นกอีแพรด | |
---|---|
(Rhipidura albiscapa) | |
(Rhipidura javanica) ที่พบที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Aves |
อันดับ: | Passeriformes |
วงศ์: | Rhipiduridae |
สกุล: | Rhipidura & , 1827 |
ชนิด | |
มากกว่า 40 ชนิด (ดูเนี้อหา) |
นกอีแพรด หรือ สกุลนกอีแพรด (อังกฤษ: fantail; ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhipidura) เป็นสกุลของขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์นกอีแพรด (Rhipiduridae) นกในสกุลนี้ส่วนใหญ่มีความยาวประมาณ 15 ถึง 18 เซนติเมตร (5.9 ถึง 7.1 นิ้ว) มีลักษณะเด่นที่หางแพนค่อนข้างยาว และหาอาหารโดยการจับแมลงกลางอากาศ มีถิ่นกำเนิดตั้งแต่ในอนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงออสตราเลเซีย นกสกุลนี้มี 44 ชนิดทั่วโลก ปัจจุบันในประเทศไทยพบเพียง 4 ชนิด
ก่อนหน้านี้นกอีแพรดท้องเหลืองเคยถูกจัดให้อยู่ในสกุลนกอีแพรด ปัจจุบันอยู่ในสกุล Chelidorhynx ของวงศ์นกจับแมลง () บางครั้งคนมักสับสนว่านกอีแพรดบางชนิด เช่นเป็นนกกางเขนบ้าน หรือนกเด้าลม
ลักษณะทางกายวิภาค
นกอีแพรดเป็นนกที่มีลำตัวขนาดเล็กยาวประมาณ 11.5–21 เซนติเมตร มีหางที่ยาว ซึ่งยาวกว่าปีกของมันเอง บางชนิดมีหางที่ยาวกว่าขนาดลำตัว เมื่อหางหุบเข้า ปลายหางกลมมน เมื่อหางกางออก หางเป็นรูปพัดเรียก "หางแพน"
เมื่อเกาะคอน นกอีแพรดมักมีท่าทางค่อมหัวลงจนราบเสมอกับลำตัว โดยจะห้อยปีกลงและผ่อนออกจากลำตัว ส่วนหางกระดกงอขึ้นกึ่งหนึ่ง แต่ในบางชนิดเช่น และ ซึ่งหางจะงอตั้งตรงไปข้างหน้ามากกว่าคล้ายนกแซวสวรรค์
ปลายปีกของนกอีแพรดเรียวแหลม ซึ่งไม่ช่วยให้บินร่อนได้อย่างรวดเร็ว แต่เพื่อความว่องไวและประสิทธิภาพในการควบคุมทิศทาง โดยเฉพาะการโฉบตามจับแมลงกลางอากาศ โดยส่วนใหญ่นกอีแพรดหลายชนิดมีปีกที่แข็งแรง ทำให้สามารถบินได้เป็นเวลานาน โดยบางชนิดมีความสามารถในการอพยพได้เป็นระยะทางไกล แต่บางชนิดที่มีขนหางที่หนาดกซึ่งทำให้เป็นนกที่มักบินในระยะทางสั้น ๆ และจำเป็นต้องลงเกาะคอนบ่อย ๆ
จะงอยปากของนกอีแพรด โดยทั่วไปค่อนข้างแบนและเป็นรูปสามเหลี่ยม ซึ่งเหมาะกับการจับเหยื่อกลางอากาศ มีขนยาวขึ้นโดยรอบจะงอยปากโดยเฉพาะด้านข้าง 2 ข้างที่คล้ายพุ่มขนเปรง ขนนี้ส่วนมากมีความยาวพอ ๆ กับความยาวของจะงอยปาก โดยทั่วไปกล้ามเนื้อที่ควบคุมจะงอยปากของนกอีแพรดไม่แข็งแรงนัก ทำให้จำกัดชนิดเหยื่อที่มันจับได้ไว้เพียงแมลงจำพวกที่ไม่มีเปลือกหรือปีกที่แข็ง ซึ่งมีข้อยกเว้นในนกอีแพรดบางชนิดที่อาศัยตามพื้นดิน
ขนของนกอีแพรดส่วนใหญ่มีความแตกต่างกัน ส่วนมากมีลายหรือเครื่องหมายบนขนในตำแหน่งที่เป็นเอกลักษณ์ของสกุลที่คล้ายกัน ต่างกันที่สีของลายซึ่งทำให้ดูต่างกัน สีขนโดยรวมของนกในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นสีเทา สีดำ สีขาว และสีน้ำตาล แม้ว่าบางชนิดอาจมีขนสีเหลืองหรือสีน้ำเงินที่เหลือบแสงก็ตาม และโดยส่วนใหญ่หลายชนิดไม่มีปรากฏในขนนก ยกเว้นบางชนิดที่โดดเด่นเช่น ซึ่งตัวผู้มีขนสีดำล้วนและตัวเมียมีสีน้ำตาลล้วน ในบางชนิดเช่น มีสองลักษณะย่อยที่ต่างสีกันคือ สีด่างแบบธรรมดาและสีดำล้วนที่หายากกว่า (ซึ่งพบมากในเกาะใต้)
ถิ่นที่อยู่และการกระจายพันธุ์
นกอีแพรดเป็นสกุลของนกที่มีถิ่นที่อยู่และกระจายกลุ่มประชากรตั้งแต่ทางตะวันตกสุดในอนุทวีปอินเดียตอนเหนือ จนถึงตะวันออกสุดในแถบออสตราเลเซียที่หมู่เกาะซามัว ทางใต้สุดที่ประเทศนิวซีแลนด์ ประชากรในส่วนการกระจายพันธุ์แถบตะวันออกซึ่งเป็นหมู่เกาะในแปซิฟิคนั้น หลายชนิดเป็นของเกาะนั้น ๆ เช่น นกอีแพรดคาดาวู แต่โดยมากชนิดส่วนใหญ่ของสกุลอาศัยในประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และประเทศใน ที่เหลือกระจายอยู่ตามประเทศจีนตอนใต้ อินเดีย และบางส่วนของเทือกเขาหิมาลัย บางชนิดมีแถบการกระจายพันธุ์ที่กว้างมากเช่น นกอีแพรดสีเทา นกอีแพรดคอขาว
นกในสกุลนกอีแพรดเกือบทุกชนิด เป็นนกในเขตร้อน, เป็นชนิดที่โดดเดี่ยวโดยทางภูมิศาสตร์, เป็นนกประจำถิ่น และไม่เป็นนกย้ายถิ่น (นกอพยพ) บางครั้งนกอีแพรดเฉพาะชนิดที่อาศัยทางตอนเหนือสุดหรือใต้สุดอาจมีการย้ายถิ่นแต่ไม่เป็นไปตามแบบแผน และต่างกันในแต่ละชนิด เช่น นกอีแพรดท้องเหลืองของเทือกเขาหิมาลัยเป็นนกที่ย้ายถิ่นตามระดับความสูง โดยมีระยะการผสมพันธุ์ที่ระดับความสูง 1,500 ถึง 4,000 เมตร และย้ายถิ่นลงมาระดับต่ำที่ประมาณ 180 เมตรในฤดูหนาว นกอีแพรดบางชนิดในออสเตรเลียอพยพตามฤดู แม้รูปแบบจะไม่เหมือนกันในแต่ละชนิด เช่น นกอีแพรดสีน้ำตาลมีพฤติกรรมอพยพในบางส่วนของกลุ่มประชากรเท่านั้นคือเฉพาะกลุ่มประชากรทางตอนตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลียจะอพยพเป็นฝูงขนาดใหญ่สู่ทางเหนือของรัฐควีนส์แลนด์และนิวกินี
นกในสกุลนี้มีถิ่นที่อยู่ที่หลากหลายอย่างมากซึ่งโดยทั่วไปอาศัยในป่าดิบชื้น โดยหลายชนิดสามารถปรับตัวอาศัยได้ในพื้นที่ที่หลากหลายได้แก่ เขตแห้งแล้งและป่าชายเลน แม้กระทั่งพื้นที่ที่ถูกปรับสภาพอย่างสิ้นเชิงเช่น หรือ แต่เฉพาะนกในสกุลนี้ที่มีถิ่นอาศัยในป่าชายเลนนั้นสามารถปรับตัวอาศัยได้ในพื้นที่หลากหลายได้น้อยที่สุด คืออาศัยได้เฉพาะป่าชายเลนและพื้นที่รอบข้างเท่านั้น และยังต้องทิ้งระยะห่างจากนกอีแพรดอื่นในวงรัศมี 3 กิโลเมตร
โดยทั่วไปนกอีแพรดบางชนิดที่มีสายวิวัฒนาการในช่วงต้นของสกุลมักจำกัดอยู่เฉพาะป่าฝนปฐมภูมิ แต่สปีชีส์อื่น ๆ ส่วนใหญ่สามารถอยู่รอดได้ในป่าที่ถูกมนุษย์รบกวนแล้ว ชนิดที่ปรับตัวได้มากที่สุดคือ นกอีแพรดวิลลีซึ่งพบอยู่มากมายในแหล่งที่อยู่ทุกประเภทในออสเตรเลีย ยกเว้นป่าดิบชื้นที่หนาแน่น
พฤติกรรมและนิเวศวิทยา
นกอีแพรดหลายชนิดยังไม่ได้รับการศึกษาพฤติกรรม แต่โดยรวมนกในสกุลนกอีแพรดมีพฤติกรรมที่เฉพาะตัวของสกุล จากการสังเกตพฤติกรรมโดยสังเขปของนกในสกุลด้วยการเปรียบเทียบนกบางชนิดที่ได้รับการศึกษาไม่มากกับชนิดที่ได้รับการศึกษาเป็นอย่างดี ชี้ให้เห็นถึงความคล้ายคลึงกันในระดับสูงของพฤติกรรมที่เฉพาะตัวของสกุลดังกล่าว คือ นกอีแพรดเป็นนกที่มีความว่องไวปราดเปรียวสูง นกอีแพรดที่มีขนาดเล็กหลายชนิดในสกุลมักเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องอยู่ตลอด แม้เมื่อเกาะคอนอยู่พวกมันยังโยกตัว เต้นไปมา หรือหมุนกลับตัวหน้าหลัง กระดกหางขึ้นลงหรือรำแพนหาง (คลี่กางออก) และหุบ หรือกระดกหางลงซ้ายสลับขวา ในขณะบินพวกมันมีความว่องไวสูงและสามารถบินโฉบวนรอบแบบผาดโผน ซึ่งแสดงความสลับซับซ้อนในการบินอย่างสูง โดยที่มักคลี่หางออกเพื่อจับแมลงขณะบินกลางอากาศ
อาหารและการหาอาหาร
อาหารส่วนใหญ่ของนกอีแพรด ได้แก่ แมลงขนาดเล็กและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง นกอีแพรดวิลลีที่มีขนาดใหญ่กว่านั้นสามารถจัดการกับจิ้งเหลนหรือจิ้งจกขนาดเล็กได้ ซึ่งพบได้ไม่บ่อย เหยื่อแมลงของนกอีแพรดโดยทั่วไปมีขนาดเล็กและจัดการได้ง่าย โดยบางครั้งหากเหยื่อมีขนาดใหญ่จำเป็นต้องถูกทำให้เล็กลงด้วยขบกระแทกกิ่งไม้เพื่อเอาปีกของแมลงนั้นออกเช่น
มีการหาอาหารสองวิธีที่คล้ายกันที่นกในสกุลนี้ใช้เพื่อหาเหยื่อ อย่างแรกเรียกว่า "การค้นหาแบบอยู่กับที่" โดยที่นกอีแพรดจะเกาะอยู่ที่คอนและเฝ้าดูเหยื่อที่บินในอากาศซึ่งจากนั้นจะบินเข้าหาและฉกเหยื่อจากอากาศ ก่อนที่จะบินกลับไปที่เกาะที่คอนเดิมเพื่อกินและหาเหยื่อตัวอื่นต่อไป วิธีที่สองที่ใช้เรียกว่า "การค้นหาแบบเข้าหา" โดยที่นกอีแพรดเคลื่อนที่ผ่านกลุ่มพุ่มไม้หรือพืชพรรณต่าง ๆ เพื่อค้นหาแมลงจากการรวบรวมโดยการโบกขยับหางนก (กางและหุบ) ทำให้เหยื่อที่ซ่อนอยู่ให้ตกใจและออกมา เช่น นกอีแพรดวิลลีใช้เทคนิคนี้ในการหาอาหารบนพื้นดินโล่ง โดยกระดกหางจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่งและพุ่งตัวอย่างรวดเร็วเพื่อจิกเหยื่อ
นกอีแพรดมักเข้ากลุ่มกับนกชนิดอื่นหรือสัตว์อื่นเพื่อหาอาหาร บางชนิดชอบเกาะอยู่บนหลังปศุสัตว์ ซึ่งพวกมันใช้เป็นทั้งจุดมองหาอาหารที่ดี และเนื่องจากบนผิวหนังของวัวควายหรือขนแกะมักชุกชุมไปด้วยแมลง รวมทั้งในทางอ้อมสัตว์เหล่านี้ยังช่วยคุ้ยเขี่ยไล่แมลงตามพงหญ้าให้บินออกมา พฤติกรรมนี้ทำให้นกอีแพรดเช่น นกอีแพรดวิลลีมีชื่อเล่นว่า "สหายของคนเลี้ยงแกะ"
นกอีแพรดมักมีพฤติกรรมก้าวร้าวและไม่เกรงกลัวมนุษย์ ชอบอยู่ใกล้เพื่อจับแมลงที่ถูกมนุษย์ไล่ออกมา ยังสามารถพบนกอีแพรดชนิดต่างกันรวมฝูงกันหาอาหาร หรือบินร่วมกับนกกินแมลงขนาดเล็กอื่น ๆ โดยเฉพาะบริเวณชายขอบของฝูงนกเหล่านั้นโดยใช้ประโยชน์จากการไล่ล่าเหยื่อของฝูงนกทำให้แมลงกลุ่มใหญ่กระพือกันออกมาโดยรอบ
การผสมพันธุ์
นกอีแพรดเป็นนกที่มีเขตอาณานิคม และมีพฤติกรรมก้าวร้าวในการปกป้องอาณานิคมของมันจากผู้บุกรุกทั้งนกชนิดเดียวกันและนกอีแพรดชนิดอื่น รวมทั้งนกกินแมลงอื่น ในเขตอาณานิคมนี้นกตัวเมียจะทำหน้าที่เลือกจุดตำแหน่งในการสร้างรัง รังใหม่มักอยู่ไม่ไกลจากรังเก่าของปีก่อนหน้า นกทั้งสองเพศจะช่วยกันสร้างรัง ฟักไข่ และเลี้ยงลูกนก รังของนกอีแพรดมีขนาดพอ ๆ กับและคล้ายกับถ้วยขนาดเล็ก ประกอบขึ้นด้วยวัสดุต่าง ๆ และสานด้วยเส้นใยคล้ายใยแมงมุม ใช้เวลาประมาณ 10 วันในการสร้างรัง นกอีแพรดหลายชนิดใช้ขนหางของมันประกอบการปูพื้นรังหรือเป็นโครงด้านฐานรังซึ่งอาจทำให้รูปทรงของรังไม่แน่นอน นกบางชนิดยังมีพฤติกรรมพรางรัง รังมักอยู่ในที่ต่ำนกจึงชดเชยมุมการมองที่ไม่สามารถมองเห็นผู้ล่าจากระยะไกลด้วยพฤติกรรมการปกป้องลูกนกที่ก้าวร้าวโดยการบินโฉบสัตว์ที่เข้ามารบกวนอย่างอุกอาจ
นกอีแพรดบางครั้งล่อสัตว์ที่มันคิดว่าเป็นผู้ล่าด้วยการแกล้งเจ็บและให้ติดตามในทิศทางที่ห่างออกไปจากรัง ขณะเดียวกันนั้นนกตัวผู้จะคอยบินติดตามโฉบจิกไล่สัตว์นั้นให้ล่าถอย ด้วยพฤติกรรมเหล่านี้ทำให้นกอีแพรดประสบความสำเร็จในการปกป้องรังแม้ตำแหน่งของรังจะต่ำมากก็ตาม
ชนิด
อ้างอิงจากรายชื่อของสมาพันธ์ปักษีวิทยานานาชาติ (IOC) เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ.2021 ดังนี้
- นกอีแพรดสีน้ำเงินมินดาเนา, Rhipidura superciliaris
- นกอีแพรดสีน้ำเงินวิสายัน, Rhipidura samarensis
- นกอีแพรดหัวสีน้ำเงิน, Rhipidura cyaniceps
- นกอีแพรดทาบราส, Rhipidura sauli
- นกอีแพรดวิสายัน, Rhipidura albiventris
- นกอีแพรดท้องสีน้ำตาลแดง, Rhipidura hyperythra
- นกอีแพรดเฟรนด์ลี, Rhipidura albolimbata
- นกอีแพรดสีเทา, Rhipidura albiscapa
- นกอีแพรดนิวซีแลนด์, Rhipidura fuliginosa
- นกอีแพรดลอร์ดโฮว์, Rhipidura fuliginosa cervina (ชนิดย่อย) สูญพันธุ์แล้ว (เมื่อปี 1925)
- นกอีแพรดป่าชายเลน, Rhipidura phasiana
- นกอีแพรดสีน้ำตาล, Rhipidura drownei
- นกอีแพรดมากีรา, Rhipidura tenebrosa
- นกอีแพรดเรนเนล, Rhipidura rennelliana
- นกอีแพรดลาย, Rhipidura verreauxi
- นกอีแพรดคาดาวู, Rhipidura personata
- นกอีแพรดซามัว, Rhipidura nebulosa
- นกอีแพรดสุลาเวสี, Rhipidura teysmanni
- นกอีแพรดตาลีอาบู, Rhipidura sulaensis
- นกอีแพรดแถบหลังสีน้ำตาลอ่อน, Rhipidura superflua
- นกอีแพรดอกริ้ว, Rhipidura dedemi
- นกอีแพรดหางยาว, Rhipidura opistherythra
- นกอีแพรดปาลาอู, Rhipidura lepida
- นกอีแพรดหลังสีน้ำตาลอ่อน, Rhipidura rufidorsa
- นกอีแพรดบิสมาร์ค, Rhipidura dahli
- นกอีแพรดมาสเซา, Rhipidura matthiae
- นกอีแพรดมาลาอีตา, Rhipidura malaitae
- นกอีแพรดอาราฟูรา, Rhipidura dryas
- นกอีแพรดโพนเพย์, Rhipidura kubaryi
- นกอีแพรดสีน้ำตาลอ่อน, Rhipidura rufifrons
- นกอีแพรดสีน้ำตาลอ่อนกวม, Rhipidura rufifrons uraniae (ชนิดย่อย) สูญพันธุ์แล้ว (เมื่อปี 1984)
- นกอีแพรดมานุส, Rhipidura semirubra
- นกอีแพรดสองสี, Rhipidura brachyrhyncha
- นกอีแพรดดำ, Rhipidura atra
- นกอีแพรดน้ำตาลดำl, Rhipidura nigrocinnamomea
- นกอีแพรดหางสีน้ำตาลอ่อน, Rhipidura phoenicura
- นกอีแพรดท้องขาว, Rhipidura euryura
- , Rhipidura perlata
- , Rhipidura aureola
- (Malaysian pied fantail), Rhipidura javanica
- นกอีแพรดแถบอกดำฟิลิปปินส์ (Philippine pied fantail), Rhipidura nigritorquis
- , Rhipidura albicollis
- นกอีแพรดลายจุดขาว, Rhipidura albogularis
- นกอีแพรดหมวกน้ำตาล, Rhipidura diluta
- นกอีแพรดหางสีน้ำตาลเทา, Rhipidura fuscorufa
- นกอีแพรดเหนือ, Rhipidura rufiventris
- นกอีแพรดเบียค, Rhipidura kordensis
- นกอีแพรดปีกขาว (Cockerell's fantail or white-winged fantail), Rhipidura cockerelli
- นกอีแพรดสีเทาหางหนา, Rhipidura threnothorax
- นกอีแพรดหางหนาท้องขาว, Rhipidura leucothorax
- นกอีแพรดสีดำหางหนา, Rhipidura maculipectus
- นกอีแพรดวิลลี, Rhipidura leucophrys
- นกอีแพรดเปเล็ง, Rhipidura habibiei
ชนิดที่พบในประเทศไทย
มี 4 ชนิด ได้แก่
- (Spotted fantail, Rhipidura perlata) ถิ่นอาศัยหลัก คือป่าชายเลนหรือป่าละเมาะใกล้ชายฝั่งทะเล
- (White-browed fantail, Rhipidura aureola)
- (Malaysian pied fantail), Rhipidura javanica)
- (White-throated fantail, Rhipidura albicollis)
ชนิดที่เคยอยู่ในสกุลนี้
ก่อนหน้านี้มีนกอีแพรดบางชนิดเคยได้รับการจัดให้อยู่ในสกุลนี้โดยองค์กรบางแห่ง ได้แก่
- นกโมนาร์คหินชนวน (ในชื่อทวินามเดิม Rhipidura Lessoni ปัจจุบันในชื่อ Mayrornis lessoni)
- นกอีแพรดท้องเหลือง (ในชื่อทวินามเดิม Rhipidura hypoxantha และชื่อภาษาอังกฤษเดิม yellow-bellied fantail) ตั้งแต่ปี 2009 นกชนิดนี้กลับไปชื่อทวินามดั้งเดิมก่อนหน้าคือ Chelidorhynx hypoxantha ในสกุล Chelidorhynx และชื่อภาษาอังกฤษ fairy-flycatcher ในวงศ์นกจับแมลง (Stenostiridae)
- นกโมนาร์คดำ (ในชื่อทวินามเดิม Rhipidura fallax ปัจจุบันในชื่อ Symposiachrus axillaris)
อ้างอิง
- S, Sompop (2010-07-17), นกอีแพรดแถบอกดำ (Pied fantail), สืบค้นเมื่อ 2022-08-06
- Boles, W.E. (2006). Family Rhipiduridae (Fantails). Pp 200-244 in: del Hoyo, J., Elliott, A. & Christie, D.A. eds (2006) . Vol. 11. Old World Flycatchers to Old World Warblers. Lynx Edicions, Barcelona. ISBN
- Craig, J. (1972) "Investigation of the mechanism maintaining polymorphism in the New Zealand fantail, Rhipidura fuliginosa" (Sparrman), Notornis 19(1):42-55 [1] 2009-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Noske, R. A. (1996) "Abundance, Zonation and Foraging Ecology of Birds in Mangroves of Darwin Harbour, Northern Territory" Wildlife Research 23(4): 443–474
- "นกอีแพรดแถบอกดำ". คมชัดลึกออนไลน์. 2013-10-27.
- McLean I.G. (1989) "Feeding behaviour of the fantail (Rhipidura fuliginosa)" Notornis 36(2): 99-106 [2] 2008-10-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- "เรียนรู้นกวันละตัว : ๒๒. นกอีแพรด (Pied Fantail) - GotoKnow". www.gotoknow.org.
- "Species Updates – IOC World Bird List" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-06-04.
- author. "นกอีแพรด (Fantail Flycatchers)" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
{{}}
:|last=
มีชื่อเรียกทั่วไป ((help)) - "Mayrornis lessoni - Avibase". avibase.bsc-eoc.org. สืบค้นเมื่อ 2017-01-12.
- "Chelidorhynx hypoxanthus - Avibase". avibase.bsc-eoc.org. สืบค้นเมื่อ 2017-01-12.
- Fuchs, J. R. M.; Pasquet, E.; Couloux, A.; Fjeldså, J.; Bowie, R. C. K. (2009). "A new Indo-Malayan member of the Stenostiridae (Aves: Passeriformes) revealed by multilocus sequence data: Biogeographical implications for a morphologically diverse clade of flycatchers". Molecular Phylogenetics and Evolution. 53 (2): 384–93. doi:10.1016/j.ympev.2009.06.015. PMID 19576994.
- "Symposiachrus axillaris fallax - Avibase". avibase.bsc-eoc.org. สืบค้นเมื่อ 2017-01-13.
ลิ้งค์ภายนอก
- ภาพและเสียง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nkxiaephrd Rhipidura albiscapa Rhipidura javanica thiphbthixuthyanaehngchatiaekngkracankarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Passeriformeswngs Rhipiduridaeskul Rhipidura amp 1827chnidmakkwa 40 chnid duenixha nkxiaephrd hrux skulnkxiaephrd xngkvs fantail chuxwithyasastr Rhipidura epnskulkhxngkhnadelkhlaychnid inwngsnkxiaephrd Rhipiduridae nkinskulniswnihymikhwamyawpraman 15 thung 18 esntiemtr 5 9 thung 7 1 niw milksnaednthihangaephnkhxnkhangyaw aelahaxaharodykarcbaemlngklangxakas mithinkaenidtngaetinxnuthwipxinediy exechiytawnxxkechiyngit cnthungxxstraelesiy nkskulnimi 44 chnidthwolk pccubninpraethsithyphbephiyng 4 chnid kxnhnaninkxiaephrdthxngehluxngekhythukcdihxyuinskulnkxiaephrd pccubnxyuinskul Chelidorhynx khxngwngsnkcbaemlng bangkhrngkhnmksbsnwankxiaephrdbangchnid echnepnnkkangekhnban hruxnkedalmlksnathangkaywiphakhhangepnrupphderiyk hangaephn nkxiaephrdepnnkthimilatwkhnadelkyawpraman 11 5 21 esntiemtr mihangthiyaw sungyawkwapikkhxngmnexng bangchnidmihangthiyawkwakhnadlatw emuxhanghubekha playhangklmmn emuxhangkangxxk hangepnrupphderiyk hangaephn emuxekaakhxn nkxiaephrdmkmithathangkhxmhwlngcnrabesmxkblatw odycahxypiklngaelaphxnxxkcaklatw swnhangkradkngxkhunkunghnung aetinbangchnidechn aela sunghangcangxtngtrngipkhanghnamakkwakhlaynkaeswswrrkh playpikkhxngnkxiaephrderiywaehlm sungimchwyihbinrxnidxyangrwderw aetephuxkhwamwxngiwaelaprasiththiphaphinkarkhwbkhumthisthang odyechphaakarochbtamcbaemlngklangxakas odyswnihynkxiaephrdhlaychnidmipikthiaekhngaerng thaihsamarthbinidepnewlanan odybangchnidmikhwamsamarthinkarxphyphidepnrayathangikl aetbangchnidthimikhnhangthihnadksungthaihepnnkthimkbininrayathangsn aelacaepntxnglngekaakhxnbxy cangxypakkhxngnkxiaephrd odythwipkhxnkhangaebnaelaepnrupsamehliym sungehmaakbkarcbehyuxklangxakas mikhnyawkhunodyrxbcangxypakodyechphaadankhang 2 khangthikhlayphumkhneprng khnniswnmakmikhwamyawphx kbkhwamyawkhxngcangxypak odythwipklamenuxthikhwbkhumcangxypakkhxngnkxiaephrdimaekhngaerngnk thaihcakdchnidehyuxthimncbidiwephiyngaemlngcaphwkthiimmiepluxkhruxpikthiaekhng sungmikhxykewninnkxiaephrdbangchnidthixasytamphundin khnkhxngnkxiaephrdswnihymikhwamaetktangkn swnmakmilayhruxekhruxnghmaybnkhnintaaehnngthiepnexklksnkhxngskulthikhlaykn tangknthisikhxnglaysungthaihdutangkn sikhnodyrwmkhxngnkinskulniswnihyepnsietha sida sikhaw aelasinatal aemwabangchnidxacmikhnsiehluxnghruxsinaenginthiehluxbaesngktam aelaodyswnihyhlaychnidimmipraktinkhnnk ykewnbangchnidthioddednechn sungtwphumikhnsidalwnaelatwemiymisinatallwn inbangchnidechn misxnglksnayxythitangsiknkhux sidangaebbthrrmdaaelasidalwnthihayakkwa sungphbmakinekaait thinthixyuaelakarkracayphnthuklumprachakrkhxngnkxiaephrdsinatalxasythangtxntawnxxkechiyngitkhxngxxsetreliycaxphyphepnfungkhnadihysuthangehnuxkhxngrthkhwinsaelndaelaniwkini nkxiaephrdepnskulkhxngnkthimithinthixyuaelakracayklumprachakrtngaetthangtawntksudinxnuthwipxinediytxnehnux cnthungtawnxxksudinaethbxxstraelesiythihmuekaasamw thangitsudthipraethsniwsiaelnd prachakrinswnkarkracayphnthuaethbtawnxxksungepnhmuekaainaepsifikhnn hlaychnidepnkhxngekaann echn nkxiaephrdkhadawu aetodymakchnidswnihykhxngskulxasyinpraethsxinodniesiy filippins aelapraethsin thiehluxkracayxyutampraethscintxnit xinediy aelabangswnkhxngethuxkekhahimaly bangchnidmiaethbkarkracayphnthuthikwangmakechn nkxiaephrdsietha nkxiaephrdkhxkhaw nkinskulnkxiaephrdekuxbthukchnid epnnkinekhtrxn epnchnidthioddediywodythangphumisastr epnnkpracathin aelaimepnnkyaythin nkxphyph bangkhrngnkxiaephrdechphaachnidthixasythangtxnehnuxsudhruxitsudxacmikaryaythinaetimepniptamaebbaephn aelatangkninaetlachnid echn nkxiaephrdthxngehluxngkhxngethuxkekhahimalyepnnkthiyaythintamradbkhwamsung odymirayakarphsmphnthuthiradbkhwamsung 1 500 thung 4 000 emtr aelayaythinlngmaradbtathipraman 180 emtrinvduhnaw nkxiaephrdbangchnidinxxsetreliyxphyphtamvdu aemrupaebbcaimehmuxnkninaetlachnid echn nkxiaephrdsinatalmiphvtikrrmxphyphinbangswnkhxngklumprachakrethannkhuxechphaaklumprachakrthangtxntawnxxkechiyngitkhxngxxsetreliycaxphyphepnfungkhnadihysuthangehnuxkhxngrthkhwinsaelndaelaniwkini luknkxiaephrdsietha nkinskulnimithinthixyuthihlakhlayxyangmaksungodythwipxasyinpadibchun odyhlaychnidsamarthprbtwxasyidinphunthithihlakhlayidaek ekhtaehngaelngaelapachayeln aemkrathngphunthithithukprbsphaphxyangsinechingechn hrux aetechphaankinskulnithimithinxasyinpachayelnnnsamarthprbtwxasyidinphunthihlakhlayidnxythisud khuxxasyidechphaapachayelnaelaphunthirxbkhangethann aelayngtxngthingrayahangcaknkxiaephrdxuninwngrsmi 3 kiolemtr odythwipnkxiaephrdbangchnidthimisaywiwthnakarinchwngtnkhxngskulmkcakdxyuechphaapafnpthmphumi aetspichisxun swnihysamarthxyurxdidinpathithukmnusyrbkwnaelw chnidthiprbtwidmakthisudkhux nkxiaephrdwillisungphbxyumakmayinaehlngthixyuthukpraephthinxxsetreliy ykewnpadibchunthihnaaennphvtikrrmaelaniewswithyankxiaephrdhlaychnidyngimidrbkarsuksaphvtikrrm aetodyrwmnkinskulnkxiaephrdmiphvtikrrmthiechphaatwkhxngskul cakkarsngektphvtikrrmodysngekhpkhxngnkinskuldwykarepriybethiybnkbangchnidthiidrbkarsuksaimmakkbchnidthiidrbkarsuksaepnxyangdi chiihehnthungkhwamkhlaykhlungkninradbsungkhxngphvtikrrmthiechphaatwkhxngskuldngklaw khux nkxiaephrdepnnkthimikhwamwxngiwpradepriywsung nkxiaephrdthimikhnadelkhlaychnidinskulmkekhluxnihwxyangtxenuxngxyutlxd aememuxekaakhxnxyuphwkmnyngoyktw etnipma hruxhmunklbtwhnahlng kradkhangkhunlnghruxraaephnhang khlikangxxk aelahub hruxkradkhanglngsayslbkhwa inkhnabinphwkmnmikhwamwxngiwsungaelasamarthbinochbwnrxbaebbphadophn sungaesdngkhwamslbsbsxninkarbinxyangsung odythimkkhlihangxxkephuxcbaemlngkhnabinklangxakas xaharaelakarhaxahar nkxiaephrdsiethainxxsetreliy kalngihxahar ehyuxthicbidkhuxaemlngkhnadelk xaharswnihykhxngnkxiaephrd idaek aemlngkhnadelkaelastwimmikraduksnhlng nkxiaephrdwillithimikhnadihykwannsamarthcdkarkbcingehlnhruxcingckkhnadelkid sungphbidimbxy ehyuxaemlngkhxngnkxiaephrdodythwipmikhnadelkaelacdkaridngay odybangkhrnghakehyuxmikhnadihycaepntxngthukthaihelklngdwykhbkraaethkkingimephuxexapikkhxngaemlngnnxxkechn mikarhaxaharsxngwithithikhlayknthinkinskulniichephuxhaehyux xyangaerkeriykwa karkhnhaaebbxyukbthi odythinkxiaephrdcaekaaxyuthikhxnaelaefaduehyuxthibininxakassungcaknncabinekhahaaelachkehyuxcakxakas kxnthicabinklbipthiekaathikhxnedimephuxkinaelahaehyuxtwxuntxip withithisxngthiicheriykwa karkhnhaaebbekhaha odythinkxiaephrdekhluxnthiphanklumphumimhruxphuchphrrntang ephuxkhnhaaemlngcakkarrwbrwmodykarobkkhybhangnk kangaelahub thaihehyuxthisxnxyuihtkicaelaxxkma echn nkxiaephrdwilliichethkhnikhniinkarhaxaharbnphundinolng odykradkhangcakdanhnungipxikdanhnungaelaphungtwxyangrwderwephuxcikehyux nkxiaephrdmkekhaklumkbnkchnidxunhruxstwxunephuxhaxahar bangchnidchxbekaaxyubnhlngpsustw sungphwkmnichepnthngcudmxnghaxaharthidi aelaenuxngcakbnphiwhnngkhxngwwkhwayhruxkhnaekamkchukchumipdwyaemlng rwmthnginthangxxmstwehlaniyngchwykhuyekhiyilaemlngtamphnghyaihbinxxkma phvtikrrmnithaihnkxiaephrdechn nkxiaephrdwillimichuxelnwa shaykhxngkhneliyngaeka nkxiaephrdmkmiphvtikrrmkawrawaelaimekrngklwmnusy chxbxyuiklephuxcbaemlngthithukmnusyilxxkma yngsamarthphbnkxiaephrdchnidtangknrwmfungknhaxahar hruxbinrwmkbnkkinaemlngkhnadelkxun odyechphaabriewnchaykhxbkhxngfungnkehlannodyichpraoychncakkarillaehyuxkhxngfungnkthaihaemlngklumihykraphuxknxxkmaodyrxb karphsmphnthu rngkhxng aesdngihehnknrngthiaehlmcakwsdukhnadihyaelayawthirxngkn phbidinnkhlaychnidinskulnkxiaephrd nkxiaephrdepnnkthimiekhtxananikhm aelamiphvtikrrmkawrawinkarpkpxngxananikhmkhxngmncakphubukrukthngnkchnidediywknaelankxiaephrdchnidxun rwmthngnkkinaemlngxun inekhtxananikhmninktwemiycathahnathieluxkcudtaaehnnginkarsrangrng rngihmmkxyuimiklcakrngekakhxngpikxnhna nkthngsxngephscachwyknsrangrng fkikh aelaeliyngluknk rngkhxngnkxiaephrdmikhnadphx kbaelakhlaykbthwykhnadelk prakxbkhundwywsdutang aelasandwyesniykhlayiyaemngmum ichewlapraman 10 wninkarsrangrng nkxiaephrdhlaychnidichkhnhangkhxngmnprakxbkarpuphunrnghruxepnokhrngdanthanrngsungxacthaihrupthrngkhxngrngimaennxn nkbangchnidyngmiphvtikrrmphrangrng rngmkxyuinthitankcungchdechymumkarmxngthiimsamarthmxngehnphulacakrayaikldwyphvtikrrmkarpkpxngluknkthikawrawodykarbinochbstwthiekhamarbkwnxyangxukxac nkxiaephrdbangkhrnglxstwthimnkhidwaepnphuladwykaraeklngecbaelaihtidtaminthisthangthihangxxkipcakrng khnaediywknnnnktwphucakhxybintidtamochbcikilstwnnihlathxy dwyphvtikrrmehlanithaihnkxiaephrdprasbkhwamsaercinkarpkpxngrngaemtaaehnngkhxngrngcatamakktamchnidxangxingcakraychuxkhxngsmaphnthpksiwithyananachati IOC emuxeduxnmithunayn kh s 2021 dngni nkxiaephrdsinaenginmindaena Rhipidura superciliaris nkxiaephrdsinaenginwisayn Rhipidura samarensis nkxiaephrdhwsinaengin Rhipidura cyaniceps nkxiaephrdthabras Rhipidura sauli nkxiaephrdwisayn Rhipidura albiventris nkxiaephrdthxngsinatalaedng Rhipidura hyperythra nkxiaephrdefrndli Rhipidura albolimbata nkxiaephrdsietha Rhipidura albiscapa nkxiaephrdniwsiaelnd Rhipidura fuliginosa nkxiaephrdlxrdohw Rhipidura fuliginosa cervina chnidyxy suyphnthuaelw emuxpi 1925 nkxiaephrdpachayeln Rhipidura phasiana nkxiaephrdsinatal Rhipidura drownei nkxiaephrdmakira Rhipidura tenebrosa nkxiaephrdernenl Rhipidura rennelliana nkxiaephrdlay Rhipidura verreauxi nkxiaephrdkhadawu Rhipidura personata nkxiaephrdsamw Rhipidura nebulosa nkxiaephrdsulaewsi Rhipidura teysmanni nkxiaephrdtalixabu Rhipidura sulaensis nkxiaephrdaethbhlngsinatalxxn Rhipidura superflua nkxiaephrdxkriw Rhipidura dedemi nkxiaephrdhangyaw Rhipidura opistherythra nkxiaephrdpalaxu Rhipidura lepida nkxiaephrdhlngsinatalxxn Rhipidura rufidorsa nkxiaephrdbismarkh Rhipidura dahli nkxiaephrdmasesa Rhipidura matthiae nkxiaephrdmalaxita Rhipidura malaitae nkxiaephrdxarafura Rhipidura dryas nkxiaephrdophnephy Rhipidura kubaryi nkxiaephrdsinatalxxn Rhipidura rufifrons nkxiaephrdsinatalxxnkwm Rhipidura rufifrons uraniae chnidyxy suyphnthuaelw emuxpi 1984 nkxiaephrdmanus Rhipidura semirubra nkxiaephrdsxngsi Rhipidura brachyrhyncha nkxiaephrdda Rhipidura atra nkxiaephrdnataldal Rhipidura nigrocinnamomea nkxiaephrdhangsinatalxxn Rhipidura phoenicura nkxiaephrdthxngkhaw Rhipidura euryura Rhipidura perlata Rhipidura aureola Malaysian pied fantail Rhipidura javanica nkxiaephrdaethbxkdafilippins Philippine pied fantail Rhipidura nigritorquis Rhipidura albicollis nkxiaephrdlaycudkhaw Rhipidura albogularis nkxiaephrdhmwknatal Rhipidura diluta nkxiaephrdhangsinataletha Rhipidura fuscorufa nkxiaephrdehnux Rhipidura rufiventris nkxiaephrdebiykh Rhipidura kordensis nkxiaephrdpikkhaw Cockerell s fantail or white winged fantail Rhipidura cockerelli nkxiaephrdsiethahanghna Rhipidura threnothorax nkxiaephrdhanghnathxngkhaw Rhipidura leucothorax nkxiaephrdsidahanghna Rhipidura maculipectus nkxiaephrdwilli Rhipidura leucophrys nkxiaephrdepelng Rhipidura habibiei Rhipidura leucophrys chnidthiphbinpraethsithy mi 4 chnid idaek Spotted fantail Rhipidura perlata thinxasyhlk khuxpachayelnhruxpalaemaaiklchayfngthael White browed fantail Rhipidura aureola Malaysian pied fantail Rhipidura javanica White throated fantail Rhipidura albicollis chnidthiekhyxyuinskulni kxnhnaniminkxiaephrdbangchnidekhyidrbkarcdihxyuinskulniodyxngkhkrbangaehng idaek nkomnarkhhinchnwn inchuxthwinamedim Rhipidura Lessoni pccubninchux Mayrornis lessoni nkxiaephrdthxngehluxng inchuxthwinamedim Rhipidura hypoxantha aelachuxphasaxngkvsedim yellow bellied fantail tngaetpi 2009 nkchnidniklbipchuxthwinamdngedimkxnhnakhux Chelidorhynx hypoxantha inskul Chelidorhynx aelachuxphasaxngkvs fairy flycatcher inwngsnkcbaemlng Stenostiridae nkomnarkhda inchuxthwinamedim Rhipidura fallax pccubninchux Symposiachrus axillaris xangxingS Sompop 2010 07 17 nkxiaephrdaethbxkda Pied fantail subkhnemux 2022 08 06 Boles W E 2006 Family Rhipiduridae Fantails Pp 200 244 in del Hoyo J Elliott A amp Christie D A eds 2006 Vol 11 Old World Flycatchers to Old World Warblers Lynx Edicions Barcelona ISBN 978 84 96553 06 4 Craig J 1972 Investigation of the mechanism maintaining polymorphism in the New Zealand fantail Rhipidura fuliginosa Sparrman Notornis 19 1 42 55 1 2009 03 03 thi ewyaebkaemchchin Noske R A 1996 Abundance Zonation and Foraging Ecology of Birds in Mangroves of Darwin Harbour Northern Territory Wildlife Research 23 4 443 474 nkxiaephrdaethbxkda khmchdlukxxniln 2013 10 27 McLean I G 1989 Feeding behaviour of the fantail Rhipidura fuliginosa Notornis 36 2 99 106 2 2008 10 17 thi ewyaebkaemchchin eriynrunkwnlatw 22 nkxiaephrd Pied Fantail GotoKnow www gotoknow org Species Updates IOC World Bird List phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2021 06 04 author nkxiaephrd Fantail Flycatchers phasaxngkvsaebbxemrikn a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a last michuxeriykthwip help Mayrornis lessoni Avibase avibase bsc eoc org subkhnemux 2017 01 12 Chelidorhynx hypoxanthus Avibase avibase bsc eoc org subkhnemux 2017 01 12 Fuchs J R M Pasquet E Couloux A Fjeldsa J Bowie R C K 2009 A new Indo Malayan member of the Stenostiridae Aves Passeriformes revealed by multilocus sequence data Biogeographical implications for a morphologically diverse clade of flycatchers Molecular Phylogenetics and Evolution 53 2 384 93 doi 10 1016 j ympev 2009 06 015 PMID 19576994 Symposiachrus axillaris fallax Avibase avibase bsc eoc org subkhnemux 2017 01 13 lingkhphaynxkwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb nkxiaephrd phaphaelaesiyng