึ่งเป็นมารดาของคิมจองอิล ในหัวข้อนี้มีผุู้รู้เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ทางปรัชญาอันน้อยนิด แต่ดูเหมือนว่าจะนำอุดมการณ์ชาตินิยมที่ปลูกฝังตั้งแต่ระดับครอบครัวมาแทนที่ลัทธิมากซ์
รายชื่อนักปรัชญา
นักปรัชญาพุทธ
- ซึงนัง (ประมาณศตวรรษที่ 6)
- วอนชุก (613 – 696)
- วอน-ฮฺโย (617 – 686)
- อึยซาง (625 – 702)
- คยฺู-นยฺอ (923 – 973)
- อึยชอน (1055 – 1101)
- ชีนุล (1158 – 1210)
นักปรัชญาขงจื่อใหม่
- ชอง มง-จู (1338 – 1392)
- ชอง โด-จอน (1342 – 1398)
- ซอ กยอง-ด็อก (1489 – 1546)
- อี ออน-จ็อก (1491 – 1553)
- โช ซิก (1501 – 1572)
- อี ฮวาง (1501 – 1570)
- อี อี (1536 – 1584)
- ชอง เจ-ดู (1649 – 1736)
- ชอง ยัก-ยง (1762 – 1836)
- คิม จอง-ฮุย (1786 – 1856)
นักปรัชญาเต๋า
- ซฮ กยอง-ด็อก (1489 – 1546)
- ฮอ กยุน (1569 – 1618)
- คิม ซี-ซึบ (1435 – 1493)
- อิม ยุนจีดัง (1721 – 1793)
- ชอน บยอง ฮุน (1857 – 1927)
สมัยโชซอน
รายชื่อเหล่านี้แสดงตาม นามปากกา ที่ใช้บ่อยที่สุด ตามด้วย ชื่อเกิด
- ยอฮอน ชาง ฮยอน-กวาง (1554–1637)
- ฮากก ชอง เจ-ดู (1649–1736)
- อูดัม ชอง ซี-ฮัน (1625–1707)
- ซัมบง ชอง โด-จอน (1337–1398)
- ดาซาน ชอง ยัก-ยง (1762–1836)
- นัมดัง ฮัน วอน-จิน (1682–1750)
- ดัมฮอน ฮง แท-ยง (1731-1783)
- โนซา คี จอง-จิน (1798–1876)
- โคบง คี แด-ซึง (1527-1572)
- ฮาซอ คิม อิน-ฮู (1511–1560)
- แมวอลดัง คิม ซี-ซึบ (1435–1493)
- ยางชน ควอน กึน (1352–1409)
- ยอนัม พัค จี-วอน (1737–1805)
- ซอ-กเย พัค เซ-ดัง (1629–1703)
- ฮวาดัม ซอ กยอง-ด็อก (1489–1546)
- อู-กเย ซอง ฮอน (1535–1598)
- อูอัม ซง ซี-ยอล (1607–1689)
- ฮันจู อี จิน-ซาง (1818–1885)
- ฮวาซอ อี ฮาง-โน (1792–1868)
- ทอ-กเย อี ฮวาง (1501–1570)
- ยุลกก อี อี (1536–1584)
- ซองโฮ อี อิก (1681–1763)
- พัน-กเย ยู ฮยอง-วอน (1622–1673)
- แพ็ค-โฮ ยุน ฮยู (1617–1680)
ดูเพิ่มเติม
- ซิลฮัก
- ซอฮัก
- ทงฮัก
- มินจก
- จูเช
- ซอนกุน
- ธาตุแท้ - หน้าที่ (體用)
- ลัทธิเต๋าแบบเกาหลี
- พุทธศาสนาแบบเกาหลี
- ลัทธิขงจื่อแบบเกาหลี
- รวมรายชื่อนักปรัชญาเกาหลี
- รวมหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเกาหลี
- วัฒนธรรมร่วมสมัยของเกาหลีใต้
- ศาสนาในเกาหลี
- ซอนบี
อ้างอิง
- Choi, Min Hong (1978), A Modern History of Korean Philosophy, Seoul : Seong Moon Sa.
- DeBary, Theodore (ed.), The Rise of Neo-Confucianism in Korea, New York: Columbia University Press, 1985.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
prchyaekahli mungennipthiolkthsnbangaengmumkhxng lththimu koy phuththsasna aela lththikhngcuxihm sungthukrwmekhaepnprchyaekahli khwamkhiddngedimkhxngekahliidrbxiththiphlcakrabbkhwamkhidthangprchyaaelasasnamaepnewlahlaypi aenwkhidthimixiththiphltxkardarngchiwitinekahli idaek lththimu koy lththieta phuththsasna lththikhngcux aelakhbwnkarsilhk sungidkahndwithichiwitaelakhwamkhidkhxngchawekahliphuththsasnawdaehxinsa epnwdthangphuththsasnain mnthlkhy xngsngit nkkhidchawphuththkhxngekahli idnaaenwkhidthimacakpraethscinsungmirupaebbthiepnexklksn yukhsamxanackrkhxngekahli phuththsasnaidrbkhwamniyminaethbtawntkaelaidephyaephipyngpraethsyipun phuththsasnaaebbekahliswnihyepnnikaysxn sungrbmacakphuththsasnachan esn cakcinaelaidnaphuththsasnanikayesnihepnthiruckkninolktawntkphanyipun wdthangphuththsasna samarthphbidinphunthiswnihykhxngekahli wdhlayaehngthuxepnsmbtipracachatikhxngekahliitlththikhngcuxhnunginxiththiphlthiepnaeknsarthisudinprawtisastrkhwamkhidkhxngekahli khux karnaaenwkhidkhxnglththikhngcuxmaichepnswnhnungkhxngkaraelkepliynthangwthnthrrmcakpraethscin wnnimrdkkhxnglththikhngcuxyngkhngepnphunthansakhykhxng sngkhmekahli karsrangrabbkhunthrrmxnepnwithichiwitinkhwamsmphnththangsngkhmrahwangphuxawuoskbphueyaw aelawthnthrrmradbsung aetkrannlththikhngcuxksamarthdarngxyuidphayitkhwamepnsmyihmkhxngrabbkdhmaysankkhwamkhidinsmyochsxnrachwngsniekidkhuncakrabxbephdckarthharaelakhwamwunwayinyukhkxnhna yukhniepnkarepliynphancakphuththsasnaekhasulththikhngcuxihm mikarekhiynphlngancanwnmakodyechphaaxyangyingkhwamkhidehn aelasankcusi epntwaethnyukhthxngkhxngprchyaaelasasnakhxngekahlixyangaethcring karkhnhaechingxphiprchyainewlaniidthakartrwcsxbkhwamsmphnthechingethwwithyarahwangthrrmchatidngedim 이 xi kb lksnathangkayphaph 기 khi aelarahwangaehlngkaenidthngsi 사단 kbkhwamrusukthngecd 칠총 lththikhngcuxaehngochsxnaebngxxkepnsxngsankhlk idaek sankphlng aela sankhlkkar hwadm Suh Kyungduk 1489 1546 phusungepnnkprchya idna thrrmchatidngedim xi kb lksnathangkayphaph khi marwmknaelaklawthungkarprasanklmklunthiyingihy 대화 aethhwa inkarthkethiyngeruxngphlngthngsiaelaxarmnthngecdkbkhiaedsxng thx k ey Yi Hwang 1501 70 inkhnathikardarngxyuyngkhngepnsingtrngknkham odyaeyktwxxkcakcusi odysnbsnunaehlngkaenid 호발 ohbl khxngthrrmchatidngedim 이 xi aelalksnathangkayphaph 기 khi thiihxiththiphlsungknaelakn emuxthrrmchatidngedimthuxkaenidkhun kcathaihekidlksnathngsi emuxlksnathngsihlngihlxxkma kcathaihekidxarmnthngecd thrrmchatidngedimthaihekidlksnathangkayphaph aemwaekhacawicarnaenwkhidkhxngthx k ey thiwalksnathangkayphaphekidcakthrrmchatidngedimsungdarngxyuphayitsphawatrngkham aetkrannyul kk 율곡 Yi I 1536 84 yngkhngichkhwamkhidkhxngekhathiwa thrrmchatidngedimthaihekidlksnathangkayphaph miephiynglksnathangkayphaphethannthiihlxxkmaid aelathrrmchatidngedimcaekhluxnyayxxkmacakaehlngkaenid thrrmchatidngedimaelalksnathangkayphaphimichthng sxngsing hrux singediyw tamthipraktintara karrwmtwxyangmhscrry 묘합 m oy hb sahrbyul kk thrrmchatidngedim xi aelalksnathangkayphaph khi rwmknepnthrrmchatikhxngmnusyephiynghnungediyw khwamkhidkhxngthx k ey aela yul kk thukhlxmrwmekhadwyknxyanglngtw aelaklayepncudsudyxdkhxnglththikhngcuxihmaehngexechiytawnxxkodyaesdngkhwamchanaythangdanwiphaswithiinkarechuxmoyngaenwkhidkhxngthrrmchatidngedimaelalksnathangkayphaph sungkhyaykhwamidchdecnkwakhxngcin thx k ey idphthnaaenwkhidkhxngnkkhngcuxihmineruxngkhwamickwanghnungediyw 경 khy xng sungepnkaraesdngxxkthungkhwamepnmnusythichdecn dngthiidaesdngodykarptiesththnghmdkhxngxantikhxngswrrkh 준명 chun my xng sungyngkhngyudthuxhlkkarkhxngcinxnrwmipthungcusi hlkkarkhy xngkhxngthx k ey idnakhwamrusukcngrkphkdixyangekhmkhnaelakhwamphyayamsungsud 치성 chisxng khxngekahliyukhaerkmasngekhraahekhakbaenwkhidkarthuxkhrxngic 직경 ci khy xng khxnglththikhngcux ekhaidsnbsnunkhwamphyayamintnexngephuxkarsrangchiwitthimikhwamhmay odyechphaaxyangyingaenwkhidkhwamickwanghnungediywsungtxmaidihxiththiphltxnkkhngcuxihmchawyipuninyukhothkhungawa nkkhngcuxihmchawekahliswnmakidaebngpnkhwamhmkmunkhxngthx k eydwykhwamickwangephiynghnungediywsungsngsyyankartxkyaekiywkbkhwamcringinkarphthnakhxnglththikhngcuxihmaebbekahli karhlxmrwmaenwkhidthangxphiprchyaaelathangkayphaph epnkarnamaptibtiphankhwamkhid sungsakhyethiybethakbtwthvsdi niepnpraednkhxngkarburnakarkhwamcringic 성 sxng dwykhwamickwanghnungediywkhxngyul kk inaengnilththikhngcuxihmaebbekahliidthalayhlkkardngedimkhxngsankeching cuaehnglththikhngcuxihmaebbcin sungennkarkhadedamakekinip inyukhochsxntxnplay khbwnkarsilhksungepnrupaebbkhxnglththikhngcuxihmidprakdxxkma hnunginnkprchya silhkthioddednthisud khux chxngykyngprchyatawntkinekahlichwngpi kh s 1890 1945phuthiipsuksainyipunswnmak phxklbmakmikhwamruthangdanprchyatawntkthicakd aemwaxiththiphlkarsuksakhxngeyxrmninyipunnaipsukarerimtnthicasnicinnkkhidxudmkhtiniymchaweyxrmninekahliodyphankhwamruthangxxm ykewn kharl maks friedxrich ehekl aelankwiphaswithi xiththiphlxnaekhngaekrngkhxngsasnakhristinchwngthikhristckresuxmlng mikarnaprchyaxemriknrupaebb YMCA inthangptibtithiekhamasuekahlitngaetyukhthswrrs 1890 odyphanthangorngeriynmichchnnari karxphiprayekiywkbsasnakhristaebbekahli aela prchyakhristaebbekahli nnmikhwamsbsxninhlayaephnk aelamikarotethiyngknintwbthxun prchyainekahlithukaebngxxkodyorngeriynaebbtawntktampraephthkhxngkhwamechuxaebbesriniymkawhnathihlakhlaythiennkarphsmphsaninphakhptibtiinphakhitdwykarepliynaeplngthiphnaeprxyangmakcaklththiephdckarthiekhmngwdcnklaymaepnwithikarptibtithieriybngayaelanumnwlkwatngaetyukhthswrrsthi 1990prchyainekahliehnux hlngpi 1945inyukhsatharnrth hlngpi kh s 1945 lththimarks elnin inekahliehnuxthuksrangkhunodychnchnyngbnphusungepnnkrbaelankwichakarkhngcuxinyukhaerk sungthuknamaichepnrabxbephdckaraebbsudotng aenwkhid The Red Banner Spirit mixiththiphlhlkinekahliehnuxmatngaetpi 1996 rabbkhwamechuxnisnbsnunihchawekahliehnuxsrang khngsng aethkuk 강송 대국 sungepnrthpxmprakarthitngxyubnphunthankhxngkarphungphatnexngaelakhwamphkdixyangaethcringtxphuna 수령 prchyanithuksrangkhunody nayphlsamkhnkhxng Mt aephkhthu 팩트 sunghmaythung khimcxngxil xditphuunaekahliehnux aelakhimxilsxngphusungepnbida aela khimcxngsuk phusungepnmardakhxngkhimcxngxil inhwkhxnimiphuuruekiywkbsingphimphthangprchyaxnnxynid aetduehmuxnwacanaxudmkarnchatiniymthiplukfngtngaetradbkhrxbkhrwmaaethnthilththimaksraychuxnkprchyankprchyaphuthth sungnng pramanstwrrsthi 6 wxnchuk 613 696 wxn h oy 617 686 xuysang 625 702 khy u ny x 923 973 xuychxn 1055 1101 chinul 1158 1210 nkprchyakhngcuxihm chxng mng cu 1338 1392 chxng od cxn 1342 1398 sx kyxng dxk 1489 1546 xi xxn cxk 1491 1553 och sik 1501 1572 xi hwang 1501 1570 xi xi 1536 1584 chxng ec du 1649 1736 chxng yk yng 1762 1836 khim cxng huy 1786 1856 nkprchyaeta sh kyxng dxk 1489 1546 hx kyun 1569 1618 khim si sub 1435 1493 xim yuncidng 1721 1793 chxn byxng hun 1857 1927 smyochsxn raychuxehlaniaesdngtam nampakka thiichbxythisud tamdwy chuxekid yxhxn chang hyxn kwang 1554 1637 hakk chxng ec du 1649 1736 xudm chxng si hn 1625 1707 smbng chxng od cxn 1337 1398 dasan chxng yk yng 1762 1836 nmdng hn wxn cin 1682 1750 dmhxn hng aeth yng 1731 1783 onsa khi cxng cin 1798 1876 okhbng khi aed sung 1527 1572 hasx khim xin hu 1511 1560 aemwxldng khim si sub 1435 1493 yangchn khwxn kun 1352 1409 yxnm phkh ci wxn 1737 1805 sx key phkh es dng 1629 1703 hwadm sx kyxng dxk 1489 1546 xu key sxng hxn 1535 1598 xuxm sng si yxl 1607 1689 hncu xi cin sang 1818 1885 hwasx xi hang on 1792 1868 thx key xi hwang 1501 1570 yulkk xi xi 1536 1584 sxngoh xi xik 1681 1763 phn key yu hyxng wxn 1622 1673 aephkh oh yun hyu 1617 1680 duephimetimsilhk sxhk thnghk minck cuech sxnkun thatuaeth hnathi 體用 lththietaaebbekahli phuththsasnaaebbekahli lththikhngcuxaebbekahli rwmraychuxnkprchyaekahli rwmhwkhxthiekiywkhxngkbekahli wthnthrrmrwmsmykhxngekahliit sasnainekahli sxnbixangxingChoi Min Hong 1978 A Modern History of Korean Philosophy Seoul Seong Moon Sa DeBary Theodore ed The Rise of Neo Confucianism in Korea New York Columbia University Press 1985