จูซี (จีน: 朱熹 18 ตุลาคม 1130 – 23 เมษายน 1200) เป็นนักปรัชญาลัทธิขงจื่อในสมัยราชวงศ์ซ่ง เขาเป็นนักวิชาการที่สอนอย่างมีหลักการและสมเหตุสมผลที่สุด เขาได้เขียนตำราอธิบายคำสอนของขงจื่อไว้ ซึ่งต่อมาเป็นพื้นฐานของระบบราชการจีนและรัฐบาลมานานกว่า 700 ปี
จูซี | |
---|---|
ยุค | |
แนวทาง | ปรัชญาจีน |
ความสนใจหลัก | ปรัชญา、วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ、 |
แนวคิดเด่น | |
ได้รับอิทธิพลจาก
| |
เป็นอิทธิพลต่อ
|
จูซีเป็นชาวตำบลอู้หยวน เมืองฮุยโจว ซึ่งทางตะวันออกของแดนเจียงหนาน(ปัจจุบันคือ มณฑลเจียงซี) เขาเกิดที่ตำบลหลงซี มณฑลฝูเจี้ยน (ปัจจุบันคือ ตำบลหลงไห่ เมืองจางโจว มณฑลฝูเจี้ยน) จูซีมีอีกนามว่า "อาจารย์จื่อหยาง"(紫阳先生) ฉายา "จูเหวินกง"(朱文公) จูซีเป็นนักปรัชญาสำนักหลักการเฉิง-จูในสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ ซึ่งได้รวบรวมตำราสำคัญของสำนักเอาไว้ จึงได้รับการขนานนามว่า "จูจื่อ"
จูซีเป็นลูกศิษย์รุ่นที่สามของเฉิงฮ่าวและเฉิงอี๋ ครอบครัวเขามีฐานะยากจน ทว่าตั้งแต่เด็กเขามีความฉลาดหลักแหลม จึงทำให้เขาสามารถสอบรับราชการในปีที่ 18 ของเมืองเช่าซิงได้ และทำงานรับใช้จักรพรรดิถึง 4 รัชสมัย เขาได้สอนหนังสือที่โรงเรียนอวิ๋นกู่เจี๋ยฉ่าวในเมืองเจี้ยนหยางซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่า "ฮุ่ยอาน"(晦氨) สำนักหลักการได้ตั้งชื่อให้ว่า "วิทยาลัยข่าวถิง" หรือเรียกอีกอย่างว่า "โรงเรียนข่าวถิง"
จูซีได้สนับสนุนทฤษฎีโจวตุนอี๋ โดยสร้างรูปแบบการศึกษาวิจัยทางด้านปรัชญาในสมัยราชวงศ์ซ่ง จนตกผลึกเป็นสำนักหลักการ(理学) และกำหนดให้ "หนังสือสี่เล่ม"(四书) อันได้แก่ "หลุนอวี่"(论语), "เมิ่งจื่อ"(孟子), "ต้าเสว"(大学) และ "จงยง"(中庸) เป็นตำราเรียนหลักเอาไว้สำหรับสอบรับราชการในยุคต่อมา นักวิชาการของจีนเห็นว่าเขาได้สร้างระบบความคิดแบบอุดมคตินิยมอันเป็นภววิสัยที่สมบูรณ์
ประวัติ
จูซีเกิดเมื่อวันที่ 15 เดือน 9 ปีเกิงชู่ รัชศกเจี้ยนเหยียนปีที่ 4 (ค.ศ.1130) สมัยราชวงศ์ซ่ง ที่สำนักฉ่าวแห่งตระกูลเจิ้ง(วิทยาลัยหนานซี) แห่งตำบลโยวซี มณฑลฝูเจี้ยน เขาเป็นลูกหลานรุ่นที่ 9 ของจูหวน(เจ้าของโรงน้ำชา) เดิมเป็นนายทะเบียนแห่งตำบลอู้หยวน เมืองฮุยโจว(เดิมเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลอันฮุย พอปี ค.ศ.1952 ได้ผนวกเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลเจียงซี)
จูซีเข้าศึกษาตั้งแต่ตอนอายุ 5 ขวบ เขาสามารถท่อง "คัมภีร์เซี่ยวจิง"(孝经) ได้ อายุ 18 ปี ... อายุ 19 ปี รับตำแหน่งเป็นขุนนางผู้ช่วยท่านอ๋อง ในเดือนที่ 10 ของรัชศกเช่าซิงปีที่ 5 เขาได้รับตำแหน่งต้ายจื้อ(待制)และชื่อเจี่ยง(侍讲)แห่งสำนักฮว่านจาง ในฤดูใบไม้ผลิของรัชศกเช่าซิงปีที่ 20 (ค.ศ.1149) เขาได้กลับบ้านเกิดร่วมพิธีฝังศพ และกู้คืนที่นามานับร้อยหมู่(亩) โดยอ้างว่าที่นาผืนนี้ใช้จัดพิธีสำหรับโรงน้ำชาของตระกูลจู เมื่ออายุ 22 ปี เขาได้รับตำแหน่งเป็นขุนนางตี๋กงฝ่ายซ้าย(左迪功郎) เขาได้รับนำหน้าที่เป็นนายทะเบียนแห่งตำบลถงอัน เมืองเฉวียนโจว เป็นขุนนางถึง 48 ปี โดยเริ่มเป็นขุนนางท้องถิ่น 9 ปี แล้วรับตำแหน่งชื่อเจี่ยงในราชสำนักเป็นเวลา 40 วัน และรับตำแหน่งเป็นต้ายจื้อแห่งสำนักเป่าเหวิน ในระหว่างนั้นเขาอนุญาตให้เปิดเมืองอู้หยวน แจกอาหารให้ชาวบ้าน 300 ครัวเรือน และได้บูรณะสำนักให้ทันสมัยขึ้น
สำนักหลักการ
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
อาจารย์หูเต้าจิ้งได้กล่าวว่า "จูซีเป็นนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่ค่อนข้างประสบความสำเร็จคนหนึ่งในประวัติศาสตร์จีน"Joseph Needham (李约瑟) ผู้ซึ่งทำงานทางด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติได้ยืนยันความสำเร็จของจูซีว่า "จูซีเป็นบุคคลผู้หนึ่งที่ศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติได้อย่างลึกซึ้ง" เขายังได้ประเมินคุณค่าหลักการของจูซีในการเปรียบเทียบระหว่างเกล็ดหิมะกับหินสีดำซึ่งจูซีได้อธิบายว่าเหตุใดเกล็ดหิมะจึงมีหกแฉก ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเทคโนโลยีในยุคต่อมา โจเซฟ นีดแฮม เห็นว่า "จูซีเป็นคนแรกที่วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของหินได้" ซึ่งนับว่าค้นพบก่อนโลกตะวันตกถึง 400 กว่าปี
แต่กระนั้นจูซีก็ยังขาดการพัฒนาทางด้านคณิตศาสตร์ ดังที่หวงเหรินอวี๋(黄仁宇)ได้กล่าวว่า "หากสำนักหลักการหรือสำนักเต๋ามีการศึกษาสรรพสิ่งที่มากไปกว่านี้(นำสิ่งที่เป็นนามธรรมกับรูปธรรมมารวมกัน) ซึ่งใช้แค่งานศิลปะยืนยัน แต่มิอาจใช้ตัวเลขพิสูจน์ได้" หากผลลัพธ์เป็นดังที่โจเซฟ นีดแฮมได้กล่าวไว้ว่า"จูซีไม่ได้สร้างมโนทัศน์ทางจักรวาลวิทยาแบบนิวตัน แต่ได้สร้างมโนทัศน์ทางจักรวาลวิทยาแบบไอน์สไตน์" นักวิชาการจำนวนมากเห็นว่ามโนทัศน์ทางธรรมชาติของจีนโบราณเป็นอยู่บนฐานแนวคิดหยิน-หยางและธาตุทั้ง 5 ซึ่งขัดขวางความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เมื่อนักปรัชญาจีนได้พยายามอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ มักอ้างปรัชญาธรรมชาติ อย่างเช่น "ไฟฟ้าเกิดจากพลังของหยินและหยาง", "แผ่นดินไหวเกิดจากพลังหยางถูกปกปิด พลังหยินเคลื่อนตัว" ในแง่นี้ถือว่าเป็นแนวคิดของประสบการณ์นิยมและรหัสยนิยมซึ่งแทรกซึมลงไปในระบบทฤษฎีวิทยาศาสตร์ของจีนโบราณ
การศึกษาความจริง
สำหรับจูซีแล้ว "การรักษาหลักการดั้งเดิมของธรรมชาติ และตัดความปรารถนาของมนุษย์" เป็นสาระสำคัญของสำนักขงจื่อ เขาได้กล่าวว่า "คำสอนของปราชญ์ทั้งหลายทั้งปวงนั้น ต้องการให้เราเข้าใจหลักการในธรรมชาติ ละความปรารถนาของตน"
ทฤษฎีทางสังคมการเมืองของสำนักหลักการ เป็นทฤษฎีที่นำลัทธิเต๋ามาปฏิบัติจริงในสังคม จูซีมองว่าคุณค่าของเต๋านั้นมีความหมายแฝงว่า "สามแบบอย่าง ห้าคุณธรรม"(三纲五常) มีเพียงการฝึกตนจนเป็นผู้มีมนุษยธรรม เช่นนี้คุณค่าของลัทธิขงจื่อก็กลายเป็นเสาหลักทางจิตวิญญาณที่แท้จริงของตนเอง ซึ่งนับว่าบรรลุเต๋าแล้ว
ปรัชญาในระบบราชการ
สมัยราชวงศ์หยวน รัชศกหวงชิ่ง ปีที่ 2 (ค.ศ.1313) มีการฟื้นฟูระบบการสอบรับราชการ โดยกำหนดให้ "หนังสือสี่เล่ม" ที่ชำระโดยจูซีเป็นมาตรฐานในการสอบรับราชการเพื่อรับบัณฑิตเข้ามาทำงานในวัง ต่อมาสมัยราชวงศ์หมิง รัชสมัยจักรพรรดิไท่จู่ รัชศกหงอู่ ปีที่ 2 (ค.ศ.1369) ในการสอบรับราชการได้กำหนดให้จูซีเป็น "บรรพบุรุษที่สืบทอดกันมา"(传注为宗)
สมัยราชวงศ์ชิง จักรพรรดิคังซีได้ประกาศสนับสนุนสำนักหลักการว่า "การเข้าใจความถูกต้องอย่างกระจ่างแจ้งทั้งหมด ทำให้เข้าถึงหลักการอันยิ่งใหญ่ได้" ทำให้ "ผู้ที่มีการศึกษาจักไม่กล้าทำให้ตนเองมีความบกพร่อง" รัชสมัยคังซี ปีที่ 51 ได้ยกย่องให้ "จูซีเป็นหนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลที่สุดในโลกตะวันออก" รัชสมัยเฉียนหลง ปีที่ 5 (ค.ศ.1740) มีการประกาศสนับสนุนแนวคิดสำนักเฉิง-จูว่า "แนวคิดของพวกเขาเป็นมรดกตกทอดมาจากขงจื่อ และเมิ่งจื่อ... วิญญูชนยึดมั่นในหลักการ ทรชนเป็นขบถต่อหลักการ ผู้บริหารประเทศพึงยึดหลักการในการปกครอง หากละทิ้งหลักการบ้านเมืองจักเกิดความวุ่นวาย จักต้องนึกถึงผลประโยชน์ของราษฎรเป็นสำคัญ และการรักษาขนบธรรมเนียมเป็นสิ่งจำเป็นในการปกครอง"
ความศรัทธาในศาสนา
การประเมินคุณค่า
ความสำเร็จในการเขียนอักษรจีน
ผลงานชิ้นสำคัญ
อ้างอิง
- 著,《興盛與危機》:“朱熹的深刻之處在於,把孔孟置於正宗,同時又把董仲舒陰陽五行觀、王充對董仲舒的目的論的批判,把張載以及周敦頤、二程的觀點,以及佛學高度一元化的哲學和道家的思辨精神,統統加以整理,小心而細緻地構造出內容精深的新儒學體系。儒學世界觀、方法論薄弱的短處被克服了,歷史經過了一千年。萬物起源皆出於理,理生氣,氣生萬物,理又規定了儒家倫理道德的合理性。理學的出現大大鞏固了儒學在中國封建社會中作為指導思想的地位,使佛、道等學說再也不會動搖它了。宋以後七百年間,理學一直被奉為正統,與宗法一體化結構十分適應,封建王朝的控制能力也增強了。”《興盛與危機•第八章:意識形態結構的系統分析》
- 《朱子文集大全類編》卷一《支派源流》:“一世茶院公諱瓌,字古僚,號舜臣,其先吳郡人。唐廣明間,黃巢作亂,避地歙之黃墩。天中佑中,以刺史陶雅命,總卒三千,戍婺源而督其征賦,巡轄浮梁、德、興、祁門四縣,民賴以安,因家婺源,是為婺源朱氏始祖。”
- 《西山讀書記》卷三十一錄李方子《紫陽年譜》載,“先生幼有異稟,五歲入小學,始誦《孝經》,即了其大義,書八字於其上曰:‘若不如此,便不成人。’間從群兒嬉遊,獨以沙列八卦象,詳觀側玩。又嘗指日問於吏部曰:‘日何所附?’曰:‘附於天’。又問:‘天何所附?’吏部奇之。”
- 《南宋館閣續錄》卷九《官聯》三:“朱熹,字元晦,徽州婺源人。紹興十八年王佐榜同進士出身,治《易》。五年十月 煥章閣待制兼侍講。”
- 王懋竑纂訂,《朱子年譜》,卷一
- 《李約瑟文集》
- 《赫遜河畔談中國歷史》
- 葉曉青:《中國傳統自然觀與近代科學》,自然辯證法通訊編:《科學傳統與文化》,第159—161頁。
- 林文照:《近代科學為什麼沒有在中國產生》,第87頁。
- 當代科學哲學研究中,越來越多的科學哲學家,傾向於把理論是否具有清晰的邏輯結構和可糾錯性,當作科學整體觀的主要特徵,即科學與偽科學的劃界。見著,「興盛與危機」,頁424。
- 普通高中课程标准实验教科书·历史必修·第三册. pp. 第15页. ISBN .
- 《清聖祖實錄》卷二四九
- 《大清高宗純皇帝實錄》卷一二八
อ่านเพิ่ม
- J. Percy Bruce. Chu Hsi and His Masters, Probsthain & Co., London, 1922.
- Daniel K. Gardner. Learning To Be a Sage, University of California Press, Berkeley, 1990. .
- Bruce E. Carpenter. 'Chu Hsi and the Art of Reading' in Tezukayama University Review (Tezukayama daigaku ronshū), Nara, Japan, no. 15, 1977, pp. 13–18. ISSN 0385-7743
- Wing-tsit Chan, Chu Hsi: Life and Thought (1987). .
- Wing-tsit Chan, Chu Hsi: New Studies. University of Hawaii Press: 1989.
- Gedalecia, D (1974). "Excursion Into Substance and Function." Philosophy East and West. vol. 4, 443-451.
- Hoyt Cleveland Tillman, Utilitarian Confucianism: Ch‘en Liang's Challenge to Chu Hsi (1982)
- Wm. Theodore de Bary, Neo-Confucian Orthodoxy and the Learning of the Mind-and-Heart (1981), on the development of Zhu Xi's thought after his death
- Wing-tsit Chan (ed.), Chu Hsi and Neo-Confucianism (1986), a set of conference papers
- Donald J. Munro, Images of Human Nature: A Sung Portrait (1988), an analysis of the concept of human nature in Zhu Xi's thought
แหล่งข้อมูลอื่น
- Zhu Xi and his Calligraphy Gallery at China Online Museum
- Chu Hsi and Divination - Joseph A. Adler
- Stillness & Activity - Joseph A. Adler
- ผลงานของ Zhu Xi ที่โครงการกูเทินแบร์ค
- First part of the Classified Conversations of Master Zhu
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
cusi cin 朱熹 18 tulakhm 1130 23 emsayn 1200 epnnkprchyalththikhngcuxinsmyrachwngssng ekhaepnnkwichakarthisxnxyangmihlkkaraelasmehtusmphlthisud ekhaidekhiyntaraxthibaykhasxnkhxngkhngcuxiw sungtxmaepnphunthankhxngrabbrachkarcinaelarthbalmanankwa 700 picusiyukhaenwthangprchyacinkhwamsnichlkprchya withyasastrthrrmchati aenwkhidednidrbxiththiphlcak khngcux epnxiththiphltx 等 cusiepnchawtablxuhywn emuxnghuyocw sungthangtawnxxkkhxngaedneciynghnan pccubnkhux mnthleciyngsi ekhaekidthitablhlngsi mnthlfueciyn pccubnkhux tablhlngih emuxngcangocw mnthlfueciyn cusimixiknamwa xacarycuxhyang 紫阳先生 chaya cuehwinkng 朱文公 cusiepnnkprchyasankhlkkareching cuinsmyrachwngssngit sungidrwbrwmtarasakhykhxngsankexaiw cungidrbkarkhnannamwa cucux cusiepnluksisyrunthisamkhxngechinghawaelaechingxi khrxbkhrwekhamithanayakcn thwatngaetedkekhamikhwamchladhlkaehlm cungthaihekhasamarthsxbrbrachkarinpithi 18 khxngemuxngechasingid aelathanganrbichckrphrrdithung 4 rchsmy ekhaidsxnhnngsuxthiorngeriynxwinkueciychawinemuxngeciynhyangsungmixikchuxhnungwa huyxan 晦氨 sankhlkkaridtngchuxihwa withyalykhawthing hruxeriykxikxyangwa orngeriynkhawthing cusiidsnbsnunthvsdiocwtunxi odysrangrupaebbkarsuksawicythangdanprchyainsmyrachwngssng cntkphlukepnsankhlkkar 理学 aelakahndih hnngsuxsielm 四书 xnidaek hlunxwi 论语 emingcux 孟子 taesw 大学 aela cngyng 中庸 epntaraeriynhlkexaiwsahrbsxbrbrachkarinyukhtxma nkwichakarkhxngcinehnwaekhaidsrangrabbkhwamkhidaebbxudmkhtiniymxnepnphwwisythismburnprawticusiekidemuxwnthi 15 eduxn 9 piekingchu rchskeciynehyiynpithi 4 kh s 1130 smyrachwngssng thisankchawaehngtrakulecing withyalyhnansi aehngtabloywsi mnthlfueciyn ekhaepnlukhlanrunthi 9 khxngcuhwn ecakhxngorngnacha edimepnnaythaebiynaehngtablxuhywn emuxnghuyocw edimepnswnhnungkhxngmnthlxnhuy phxpi kh s 1952 idphnwkepnswnhnungkhxngmnthleciyngsi cusiekhasuksatngaettxnxayu 5 khwb ekhasamarththxng khmphiresiywcing 孝经 id xayu 18 pi xayu 19 pi rbtaaehnngepnkhunnangphuchwythanxxng ineduxnthi 10 khxngrchskechasingpithi 5 ekhaidrbtaaehnngtaycux 待制 aelachuxeciyng 侍讲 aehngsankhwancang invduibimphlikhxngrchskechasingpithi 20 kh s 1149 ekhaidklbbanekidrwmphithifngsph aelakukhunthinamanbrxyhmu 亩 odyxangwathinaphunniichcdphithisahrborngnachakhxngtrakulcu emuxxayu 22 pi ekhaidrbtaaehnngepnkhunnangtikngfaysay 左迪功郎 ekhaidrbnahnathiepnnaythaebiynaehngtablthngxn emuxngechwiynocw epnkhunnangthung 48 pi odyerimepnkhunnangthxngthin 9 pi aelwrbtaaehnngchuxeciynginrachsankepnewla 40 wn aelarbtaaehnngepntaycuxaehngsankepaehwin inrahwangnnekhaxnuyatihepidemuxngxuhywn aeckxaharihchawban 300 khrweruxn aelaidburnasankihthnsmykhunsankhlkkarwithyasastrthrrmchatixacaryhuetacingidklawwa cusiepnnkwithyasastrthrrmchatithikhxnkhangprasbkhwamsaerckhnhnunginprawtisastrcin Joseph Needham 李约瑟 phusungthanganthangdanwithyasastrthrrmchatiidyunynkhwamsaerckhxngcusiwa cusiepnbukhkhlphuhnungthisuksapraktkarnthangthrrmchatiidxyangluksung ekhayngidpraeminkhunkhahlkkarkhxngcusiinkarepriybethiybrahwangekldhimakbhinsidasungcusiidxthibaywaehtuidekldhimacungmihkaechk sungaesdngihehnthungphthnakarkhxngethkhonolyiinyukhtxma ocesf nidaehm ehnwa cusiepnkhnaerkthiwiekhraahkarepliynaeplngkhxnghinid sungnbwakhnphbkxnolktawntkthung 400 kwapi aetkranncusikyngkhadkarphthnathangdankhnitsastr dngthihwngehrinxwi 黄仁宇 idklawwa haksankhlkkarhruxsanketamikarsuksasrrphsingthimakipkwani nasingthiepnnamthrrmkbrupthrrmmarwmkn sungichaekhngansilpayunyn aetmixacichtwelkhphisucnid hakphllphthepndngthiocesf nidaehmidklawiwwa cusiimidsrangmonthsnthangckrwalwithyaaebbniwtn aetidsrangmonthsnthangckrwalwithyaaebbixnsitn nkwichakarcanwnmakehnwamonthsnthangthrrmchatikhxngcinobranepnxyubnthanaenwkhidhyin hyangaelathatuthng 5 sungkhdkhwangkhwamkawhnathangwithyasastr emuxnkprchyacinidphyayamxthibaypraktkarnthangthrrmchati mkxangprchyathrrmchati xyangechn iffaekidcakphlngkhxnghyinaelahyang aephndinihwekidcakphlnghyangthukpkpid phlnghyinekhluxntw inaengnithuxwaepnaenwkhidkhxngprasbkarnniymaelarhsyniymsungaethrksumlngipinrabbthvsdiwithyasastrkhxngcinobrankarsuksakhwamcringsahrbcusiaelw karrksahlkkardngedimkhxngthrrmchati aelatdkhwamprarthnakhxngmnusy epnsarasakhykhxngsankkhngcux ekhaidklawwa khasxnkhxngprachythnghlaythngpwngnn txngkariheraekhaichlkkarinthrrmchati lakhwamprarthnakhxngtn thvsdithangsngkhmkaremuxngkhxngsankhlkkar epnthvsdithinalththietamaptibticringinsngkhm cusimxngwakhunkhakhxngetannmikhwamhmayaefngwa samaebbxyang hakhunthrrm 三纲五常 miephiyngkarfuktncnepnphumimnusythrrm echnnikhunkhakhxnglththikhngcuxkklayepnesahlkthangcitwiyyanthiaethcringkhxngtnexng sungnbwabrrluetaaelwprchyainrabbrachkarsmyrachwngshywn rchskhwngching pithi 2 kh s 1313 mikarfunfurabbkarsxbrbrachkar odykahndih hnngsuxsielm thicharaodycusiepnmatrthaninkarsxbrbrachkarephuxrbbnthitekhamathanganinwng txmasmyrachwngshming rchsmyckrphrrdiithcu rchskhngxu pithi 2 kh s 1369 inkarsxbrbrachkaridkahndihcusiepn brrphburusthisubthxdknma 传注为宗 smyrachwngsching ckrphrrdikhngsiidprakassnbsnunsankhlkkarwa karekhaickhwamthuktxngxyangkracangaecngthnghmd thaihekhathunghlkkarxnyingihyid thaih phuthimikarsuksackimklathaihtnexngmikhwambkphrxng rchsmykhngsi pithi 51 idykyxngih cusiepnhnunginnkprchyathimixiththiphlthisudinolktawnxxk rchsmyechiynhlng pithi 5 kh s 1740 mikarprakassnbsnunaenwkhidsankeching cuwa aenwkhidkhxngphwkekhaepnmrdktkthxdmacakkhngcux aelaemingcux wiyyuchnyudmninhlkkar thrchnepnkhbthtxhlkkar phubriharpraethsphungyudhlkkarinkarpkkhrxng haklathinghlkkarbanemuxngckekidkhwamwunway cktxngnukthungphlpraoychnkhxngrasdrepnsakhy aelakarrksakhnbthrrmeniymepnsingcaepninkarpkkhrxng khwamsrththainsasnakarpraeminkhunkhakhwamsaercinkarekhiynxksrcinphlnganchinsakhyxangxing著 興盛與危機 朱熹的深刻之處在於 把孔孟置於正宗 同時又把董仲舒陰陽五行觀 王充對董仲舒的目的論的批判 把張載以及周敦頤 二程的觀點 以及佛學高度一元化的哲學和道家的思辨精神 統統加以整理 小心而細緻地構造出內容精深的新儒學體系 儒學世界觀 方法論薄弱的短處被克服了 歷史經過了一千年 萬物起源皆出於理 理生氣 氣生萬物 理又規定了儒家倫理道德的合理性 理學的出現大大鞏固了儒學在中國封建社會中作為指導思想的地位 使佛 道等學說再也不會動搖它了 宋以後七百年間 理學一直被奉為正統 與宗法一體化結構十分適應 封建王朝的控制能力也增強了 興盛與危機 第八章 意識形態結構的系統分析 朱子文集大全類編 卷一 支派源流 一世茶院公諱瓌 字古僚 號舜臣 其先吳郡人 唐廣明間 黃巢作亂 避地歙之黃墩 天中佑中 以刺史陶雅命 總卒三千 戍婺源而督其征賦 巡轄浮梁 德 興 祁門四縣 民賴以安 因家婺源 是為婺源朱氏始祖 西山讀書記 卷三十一錄李方子 紫陽年譜 載 先生幼有異稟 五歲入小學 始誦 孝經 即了其大義 書八字於其上曰 若不如此 便不成人 間從群兒嬉遊 獨以沙列八卦象 詳觀側玩 又嘗指日問於吏部曰 日何所附 曰 附於天 又問 天何所附 吏部奇之 南宋館閣續錄 卷九 官聯 三 朱熹 字元晦 徽州婺源人 紹興十八年王佐榜同進士出身 治 易 五年十月 煥章閣待制兼侍講 王懋竑纂訂 朱子年譜 卷一 李約瑟文集 赫遜河畔談中國歷史 葉曉青 中國傳統自然觀與近代科學 自然辯證法通訊編 科學傳統與文化 第159 161頁 林文照 近代科學為什麼沒有在中國產生 第87頁 當代科學哲學研究中 越來越多的科學哲學家 傾向於把理論是否具有清晰的邏輯結構和可糾錯性 當作科學整體觀的主要特徵 即科學與偽科學的劃界 見著 興盛與危機 頁424 普通高中课程标准实验教科书 历史必修 第三册 pp 第15页 ISBN 9787010044316 清聖祖實錄 卷二四九 大清高宗純皇帝實錄 卷一二八xanephimJ Percy Bruce Chu Hsi and His Masters Probsthain amp Co London 1922 Daniel K Gardner Learning To Be a Sage University of California Press Berkeley 1990 ISBN 0 520 06525 5 Bruce E Carpenter Chu Hsi and the Art of Reading in Tezukayama University Review Tezukayama daigaku ronshu Nara Japan no 15 1977 pp 13 18 ISSN 0385 7743 Wing tsit Chan Chu Hsi Life and Thought 1987 ISBN 0 312 13470 3 Wing tsit Chan Chu Hsi New Studies University of Hawaii Press 1989 ISBN 978 0 8248 1201 0 Gedalecia D 1974 Excursion Into Substance and Function Philosophy East and West vol 4 443 451 Hoyt Cleveland Tillman Utilitarian Confucianism Ch en Liang s Challenge to Chu Hsi 1982 Wm Theodore de Bary Neo Confucian Orthodoxy and the Learning of the Mind and Heart 1981 on the development of Zhu Xi s thought after his death Wing tsit Chan ed Chu Hsi and Neo Confucianism 1986 a set of conference papers Donald J Munro Images of Human Nature A Sung Portrait 1988 an analysis of the concept of human nature in Zhu Xi s thoughtaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb cu si Zhu Xi and his Calligraphy Gallery at China Online Museum Chu Hsi and Divination Joseph A Adler Stillness amp Activity Joseph A Adler phlngankhxng Zhu Xi thiokhrngkarkuethinaebrkh First part of the Classified Conversations of Master Zhubthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk