บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โปรดเพิ่มพารามิเตอร์ reason หรือ talk ลงในแม่แบบนี้เพื่ออธิบายปัญหาของบทความ |
กฎหมายเกาหลีใต้ เป็นกฎหมายของประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งใช้ระบบซีวิลลอว์
ประวัติ
ระบบกฎหมายของประเทศเกาหลีใต้อาจพิจารณาได้ตั้งแต่การริเริ่มให้มีรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลีและการประกาศให้ประเทศเกาหลีใต้เป็นรัฐเอกราช ตั้งแต่มีการสถาปนาสาธารณรัฐเกาหลีขึ้นจนถึงปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งประเทศเกาหลีใต้ได้ถูกแก้ไขเพิ่มเติม และถูกยกร่างขึ้นใหม่หลายครั้งด้วยกัน ซึ่งครั้งล่าสุดที่มีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่คือปี พ.ศ. 2530 ในระยะเริ่มแรกของยุคสาธารณรัฐที่หก (Sixth Republic) รัฐบัญญัติจัดตั้งศาลแห่งประเทศเกาหลีได้ซึ่งใช้บังคับเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2492 ได้จัดตั้งระบบศาลของประเทศเกาหลีใต้ให้มีลักษณะเป็น 3 ชั้น และเป็นอิสระจากกัน ในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2530 ก็ได้บัญญัติรับรองให้ผู้พิพากษาจะไม่ถูกถอดถอนจากตำแหน่งโดยวิธีใด ๆ เว้นแต่จะถูกถอดถอนโดยกระบวนการถอดถอน (Impeachment) การกระทำความผิดอาญา หรือตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ นอกจากนี้มาตรา 103 แห่งรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2530 ได้บัญญัติรับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษา ดังนี้ “ผู้พิพากษาย่อมมีอิสระในการวินิจฉัยคดีตามสามัญสำนึกและสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติแห่งกฎหมาย” นอกจากที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 1987 ได้บัญญัติรับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษาแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวได้บัญญัติให้มีการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้น ซึ่งนับว่าเป็นครั้งแรกที่ประเทศเกาหลีใต้มีองค์กรสำหรับการพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ [1]
ระบบศาล
ระบบศาลของประเทศเกาหลีใต้ประกอบด้วยศาลฎีกาแห่งประเทศเกาหลีใต้ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งประเทศเกาหลีใต้ ศาลสูง 6 ศาล ศาลแขวง 13 ศาล และศาลชำนัญพิเศษอีกเป็นจำนวนมาก อาทิ ศาลครอบครัว และศาลปกครอง เป็นต้น นอกจากนี้อาจมีการจัดตั้งศาลในสังกัดของศาลแขวง (Branches of District Courts) และศาลมโนสาเร่ การจัดระบบแลเขตอำนาจศาลของศาลแห่งประเทศเกาหลีใต้เป็นไป หมวด 5 และหมวด 6 ของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระบบบศาลของประเทศเกาหลีใต้ไม่มีระบบการพิจารณาข้อเท็จจริงโดยลูกขุน (juries) ดังนั้นผู้พิพากษาจึงเป็นผู้พิจารณาทั้งปัญหาข้อเท็จจริง (question of fact) และปัญหาข้อกฎมาย (questions of law)
ศาลมโนสาเร่
ศาลมโนสาเราจะมีอำนาจพิจารณาคดีเฉพาะคดีที่มีเขตอำนาจศาลดั้งเดิม (original jurisdiction) เหนือคดีมโนสาเร่เท่านั้น เช่น คดีที่ใช้สิทธิเรียกร้องที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 20 ล้านวอน หรือการพิจารณาคดีลหุโทษซึ่งมีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่เกิน 30 วัน หรือปรับไม่เกิน 200.000 วอน ในปัจจุบันมีศาลมโนสาเร่ทั้งหมด 103 ศาลในประเทศเกาหลีใต้
ศาลแขวง
ปัจจุบันประเทศเกาหลีใต้มีศาลแขวงทั้งหมด 13 ศาล ศาลแขวงจะมีเขตอำนาจศาลดั้งเดิมเหนือคดีแพ่งและคดีอาญาเกือบทั้งหมด นอกจากนี้ศาลแขวงแผนกคดีอุทธรณ์ยังมีอำนาจพิจารณาคดีอุทธรณ์ที่มาจากการอุทธรณ์คำพิพากษาของศาลแขวงที่ผู้พิพากษาท่านเดียวมีอำนาจพิจารณาคดี (single District Court) หรือศาลในสังกัดของศาลแขวง ซึ่งโดยส่วนใหญ่ในศาลแขวงผู้พิพากษาท่านเดียวจะเป็นผู้พิจารณาคดีและพิพากษา แม้ว่าในคดีสำคัญหรือคดีร้ายแรงแล้ว องค์คณะของผู้พิพากษาที่พิจารณาและพิพากษาคดีจะต้องประกอบด้วยผู้พิพากษา 3 ท่าน ก็ตาม สำหรับองค์คณะของผู้พิพากษาในศาลแขวงแผนกคดีอุทธรณ์ประกอบด้วยผู้พิพากษาศาลแขวง 3 ท่านด้วยกัน
ศาลในสังกัดของศาลแขวง (Branch Courts)
ศาลในสังกัดของศาลแขวงได้จัดตั้งและถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของศาลแขวง หน้าที่ของศาลในสังกัดของศาลแขวงนั้นมีมากกว่าศาลแขวง ทว่าศาลในสังกัดของศาลแขวงไม่มีอำนาจพิจารณาคดีอุทธรณ์ ปัจจุบันมีศาลในสังกัดของแขวงทั้งหมด 40 ศาลในประเทศเกาหลีใต้
ศาลสูง (High Courts)
ศาลสูงของประเทศเกาหลีใต้ในปัจจุบันมีทั้งหมด 6 ศาล ศาลสูงของประเทศเกาหลีใต้มีเขตอำนาจในการพิจารณาคดีอุทธรณ์คำพิพากษาของศาลแขวงที่ผู้พิพากษา 3 ท่านนั่งพิจารณาคดีและทำคำพิพากษา หรือศาลครอบครัว หรือคำวินิจฉัยของศาลปกครอง และ คดีแพ่งที่ได้พิจารณาก่อนหน้าศาลแขวง และเป็นคดีที่ผู้พิพากษาท่านเดียวมีอำนาจพิจารณาและทำคำพิพากษา แต่ต้องมีทุนทรัพย์เกิน 50,000 วอนขึ้นไป สำหรับองค์ณะการพิจารณาคดีในศาลสูงจะประกอบด้วยผู้พิพากษาศาลสูง 3 ท่าน ศาลสูงตั้งอยู่ที่กรุง โซล (Seoul) ปูซาน (Busan) แทกู (Daegu) แทจอน (Daejon) กวางจู (Gwangju) นอกจากนี้ศาลสูงแห่งเมืองกวางจูยังได้จัดตั้งแผนกศาลสูงแห่งเมืองกวางจูในศาลแขวงประจำจังหวัดเชจู (Jeju) เป็นพิเศษอีกด้วย
ผู้พิพากษา
ผู้พิพากษาในประเทศเกาหลีไต้ได้รับการเสนอชื่อโดยประธานศาลฎีกาแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (the Chief Justice of the Republic of Korea) และได้รับการรับรองโดยสภาศาลฎีกา (the Supreme Court Justices Council) ซึ่งประกอบด้วยผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาในประเทศเกหลีใต้ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 10 ปี และผู้พิพากษาที่พ้นจากตำแหน่งอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาเป็นผู้พิพากษาอีกครั้งหนึ่งก็ได้ รัฐธรรมนูญแห่งประเทศเกาหลีใต้ได้รับรองว่าการถอดถอนผู้พิพากษาจะกระทำมิได้เว้นแต่กระทำโดยกระบวนการถอดถอน (impeachment) การกระทำความผิดอาญา และถูกพิพากษาให้จำคุก หรือหากมีความผิดปกติร้ายแรงแก่กายหรือจิตใจ กระบวนการสรรหาและเงื่อนไขดังกล่าวไม่ใช้แก่ผู้พิพากษาศาลฎีกา (Supreme Court of South Korea) หรือตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (Constitutional Court of South Korea) ซึ่งศาลดังกล่าวมีกระบวนการสรรหาผู้พิพากษาหรือตุลาการของตนโดยเฉพาะ
สิทธิที่รัฐธรรมนูญรับรอง
พลเมืองชาวเกาหลีใต้ได้รับการประกันสิทธิต่าง ๆ เป็นจำนวนมากในหมวด 2 แห่งรัฐธรรมนูญ ซึ่งสิทธิดังกล่าว เช่น
- เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในการรวมกลุ่ม เสรีภาพของสื่อมวลชน
- สิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการจัดให้มีประชาพิจารณ์ สิทธิในการจัดตั้งสำนักงานมหาชน (Public office) แดนยัน
- ละสิทธิที่จะร้องเรียนรัฐบาล
- สิทธิในการประท้วงการพิจารณาคดีอาญาซ้ำสอง (double jeopardy) การทำงานโดยไม่สมัครใจ (involuntary labor), กฎหมายที่มีผลย้อนหลังเป็นโทษ (ex post facto laws), และการขาดหลักประกันในการแสวงหาที่อยู่อาศัย (warrantless searches of residences)
- สิทธิในการได้รับการศึกษา ทำงาน แต่งงาน และสิทธิเกี่ยวกับสุขภาพ
นอกจากสิทธิที่ได้รับรองในรัฐธรรมนูญแล้ว พลเมืองชาวเกาหลีใต้อยังมีหน้าที่ที่จะเสียภาษี และหน้าที่ในการเข้ารับราชการทหาร และในมาตรา 37 (2) แห่งรัฐธรรมนูญได้บัญญัติว่า “สิทธิและเสรีภาพของบุคคลจะถูกจำกัดได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และต้องเป็นไปเพื่อความจำเป็นแก่ความมั่งคงของประเทศ ธำรงไว้ซึ่งกฎหมายหรือระเบียบแห่งรัฐ หรือสวัสดิการมหาชน [1] การจำกัดสิทธิประการหนึ่งของประเทศเกาหลีใต้ได้รับการบัญญัติไว้ในรัฐบัญญัติความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Act) ซึ่งจำกัดสิทธิที่เป็นการต่อต้านการกระทำของรัฐบาล (anti-government activities) กล่าวคือ รัฐบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้การกระทำที่เป็นการส่งเสริมแนวความคิดต่อต้านรัฐบาล (โดยเฉพาอย่างยิ่งลัทธิคอมมิวนิสต์) หรือการเข้าร่วมองค์กรที่ต่อต้านรัฐบาล เป็นการกระทำที่เป็นความผิดอาญา[2]
กฎหมายอาญา
กฎหมายอาญาของประเทศเกาหลีใต้ส่วนใหญ่แล้วได้รับการบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาที่ได้ประกาศใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2496 และได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเล็กน้อย นอกจากประมวลกฎหมายอาญาแห่งประเทศเกาหลีใต้แล้ว การกระทำที่มีลักษณะเป็นความผิดอาญานั้นอาจเป็นความผิดตามรัฐบัญญัติซึ่งตราขึ้นเป็นพิเศษนอกเหนือจากที่ได้บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาก็ได้ หรืออาจเป็นรัฐบัญญัติที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงโทษทางอาญาที่ปรากฏในประมวลกฎหมายอาญาก็ได้ และในกรณีที่บทบัญญัติตามประมวลกฎหมายอาญาขัดหรือแย้งกับรัฐบัญญัติเช่นว่านั้น โดยหลักแล้วการใช้กฎหมายดังกล่าวให้เป็นไปตามรัฐบัญญัติพิเศษ [3]
กระบวนการอันควรแห่งกฎหมาย (Due process)
ทั้งรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายอาญาได้มีบทบัญญัติที่ห้ามมิให้มีการออกกฎหมายที่มีย้อนหลังเป็นโทษและบทบัญญัติที่ขัดต่อกระบวนการอันควรแห่งกฎหมาย (due process) นอกจากนี้รัฐธรรมนูญยังให้หลักประกันทางกฎหมายโดยบัญญัติให้มีการออกหมายจับ คุมขัง ค้น หรือยึดทรัพย์ เว้นแต่กรณีที่เป็นความผิดซึ่งหน้า (in flagrante delicto) หรือในกรณีที่ผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดอาญาร้ายแรงอาจจะหลบหนีหรือทำลายหลักฐาน และในกรณีดังกล่าวต้องมีการออกหมายในภายหลัง[4] นอกจากนี้ห้ามมิให้ทรมานหรือข่มขู่ผู้ต้องสงสัยให้ให้การที่เป็นปรปักษ์ต่อตนเอง[5] และรัฐธรรมนูญยังบัญญัติให้ผู้ที่ถูกจับกุมในคดีอาญาต้องได้รับความช่วยเหลือจากที่ปรึกษา (โดยการเลือก หรือแต่งตั้ง) แจ้งข้อกล่าวหา และแจ้งสิทธิที่จะได้รับความช่วยเหลือจากที่ปรึกษา[6] มีสิทธิที่จะร้องขอต่อศาล (right to petition) ให้ได้รับการประกันตัว (habeas corpus) และผู้ที่ถูกจับกุมในคดีอาญายังมีสิทธิที่จะแจ้งให้ครอบครัวหรือญาติสนิททราบถึงเหตุผล เวลา และสถานที่ถูกคุมขัง [7]
กฎหมายระหว่างประเทศและสนธิสัญญา
สนธิสัญญาที่สาธารณรัฐเกาหลีได้ให้สัตยาบันมีผลเช่นเดียวกับกฎหมายภายในประเทศตามที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 6 รัฐธรรมนูญได้ให้อำนาจแก่ประธานาธิบดีในการทำสนธิสัญญา ขณะที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีสิทธิที่จะให้ความยินยอมต่อสนธิสัญญาดังกล่าวที่ประธานาธิบดีได้ทำขึ้น ปัจจุบันประเทศเกาหลีใต้เป็นภาคีและเป็นสมาชิกของความตกลงระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศเป็นจำนวนมาก
อ้างอิง
- The Constitution of the Republic of Korea
- The Supreme Court of Korea
- The CIA World Factbook
- Library of Congress Country Study - South Korea
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 29
- The Constitution of the Republic of Korea, Articles 10-39. Available at ICL 2006-07-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 237 และ มาตรา 238 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ของประเทศไทย มาตรา 78 และมาตรา 92
- เทียบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 243 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ของประเทศไทย มาตรา 133
- เทียบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 242 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ของประเทศไทย มาตรา 134 และ มาตรา134/1-134/4
- Cho, Kuk, "Korean Criminal Law: Moralist Prima Ratio for Social Control" . Journal of Korean Law, Vol. 1, No. 1, 2001 Available at SSRN
- The Constitution of the Republic of Korea, Article 12.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchayineruxngnn oprdephimpharamietxr reason hrux talk lnginaemaebbniephuxxthibaypyhakhxngbthkhwamemuxwangaethkni ihphicarnaechuxmoyngkhakhxnikbokhrngkarwiki kdhmayekahliit epnkdhmaykhxngpraethsekahliit sungichrabbsiwillxwprawtirabbkdhmaykhxngpraethsekahliitxacphicarnaidtngaetkarrierimihmirththrrmnuyaehngsatharnrthekahliaelakarprakasihpraethsekahliitepnrthexkrach tngaetmikarsthapnasatharnrthekahlikhuncnthungpccubn rththrrmnuyaehngpraethsekahliitidthukaekikhephimetim aelathukykrangkhunihmhlaykhrngdwykn sungkhrnglasudthimikarrangrththrrmnuykhunihmkhuxpi ph s 2530 inrayaerimaerkkhxngyukhsatharnrththihk Sixth Republic rthbyyticdtngsalaehngpraethsekahliidsungichbngkhbemuxwnthi 26 knyayn ph s 2492 idcdtngrabbsalkhxngpraethsekahliitihmilksnaepn 3 chn aelaepnxisracakkn inkaraekikhephimetimrththrrmnuy ph s 2530 kidbyytirbrxngihphuphiphaksacaimthukthxdthxncaktaaehnngodywithiid ewnaetcathukthxdthxnodykrabwnkarthxdthxn Impeachment karkrathakhwamphidxaya hruxtkepnphuirkhwamsamarth nxkcaknimatra 103 aehngrththrrmnuy ph s 2530 idbyytirbrxngkhwamepnxisrakhxngphuphiphaksa dngni phuphiphaksayxmmixisrainkarwinicchykhditamsamysanukaelasxdkhlxngkbrththrrmnuyaelabthbyytiaehngkdhmay nxkcakthirththrrmnuy ph s 1987 idbyytirbrxngkhwamepnxisrakhxngphuphiphaksaaelw rththrrmnuychbbdngklawidbyytiihmikarcdtngsalrththrrmnuykhun sungnbwaepnkhrngaerkthipraethsekahliitmixngkhkrsahrbkarphicarnaeruxngthiekiywkbrththrrmnuy 1 rabbsalrabbsalkhxngpraethsekahliitprakxbdwysaldikaaehngpraethsekahliit salrththrrmnuyaehngpraethsekahliit salsung 6 sal salaekhwng 13 sal aelasalchanyphiessxikepncanwnmak xathi salkhrxbkhrw aelasalpkkhrxng epntn nxkcaknixacmikarcdtngsalinsngkdkhxngsalaekhwng Branches of District Courts aelasalmonsaer karcdrabbaelekhtxanacsalkhxngsalaehngpraethsekahliitepnip hmwd 5 aelahmwd 6 khxngrththrrmnuyaehngsatharnrthekahli inrabbbsalkhxngpraethsekahliitimmirabbkarphicarnakhxethccringodylukkhun juries dngnnphuphiphaksacungepnphuphicarnathngpyhakhxethccring question of fact aelapyhakhxkdmay questions of law salmonsaer salmonsaeracamixanacphicarnakhdiechphaakhdithimiekhtxanacsaldngedim original jurisdiction ehnuxkhdimonsaerethann echn khdithiichsiththieriykrxngthimithunthrphyimekin 20 lanwxn hruxkarphicarnakhdilhuothssungmixtraothscakhukxyangsungimekin 30 wn hruxprbimekin 200 000 wxn inpccubnmisalmonsaerthnghmd 103 salinpraethsekahliit salaekhwng pccubnpraethsekahliitmisalaekhwngthnghmd 13 sal salaekhwngcamiekhtxanacsaldngedimehnuxkhdiaephngaelakhdixayaekuxbthnghmd nxkcaknisalaekhwngaephnkkhdixuththrnyngmixanacphicarnakhdixuththrnthimacakkarxuththrnkhaphiphaksakhxngsalaekhwngthiphuphiphaksathanediywmixanacphicarnakhdi single District Court hruxsalinsngkdkhxngsalaekhwng sungodyswnihyinsalaekhwngphuphiphaksathanediywcaepnphuphicarnakhdiaelaphiphaksa aemwainkhdisakhyhruxkhdirayaerngaelw xngkhkhnakhxngphuphiphaksathiphicarnaaelaphiphaksakhdicatxngprakxbdwyphuphiphaksa 3 than ktam sahrbxngkhkhnakhxngphuphiphaksainsalaekhwngaephnkkhdixuththrnprakxbdwyphuphiphaksasalaekhwng 3 thandwykn salinsngkdkhxngsalaekhwng Branch Courts salinsngkdkhxngsalaekhwngidcdtngaelathuxwaepnswnhnungkhxngsalaekhwng hnathikhxngsalinsngkdkhxngsalaekhwngnnmimakkwasalaekhwng thwasalinsngkdkhxngsalaekhwngimmixanacphicarnakhdixuththrn pccubnmisalinsngkdkhxngaekhwngthnghmd 40 salinpraethsekahliit salsung High Courts salsungkhxngpraethsekahliitinpccubnmithnghmd 6 sal salsungkhxngpraethsekahliitmiekhtxanacinkarphicarnakhdixuththrnkhaphiphaksakhxngsalaekhwngthiphuphiphaksa 3 thannngphicarnakhdiaelathakhaphiphaksa hruxsalkhrxbkhrw hruxkhawinicchykhxngsalpkkhrxng aela khdiaephngthiidphicarnakxnhnasalaekhwng aelaepnkhdithiphuphiphaksathanediywmixanacphicarnaaelathakhaphiphaksa aettxngmithunthrphyekin 50 000 wxnkhunip sahrbxngkhnakarphicarnakhdiinsalsungcaprakxbdwyphuphiphaksasalsung 3 than salsungtngxyuthikrung osl Seoul pusan Busan aethku Daegu aethcxn Daejon kwangcu Gwangju nxkcaknisalsungaehngemuxngkwangcuyngidcdtngaephnksalsungaehngemuxngkwangcuinsalaekhwngpracacnghwdechcu Jeju epnphiessxikdwyphuphiphaksaphuphiphaksainpraethsekahliitidrbkaresnxchuxodyprathansaldikaaehngsatharnrthekahli the Chief Justice of the Republic of Korea aelaidrbkarrbrxngodysphasaldika the Supreme Court Justices Council sungprakxbdwyphuphiphaksasaldika phuphiphaksainpraethsekhliitdarngtaaehnngepnewla 10 pi aelaphuphiphaksathiphncaktaaehnngxacidrbkaraetngtngihklbmaepnphuphiphaksaxikkhrnghnungkid rththrrmnuyaehngpraethsekahliitidrbrxngwakarthxdthxnphuphiphaksacakrathamiidewnaetkrathaodykrabwnkarthxdthxn impeachment karkrathakhwamphidxaya aelathukphiphaksaihcakhuk hruxhakmikhwamphidpktirayaerngaekkayhruxcitic krabwnkarsrrhaaelaenguxnikhdngklawimichaekphuphiphaksasaldika Supreme Court of South Korea hruxtulakarsalrththrrmnuy Constitutional Court of South Korea sungsaldngklawmikrabwnkarsrrhaphuphiphaksahruxtulakarkhxngtnodyechphaasiththithirththrrmnuyrbrxngphlemuxngchawekahliitidrbkarpraknsiththitang epncanwnmakinhmwd 2 aehngrththrrmnuy sungsiththidngklaw echn esriphaphinkaraesdngkhwamkhidehn esriphaphinkarnbthuxsasna esriphaphinkarrwmklum esriphaphkhxngsuxmwlchn siththiinkarlngkhaaennesiyngeluxktng siththiinkarcdihmiprachaphicarn siththiinkarcdtngsanknganmhachn Public office aednyn lasiththithicarxngeriynrthbal siththiinkarprathwngkarphicarnakhdixayasasxng double jeopardy karthanganodyimsmkhric involuntary labor kdhmaythimiphlyxnhlngepnoths ex post facto laws aelakarkhadhlkprakninkaraeswnghathixyuxasy warrantless searches of residences siththiinkaridrbkarsuksa thangan aetngngan aelasiththiekiywkbsukhphaph nxkcaksiththithiidrbrxnginrththrrmnuyaelw phlemuxngchawekahliitxyngmihnathithicaesiyphasi aelahnathiinkarekharbrachkarthhar aelainmatra 37 2 aehngrththrrmnuyidbyytiwa siththiaelaesriphaphkhxngbukhkhlcathukcakdidodybthbyytiaehngkdhmay aelatxngepnipephuxkhwamcaepnaekkhwammngkhngkhxngpraeths tharngiwsungkdhmayhruxraebiybaehngrth hruxswsdikarmhachn 1 karcakdsiththiprakarhnungkhxngpraethsekahliitidrbkarbyytiiwinrthbyytikhwammnkhngaehngchati National Security Act sungcakdsiththithiepnkartxtankarkrathakhxngrthbal anti government activities klawkhux rthbyytidngklawidbyytiihkarkrathathiepnkarsngesrimaenwkhwamkhidtxtanrthbal odyechphaxyangyinglththikhxmmiwnist hruxkarekharwmxngkhkrthitxtanrthbal epnkarkrathathiepnkhwamphidxaya 2 kdhmayxayakdhmayxayakhxngpraethsekahliitswnihyaelwidrbkarbyytiiwinpramwlkdhmayxayathiidprakasichtngaet ph s 2496 aelaidmikaraekikhephimetimelknxy nxkcakpramwlkdhmayxayaaehngpraethsekahliitaelw karkrathathimilksnaepnkhwamphidxayannxacepnkhwamphidtamrthbyytisungtrakhunepnphiessnxkehnuxcakthiidbyytiiwinpramwlkdhmayxayakid hruxxacepnrthbyytithimiphlepnkarepliynaeplngothsthangxayathipraktinpramwlkdhmayxayakid aelainkrnithibthbyytitampramwlkdhmayxayakhdhruxaeyngkbrthbyytiechnwann odyhlkaelwkarichkdhmaydngklawihepniptamrthbyytiphiess 3 krabwnkarxnkhwraehngkdhmay Due process thngrththrrmnuyaelapramwlkdhmayxayaidmibthbyytithihammiihmikarxxkkdhmaythimiyxnhlngepnothsaelabthbyytithikhdtxkrabwnkarxnkhwraehngkdhmay due process nxkcaknirththrrmnuyyngihhlkpraknthangkdhmayodybyytiihmikarxxkhmaycb khumkhng khn hruxyudthrphy ewnaetkrnithiepnkhwamphidsunghna in flagrante delicto hruxinkrnithiphutxngsngsywakrathakhwamphidxayarayaerngxaccahlbhnihruxthalayhlkthan aelainkrnidngklawtxngmikarxxkhmayinphayhlng 4 nxkcaknihammiihthrmanhruxkhmkhuphutxngsngsyihihkarthiepnprpkstxtnexng 5 aelarththrrmnuyyngbyytiihphuthithukcbkuminkhdixayatxngidrbkhwamchwyehluxcakthipruksa odykareluxk hruxaetngtng aecngkhxklawha aelaaecngsiththithicaidrbkhwamchwyehluxcakthipruksa 6 misiththithicarxngkhxtxsal right to petition ihidrbkarprakntw habeas corpus aelaphuthithukcbkuminkhdixayayngmisiththithicaaecngihkhrxbkhrwhruxyatisniththrabthungehtuphl ewla aelasthanthithukkhumkhng 7 kdhmayrahwangpraethsaelasnthisyyasnthisyyathisatharnrthekahliidihstyabnmiphlechnediywkbkdhmayphayinpraethstamthirbrxngiwinrththrrmnuy matra 6 rththrrmnuyidihxanacaekprathanathibdiinkarthasnthisyya khnathisphanitibyytiaehngchatimisiththithicaihkhwamyinyxmtxsnthisyyadngklawthiprathanathibdiidthakhun pccubnpraethsekahliitepnphakhiaelaepnsmachikkhxngkhwamtklngrahwangpraeths aelaxngkhkarrahwangpraethsepncanwnmakxangxingThe Constitution of the Republic of Korea The Supreme Court of Korea The CIA World Factbook Library of Congress Country Study South Korea rththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 matra 29 The Constitution of the Republic of Korea Articles 10 39 Available at ICL 2006 07 28 thi ewyaebkaemchchin rththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 matra 237 aela matra 238 aelapramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya khxngpraethsithy matra 78 aelamatra 92 ethiyb rththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 matra 243 aelapramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya khxngpraethsithy matra 133 ethiyb rththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 matra 242 aelapramwlkdhmaywithiphicarnakhwamxaya khxngpraethsithy matra 134 aela matra134 1 134 4 Cho Kuk Korean Criminal Law Moralist Prima Ratio for Social Control Journal of Korean Law Vol 1 No 1 2001 Available at SSRN The Constitution of the Republic of Korea Article 12 duephimpraethsekahliit