นิกายหัวเหยียน หรือ ฮวาเหยียน (จีน: 華嚴宗) หรือนิกายอวตังสกะ เป็นหนึ่งในนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน ถือพุทธธรรมคำสั่งสอนในอวตังสกสูตร หรือพุทธาวตังสกมหาไวปุลยสูตร เป็นหลัก นิกายนี้ก่อตั้งขึ้นในช่วงปลายราชวงศ์สุย รุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์ถัง
หัวเหยียน | |||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 华严宗 | ||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 華嚴宗 | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อภาษาเวียดนาม | |||||||||||||||||
ภาษาเวียดนาม | Hoa Nghiêm tông | ||||||||||||||||
ฮ้าน-โนม | 華嚴宗 | ||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||
ฮันกึล | 화엄종 | ||||||||||||||||
ฮันจา | 華嚴宗 | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||||
คันจิ | 華厳宗 | ||||||||||||||||
คานะ | けごん しゅう | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
ชื่อสันสกฤต | |||||||||||||||||
สันสกฤต | Avataṃsaka |
ประวัติ
ในราวพุทธศตวรรษที่ 9 ท่านพุทธภัทรได้แปลอวตังสกสูตรออกสู่พากย์จีน และต่อมาในสมัยราชวงศ์ถัง ท่านศึกษานันทะได้แปลอีกฉบับหนึ่ง ถือกันว่าเป็นฉบับที่สมบูรณ์ ตั้งแต่พระสูตรถูกแปลเป็นพากย์จีน ก็ถูกกับอุปนิสัยของชาวจีนมาก มีผู้ศึกษากันแพร่หลาย
ต่อมาในราวพุทธศตวรรษที่ 10-11 คณาจารย์ตู้ซุ่น (杜順) ได้เขียนนิพนธ์เรื่อง "ธรรมธาตุวิปัสสนา" (華嚴法界觀門) และปัญจศาสน์สมถวิปัสสนา (華嚴五教止觀) ได้สถาปนารากฐานของนิกายหัวเหยียนขึ้น ต่อมามีคณาจารย์ฝ่าจั้ง (法藏) หรือเสียนโส่ว (贤首) ได้เขียนอรรถกถาหลักธรรมในอวตังสกสูตร นิกายหัวเหยียนจึงเจริญรุ่งเรือง บางทีนิกายนี้ก็ชื่อว่า "เสียนโส่ว" ตามนามของคณาจารย์เสียนโส่ว นิกายนี้มีอิทธิพลคู่เคียงกันนิกายเทียนไท้ตลอดมา
ในช่วงปลายราชวงศ์ถัง นิกายหัวเหยียนเริ่มเสื่อมความนิยมลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการกวาดล้างพุทธศาสนาครั้งใหญ่ในรัชสมัยพระเจ้าถังอู่จง (หรือ การกวาดล้างพุทธศาสนาเมื่อปีค.ศ. 854) จนกระทั่งสูญหายไปจากแผ่นดินจีนในที่สุด ปัจจุบันคำสอนของนิกายนี้ยังเหลือที่เกาหลียังสืบสานแนวทางปริยัติอยู่บ้าง และที่ญี่ปุ่นยังคงไว้ที่สำนักวัดโทไดจิ เมืองนาระ ซึ่งในญี่ปุ่นเรียกว่านิกายเคะงง ส่วนในเกาหลีเรียกว่านิกายฮวาออม
คณาจารย์
นิกายหัวเหยียนมีคณาจารย์หรือบูรพาจารย์ 5 ท่าน สืบทอดมาตั้งแต่เริ่มสถาปนานิกายจนถึงยุครุ่งเรืองสูงสุด เรียกในภาษาจีนว่า "ปัญจบูรพาจารย์" (五祖) มีดังนี้
บูรพาจารย์รุ่นที่ 1 พระเถระตู้ซุ่น (杜順) หรือ มีช่วงชีวิตอยู่ระหว่างปีค.ศ. 557-640 เป็นผู้ริเริ่มใช้พระสูตรอวตังสกะสอนพุทธธรรม พระเจ้าถังไท่จงมอบสมัญญานามให้แก่ท่านว่า ตี้ซิน (帝心) ผู้คนเรียกท่านว่าอารยะตี้ซิน (帝心尊者) ท่านมีฉายาทางธรรมว่า ตี้ซิน ตู้ซุ่น (帝心杜順)
บูรพาจารย์รุ่นที่ 2 พระเถระจื้อเหยี่ยน (智儼) ได้วางรากฐานคำสอนของนิกายจนมีเอกลักษณ์เฉพาะตน ผู้คนเรียกท่านว่า อารยะจื้อเซียง (至相尊者) อนึ่งคำว่า อารยะในฝ่ายมหายาน เทียบเท่ากับคำว่าอรหันต์ หรืออริยะบุคคลในฝ่ายเถรวาท ท่านมีฉายาทางธรรมว่า หยุนหัว จื้อเหยียน (雲華智嚴)
บูรพาจารย์รุ่นที่ 3 พระเถระฝ่าจั้ง (法藏) นิกายหัวเหยียน ได้รับความนิยมแพร่หลายในหมู่ชน ได้รับพระบรมราชานุเคราะห์จากพระนางบูเช็กเทียน บางครั้งเรียกขานท่านว่า เสียนโส่ว ฝ่าจั้ง (賢首法藏) ตามฉายาทางธรรมของท่าน
บูรพาจารย์รุ่นที่ 4 พระเถระเฉิงกวน (澄觀) สืบต่อคำสอนจากรุ่นที่แล้ว เป็นพระราชครูของฮ่องเต้หลาย พระองค์ มีความสัมพันธ์แนบแน่นกับราชสำนักและวงการเมือง ได้รับสมัญญาว่าเป็นโพธิสัตว์หัวเหยียน ท่านมีฉายาทางธรรมว่า ชิงเหลียง เฉิงกวน (淸涼澄觀)
บูรพาจารย์รุ่นที่ 5 พระเถระจงมี่ (宗密) นำคำสอนของนิกายไปผสานเข้ากับการวิปัสนาทำสมาธิของนิกายฉาน ท่านมีฉายาทางธรรมว่า กุยเฟิง จงมี่ (圭峯宗密)
อย่างไรก็ตาม ยังมีการจัดคณาจารย์ของนิกายนี้ออกเป็น 7 ท่าน หรือ สัปตบูรพาจารย์ (七祖) โดยรวมเอา (馬鳴) และพระนาคารชุนะ (龍樹) เป็นต้นนิกายลำดับที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ทำให้พระเถระตู้ซุ่นเลื่อนมาเป็นลำดับที่ 3 ส่วนพระเถรจงมี่เป็นลำดับที่ 7 โดยการจัดลำดับเป็น 7 ท่านนี้เป็นผลงานของปราชญ์ยุคหลังนามว่า หลี่ถงเสวียน (李通玄)
หลักคำสอน
นิกายนี้สอนว่า สรรพสัตว์มีสภาวะเป็นเอกีภาพเรียกว่า "เอกสัตยธรรมธาตุ" ในอวตังสกสูตรมีพระพุทธพจน์ตรัสว่า "น่าอัศจรรย์หนอ ! สรรพสัตว์ทั้งหลาย ไฉนจึงบริบูรณ์ด้วยฌานปัญญาแห่งพระตถาคต เต็มเปี่ยมอยู่แล้วในตัวของเขาเอง" นอกจากนี้ คณาจารย์พระเถระเฉิงกวน แห่งนิกายนี้ยังกล่าวว่า "มหึมาจริงหนอ ! สัตยธาตุนี้ เป็นสมุฏฐานแห่งสิ่งทั้งปวง"
หากจะสรุป คำสอนอันเป็นเอกลักษณ์ของนิกายนี้คือ ทุกสรรพสิ่งล้วนแต่มีพุทธภาวะ นับแต่ปรมาณูจนถึงสากลจักรวาล โดยมีวาทะว่า "เอกะคือสรรพสิ่ง สรรพสิ่งคือเอกะ" นี่คือคำสอนอย่างรวบรับที่สุดของนิกายนี้ ดังปรากฏในพุทธาวตํสกะสูตร ความว่า
"ในทุกอณูฝุ่นผงของสากลโลก
ปรากฏสรรพโลกและสรรพุทธะ
ณ ปลายหนึ่งเกศาพระพุทธองค์
ปรากฏพุทธเกษตรแดนทิพย์มิถ้วน
ในพุทธเกษตรแดนทิพย์มิถ้วน
อยู่ ณ ปลายหนึ่งเกศาพระพุทธองค์"
การแบ่งหลักคำสอน
นิกายนี้แบ่งระยะกาลแห่งพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ออกเป็น 3 กาล เรียกว่า "ตรีการศาสน์" ได้แก่
- ปฐมกาล ทรงแสดงอวตังสกสูตร เปรียบด้วยพระอาทิตย์ในอรุณสมัยเริ่มแรกขึ้ต้องยอดเขาหลวง
- มัธยมกาล ทรงแสดงพระธรรมเป็นประโยชน์แก่บุคคลทั่วไปอุปมาดั่งแสงสุริยะในเวลาเที่ยง
- ปัจฉิมกาล ทรงแสดงธรรม ในการสรุปหลักธรรมในยานทั้งสามเป็นยานเดียว อุปมาดังพระอาทิตย์อัสดง ย่อมส่องแสงสู่ยอดเขาอีกวาระหนึ่ง
คัมภีร์สำคัญ
- ฝอซัวโตวซาจิง (佛說兜沙經) จำนวน 1 ผูก แปลโดยพระโลกเกษม สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก
- เหวินซูซือลี่เหวินผู่ซ่าซู่จิง (文殊師利問菩薩署經) จำนวน 1 ผูก แปลโดยพระโลกเกษม สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก
- ฝอซัวผู่ซ่าเปิ่นเย่จิง (佛說菩薩本業經) จำนวน 1 ผูก แปลโดยจือเชียน สมัยอาณาจักรง่อก๊ก
- จูผู่ซ่าฉิวฝูเปิ่นเย่จิง (諸菩薩求佛本業經) จำนวน 1 ผูก แปลโดยเนี่ยต้าวเจิน สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
- ผู่ซ่าสือจู้สิงต้าวผิ่น (菩薩十住行道品) จำนวน 1 ผูก แปลโดยพระธรรมรักษะ สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
- เจี้ยนเป่ยอิเชี้ยจื้อเต๋อจิง (漸備一切智德經) จำนวน 5 ผูก แปลโดยพระธรรมรักษะ สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
- เติ่งมู่ผูซ่าสั่วเหวินซานเม่ยจิง (等目菩薩所問三昧經) จำนวน 3 ผูก แปลโดยพระธรรมรักษะ สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
- ฝอซัวหรูไหลซิ่งเซี่ยนจิง (佛說如來興顯經) จำนวน 4 ผูก แปลโดยพระธรรมรักษะ สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
- ตู้ซื่อผิ่นจิง (度世品經) จำนวน 6 ผูก แปลโดยพระธรรมรักษะ สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
- พุทธาวตังสกมหาไพบูลสูตร หรือ ต้าฟางกว่างฝอหัวเหยียนจิง (大方廣佛華嚴經) จำนวน 60 ผูก แปลโดยพระพุทธภัทระ สมัยราชวงศ์จิ้นตะวันตก
คัมภีร์รอง
- หัวเหยียนฝ่าเจี้ยกวนเหมิน (華嚴法界觀門) หรือ "อวตังสกธรรมธาตุพิจารณ์ทวารบท"
ปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
- (大方廣佛華嚴經感應傳) ปกรณ์ว่าด้วยอานิสงส์เกี่ยวกับพุทธาวตังสกสูตร
- หัวเหยียนจิงก่านอิ้งลวื่อจี้ (華嚴經感應略記) หรือ บันทึกสังเขปว่าด้วยอานิสงส์เกี่ยวกับอวตังสกสูตร
- (華嚴經感應緣起傳) หรือ ปกรณ์ว่าด้วยมูลเหตุแห่งอานิสงส์เกี่ยวกับอวตังสกสูตร
อ้างอิง
- ปรัชญามหายาน, หน้า
- A Dictionary of Chinese Buddhist Terms, p.
- Cook, Francis H (1977), Hua-Yen Buddhism: The Jewel Net of Indra, Penn State Press,
- Hamar, Imre, ed. (2007), Reflecting Mirrors: Perspectives on Huayan Buddhism. Wiesbaden: Harrassowitz Verlag
- Dumoulin, Heinrich (2005-A), Zen Buddhism: A History. Volume 1: India and China, World Wisdom Books,
ข้อมูล
- Buswell, Robert E. (1991), The "Short-cut" Approach of K'an-hua Meditation: The Evolution of a Practical Subitism in Chinese Ch'an Buddhism. In: Peter N. Gregory (editor)(1991), Sudden and Gradual. Approaches to Enlightenment in Chinese Thought, Delhi: Motilal Banarsidass Publishers Private Limited
- Cleary, Thomas, trans. (1993). The Flower Ornament Scripture: A Translation of the Avatamsaka Sūtra. ISBN
- Cook, Francis H (1977), Hua-Yen Buddhism: The Jewel Net of Indra, Penn State Press, ISBN
- Dumoulin, Heinrich (2005-A), Zen Buddhism: A History. Volume 1: India and China, World Wisdom Books, ISBN
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|year=
((help)) - Garfield, Jay L.; Edelglass, William (2011), The Oxford Handbook of World Philosophy, ISBN
- Hamar, Imre (2007), (PDF), Wiesbaden: Harrassowitz, ISBN , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ April 12, 2014
- Lai, Whalen (2003), (PDF), New York: Routledge, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ November 12, 2014
- Wright, Dale S. (1982), , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 12, 2014
- William Edward Soothill. (1934). A Dictionary of Chinese Buddhist Terms. Oxford.
- เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ. มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อ่านเพิ่ม
- Cleary, Thomas (1995). Entry Into the Inconceivable: An Introduction to Hua-Yen Buddhism, University of Hawaii Press; Reprint edition. ISBN (Essays by Tang Dynasty Huayen masters)
- Fa Zang (2014). "Rafter Dialogue" and "Essay on the Golden Lion," in and , eds., Readings in Later Chinese Philosophy. Indianapolis: Hackett Publishing. ISBN
- Gimello, Robert; Girard, Frédéric; Hamar, Imre (2012). Avataṃsaka Buddhism in East Asia: Huayan, Kegon, Flower Ornament Buddhism ; origins and adaptation of a visual culture, Asiatische Forschungen: Monographienreihe zur Geschichte, Kultur und Sprache der Völker Ost- u. Zentralasiens, Wiesbaden: Harrassowitz, ISBN .
- Gregory, Peter N. (1983). The place of the Sudden Teaching within the Hua-Yen tradition:an investigation of the process of doctrinal change, Journal of the International Association of Buddhist Studies 6 (1), 31 - 60
- Haiyun Jimeng (2006). The Dawn of Enlightenment - The Opening Passage of Avatamsaka Sutra with a Commentary, Kongting Publishing. ISBN
- Hamar, Imre, ed. (2007), Reflecting Mirrors: Perspectives on Huayan Buddhism. Wiesbaden: Harrassowitz Verlag
- Prince, Tony (2020), Universal Enlightenment - An introduction to the Teachings and Practices of Huayen Buddhism (2nd edn.). Amazon Kindle Book. ASIN B08C37PG7G
แหล่งข้อมูลอื่น
- Chang Chung-Yuan, The World of Shih & Li of Tung-Shan
- Flower Adornment Sutra - Hua Yan Jing - Avatamsaka Original Text
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nikayhwehyiyn hrux hwaehyiyn cin 華嚴宗 hruxnikayxwtngska epnhnunginnikayinsasnaphuththfaymhayan thuxphuthththrrmkhasngsxninxwtngsksutr hruxphuththawtngskmhaiwpulysutr epnhlk nikaynikxtngkhuninchwngplayrachwngssuy rungeruxngthungkhidsudinsmyrachwngsthnghwehyiynsamphuyingihyaehnghwehyiyn nganaekaslkhinaehngtacu chngching praethscinchuxphasacinphasacin华严宗xksrcintwetm華嚴宗karthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxinHuayan zōngewd iclsHua yen tsungphasakwangtungmatrthany hwidephngFa4 yim4 zung1phasahminitHua ngiam tsongchuxphasaewiydnamphasaewiydnamHoa Nghiem tonghan onm華嚴宗chuxphasaekahlihnkul화엄종hnca華嚴宗karthxdesiyngexmxarHwa eom jongchuxphasayipunkhnci華厳宗khanaけごん しゅうkarthxdesiyngormaciKegon shuchuxsnskvtsnskvtAvataṃsakaprawtiinrawphuththstwrrsthi 9 thanphuththphthridaeplxwtngsksutrxxksuphakycin aelatxmainsmyrachwngsthng thansuksannthaidaeplxikchbbhnung thuxknwaepnchbbthismburn tngaetphrasutrthukaeplepnphakycin kthukkbxupnisykhxngchawcinmak miphusuksaknaephrhlay txmainrawphuththstwrrsthi 10 11 khnacarytusun 杜順 idekhiynniphntheruxng thrrmthatuwipssna 華嚴法界觀門 aelapycsasnsmthwipssna 華嚴五教止觀 idsthapnarakthankhxngnikayhwehyiynkhun txmamikhnacaryfacng 法藏 hruxesiynosw 贤首 idekhiynxrrthkthahlkthrrminxwtngsksutr nikayhwehyiyncungecriyrungeruxng bangthinikaynikchuxwa esiynosw tamnamkhxngkhnacaryesiynosw nikaynimixiththiphlkhuekhiyngknnikayethiynithtlxdma inchwngplayrachwngsthng nikayhwehyiynerimesuxmkhwamniymlng odyechphaaxyangyingphayhlngkarkwadlangphuththsasnakhrngihyinrchsmyphraecathngxucng hrux karkwadlangphuththsasnaemuxpikh s 854 cnkrathngsuyhayipcakaephndincininthisud pccubnkhasxnkhxngnikayniyngehluxthiekahliyngsubsanaenwthangpriytixyubang aelathiyipunyngkhngiwthisankwdothidci emuxngnara sunginyipuneriykwanikayekhangng swninekahlieriykwanikayhwaxxmkhnacarynikayhwehyiynmikhnacaryhruxburphacary 5 than subthxdmatngaeterimsthapnanikaycnthungyukhrungeruxngsungsud eriykinphasacinwa pycburphacary 五祖 midngni burphacaryrunthi 1 phraethratusun 杜順 hrux michwngchiwitxyurahwangpikh s 557 640 epnphurierimichphrasutrxwtngskasxnphuthththrrm phraecathngithcngmxbsmyyanamihaekthanwa tisin 帝心 phukhneriykthanwaxaryatisin 帝心尊者 thanmichayathangthrrmwa tisin tusun 帝心杜順 burphacaryrunthi 2 phraethracuxehyiyn 智儼 idwangrakthankhasxnkhxngnikaycnmiexklksnechphaatn phukhneriykthanwa xaryacuxesiyng 至相尊者 xnungkhawa xaryainfaymhayan ethiybethakbkhawaxrhnt hruxxriyabukhkhlinfayethrwath thanmichayathangthrrmwa hyunhw cuxehyiyn 雲華智嚴 burphacaryrunthi 3 phraethrafacng 法藏 nikayhwehyiyn idrbkhwamniymaephrhlayinhmuchn idrbphrabrmrachanuekhraahcakphranangbuechkethiyn bangkhrngeriykkhanthanwa esiynosw facng 賢首法藏 tamchayathangthrrmkhxngthan burphacaryrunthi 4 phraethraechingkwn 澄觀 subtxkhasxncakrunthiaelw epnphrarachkhrukhxnghxngethlay phraxngkh mikhwamsmphnthaenbaennkbrachsankaelawngkaremuxng idrbsmyyawaepnophthistwhwehyiyn thanmichayathangthrrmwa chingehliyng echingkwn 淸涼澄觀 burphacaryrunthi 5 phraethracngmi 宗密 nakhasxnkhxngnikayipphsanekhakbkarwipsnathasmathikhxngnikaychan thanmichayathangthrrmwa kuyefing cngmi 圭峯宗密 xyangirktam yngmikarcdkhnacarykhxngnikaynixxkepn 7 than hrux sptburphacary 七祖 odyrwmexa 馬鳴 aelaphranakharchuna 龍樹 epntnnikayladbthi 1 aela 2 tamladb thaihphraethratusuneluxnmaepnladbthi 3 swnphraethrcngmiepnladbthi 7 odykarcdladbepn 7 thanniepnphlngankhxngprachyyukhhlngnamwa hlithngeswiyn 李通玄 hlkkhasxnnikaynisxnwa srrphstwmisphawaepnexkiphapheriykwa exkstythrrmthatu inxwtngsksutrmiphraphuththphcntrswa naxscrryhnx srrphstwthnghlay ichncungbriburndwychanpyyaaehngphratthakht etmepiymxyuaelwintwkhxngekhaexng nxkcakni khnacaryphraethraechingkwn aehngnikayniyngklawwa mhumacringhnx stythatuni epnsmutthanaehngsingthngpwng hakcasrup khasxnxnepnexklksnkhxngnikaynikhux thuksrrphsinglwnaetmiphuththphawa nbaetprmanucnthungsaklckrwal odymiwathawa exkakhuxsrrphsing srrphsingkhuxexka nikhuxkhasxnxyangrwbrbthisudkhxngnikayni dngpraktinphuththawtskasutr khwamwa inthukxnufunphngkhxngsaklolk praktsrrpholkaelasrrphuththa n playhnungeksaphraphuththxngkh praktphuththekstraednthiphymithwn inphuththekstraednthiphymithwn xyu n playhnungeksaphraphuththxngkh karaebnghlkkhasxnnikayniaebngrayakalaehngphrathrrmethsnakhxngphraphuththxngkhxxkepn 3 kal eriykwa trikarsasn idaek pthmkal thrngaesdngxwtngsksutr epriybdwyphraxathityinxrunsmyerimaerkkhutxngyxdekhahlwng mthymkal thrngaesdngphrathrrmepnpraoychnaekbukhkhlthwipxupmadngaesngsuriyainewlaethiyng pcchimkal thrngaesdngthrrm inkarsruphlkthrrminyanthngsamepnyanediyw xupmadngphraxathityxsdng yxmsxngaesngsuyxdekhaxikwarahnungkhmphirsakhyfxswotwsacing 佛說兜沙經 canwn 1 phuk aeplodyphraolkeksm smyrachwngshntawnxxk ehwinsusuxliehwinphusasucing 文殊師利問菩薩署經 canwn 1 phuk aeplodyphraolkeksm smyrachwngshntawnxxk fxswphusaepineycing 佛說菩薩本業經 canwn 1 phuk aeplodycuxechiyn smyxanackrngxkk cuphusachiwfuepineycing 諸菩薩求佛本業經 canwn 1 phuk aeplodyeniytawecin smyrachwngscintawntk phusasuxcusingtawphin 菩薩十住行道品 canwn 1 phuk aeplodyphrathrrmrksa smyrachwngscintawntk eciynepyxiechiycuxetxcing 漸備一切智德經 canwn 5 phuk aeplodyphrathrrmrksa smyrachwngscintawntk etingmuphusaswehwinsanemycing 等目菩薩所問三昧經 canwn 3 phuk aeplodyphrathrrmrksa smyrachwngscintawntk fxswhruihlsingesiyncing 佛說如來興顯經 canwn 4 phuk aeplodyphrathrrmrksa smyrachwngscintawntk tusuxphincing 度世品經 canwn 6 phuk aeplodyphrathrrmrksa smyrachwngscintawntk phuththawtngskmhaiphbulsutr hrux tafangkwangfxhwehyiyncing 大方廣佛華嚴經 canwn 60 phuk aeplodyphraphuththphthra smyrachwngscintawntkkhmphirrxnghwehyiynfaeciykwnehmin 華嚴法界觀門 hrux xwtngskthrrmthatuphicarnthwarbth pkrnthiekiywkhxng 大方廣佛華嚴經感應傳 pkrnwadwyxanisngsekiywkbphuththawtngsksutr hwehyiyncingkanxinglwuxci 華嚴經感應略記 hrux bnthuksngekhpwadwyxanisngsekiywkbxwtngsksutr 華嚴經感應緣起傳 hrux pkrnwadwymulehtuaehngxanisngsekiywkbxwtngsksutrxangxingprchyamhayan hna A Dictionary of Chinese Buddhist Terms p Cook Francis H 1977 Hua Yen Buddhism The Jewel Net of Indra Penn State Press Hamar Imre ed 2007 Reflecting Mirrors Perspectives on Huayan Buddhism Wiesbaden Harrassowitz Verlag Dumoulin Heinrich 2005 A Zen Buddhism A History Volume 1 India and China World Wisdom Books khxmulBuswell Robert E 1991 The Short cut Approach ofK an hua Meditation The Evolution of a Practical Subitism in Chinese Ch an Buddhism In Peter N Gregory editor 1991 Sudden and Gradual Approaches to Enlightenment in Chinese Thought Delhi Motilal Banarsidass Publishers Private Limited Cleary Thomas trans 1993 The Flower Ornament Scripture A Translation of the Avatamsaka Sutra ISBN 0 87773 940 4 Cook Francis H 1977 Hua Yen Buddhism The Jewel Net of Indra Penn State Press ISBN 0 271 02190 X Dumoulin Heinrich 2005 A Zen Buddhism A History Volume 1 India and China World Wisdom Books ISBN 978 0 941532 89 1 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a trwcsxbkhawnthiin year help Garfield Jay L Edelglass William 2011 The Oxford Handbook of World Philosophy ISBN 9780195328998 Hamar Imre 2007 PDF Wiesbaden Harrassowitz ISBN 978 3447055093 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux April 12 2014 Lai Whalen 2003 PDF New York Routledge khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux November 12 2014 Wright Dale S 1982 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux April 12 2014 William Edward Soothill 1934 A Dictionary of Chinese Buddhist Terms Oxford esthiyr ophthinntha prchyamhayan krungethph mhamkutrachwithyaly xanephimCleary Thomas 1995 Entry Into the Inconceivable An Introduction to Hua Yen Buddhism University of Hawaii Press Reprint edition ISBN 0824816978 Essays by Tang Dynasty Huayen masters Fa Zang 2014 Rafter Dialogue and Essay on the Golden Lion in and eds Readings in Later Chinese Philosophy Indianapolis Hackett Publishing ISBN 978 1624661907 Gimello Robert Girard Frederic Hamar Imre 2012 Avataṃsaka Buddhism in East Asia Huayan Kegon Flower Ornament Buddhism origins and adaptation of a visual culture Asiatische Forschungen Monographienreihe zur Geschichte Kultur und Sprache der Volker Ost u Zentralasiens Wiesbaden Harrassowitz ISBN 978 3 447 06678 5 Gregory Peter N 1983 The place of the Sudden Teaching within the Hua Yen tradition an investigation of the process of doctrinal change Journal of the International Association of Buddhist Studies 6 1 31 60 Haiyun Jimeng 2006 The Dawn of Enlightenment The Opening Passage of Avatamsaka Sutra with a Commentary Kongting Publishing ISBN 986748410X Hamar Imre ed 2007 Reflecting Mirrors Perspectives on Huayan Buddhism Wiesbaden Harrassowitz Verlag Prince Tony 2020 Universal Enlightenment An introduction to the Teachings and Practices of Huayen Buddhism 2nd edn Amazon Kindle Book ASIN B08C37PG7GaehlngkhxmulxunChang Chung Yuan The World of Shih amp Li of Tung Shan Flower Adornment Sutra Hua Yan Jing Avatamsaka Original Text