บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ธงชาติเลบานอน (อาหรับ: علم لبنان) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงภายในแบ่งเป็น 3 ส่วนตามแนวนอน เป็นสีแดง-ขาว-แดง ตามลำดับ โดยแถบสีขาวมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีแดง (สัดส่วนริ้วธง 1:2:1) ที่กลางธงในแถบสีขาวมีรูปต้นสีเขียว มีความกว้างเป็นหนึ่งในสามส่วนของด้านยาวของธง และความสูงของต้นซีดาร์นั้นจรดแถบสีแดงทั้งสองด้านพอดี ธงนี้ได้ออกแบบขึ้นที่บ้านของซาเอ็บ ซาลาม (Saeb Salam) สมาชิกรัฐสภาเลบานอน ที่เมืองมูไซเบฮ์ (Mousaitbeh) และได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแห่งเลบานอนให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486
การใช้ | ธงชาติ |
---|---|
สัดส่วนธง | 2:3 |
ประกาศใช้ | 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486 |
ลักษณะ | สีแดง-ขาว-แดง ตามลำดับ โดยแถบสีขาวมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีแดง (สัดส่วนริ้วธง 1:2:1) ที่กลางธงในแถบสีขาวมีรูปต้นสีเขียว มีความกว้างเป็นหนึ่งในสามส่วนของด้านยาวของธง และความสูงของต้นซีดาร์นั้นจรดแถบสีแดงทั้งสองด้านพอดี |
โดยทั่วไปแล้วมักเกิดความเข้าใจผิดว่า สีของลำต้นต้นซีดาร์ในธงนี้ควรเป็นสีดำหรือสีน้ำตาล แต่ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเลบานอน หมวด 1 มาตรา 5 ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า รูปต้นซีดาร์ต้องเป็นสีเขียวทั้งหมดเท่านั้น
สัญลักษณ์และความหมาย
แถบสีแดงหมายถึงเลือดเนื้อที่หลั่งรินเพื่ออิสรภาพของชาวเลบานอน แถบสีขาวหมายถึงสันติภาพ หรือในอีกนัยหนึ่งยังหมายถึง หิมะที่ปกคลุมยอดด้วย ต้นสีเขียว (หรือที่เรียกในภาษาท้องถิ่นว่า อาร์ซ (Arz) จัดอยู่ในสปีชีส์ Cedrus libani เรียกกันทั่วไปว่า ต้นซีดาร์เลบานอน) หมายถึงความมั่นคงและการคงอยู่ของเลบานอนชั่วนิรันดร์
ต้นซีดาร์ดังกล่าวนี้ ถูกอ้างถึงอยู่บ่อยครั้งจากข้อความในคัมภีร์ไบเบิลที่ว่า
คนชอบธรรม ก็งอกขึ้นอย่างต้นอินทผลัม เจริญขึ้นอย่างต้นสนซีดาร์ในเลบานอน
— ( 92:12)
ในหนังสือธงชาติและตราแผ่นดินในโลก (Flags and arms of the World) ของ ฉบับพิมพ์ ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525) ได้อ้างถึงที่มาของสีในธงชาติเลบานอนว่า "สีแดงและสีขาวมีความเชื่อมโยงกับชาวเคอีสไซต์ (Kayssites) และชาวเยเมไนต์ (Yemenites) ตามลำดับ ซึ่งเป็นกลุ่มเผ่าพันธุ์ขั้วตรงข้าม (opposing clans) ที่แบ่งแยกสังคมเลบานอนในช่วงปี ค.ศ. 634 - ค.ศ. 1711" อย่างไรก็ตาม คำอธิบายดังกล่าวนี้เป็นที่รู้กันน้อยมากในวัฒนธรรมของชาวเลบานอน
พัฒนาการ
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
- Flag used during Phoenician era 3000 BC – 200 AD (Including the currently known as Cyprus, Syria, Palestine, Tunisia and Lebanon)
- ธง ค.ศ. 1099–1291
- Flag under the Abbasid Caliphate 750–1258
- Tanukh Flag 200 AD – 400 AD
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคกลาง
- ธงเจ้าครองนครของจุมบลัต
- ธงเจ้าครองนครของ อาบู คาเนด คลาน
- ธงเจ้าครองนครของเจ้าชายลาเมต
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุครัฐสุลต่าน
- ธงจักรววรดิ์มานิด ค.ศ. 1119–1697
- ธงบบราชวงศ์อายูบิด]] ก่อน ค.ศ. 1250
- ธง ค.ศ. 1250 – 1517
- ธง 1697 – 1842
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตามประวัติศาสตร์กล่าวว่า เลบานอนหรือหรืออย่างน้อยที่สุดคือในภูมิภาคเลบานอน ได้มีธงประจำดินแดนของตนเองใช้อยู่แล้วหลายรูปแบบตามแต่ละช่วงเวลา ไม่ว่าจะเป็นในสมัยของชาวฟีนิเชียน สมัย (Mamluk) หรือสมัยจักรวรรดิออตโตมัน
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 กลุ่มชาวมารอนไนต์ (Maronnites) ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่นับถือศาสนาอิสลามแต่พูดภาษาอาหรับในเลบานอน ได้ใช้ธงรูปต้นสีเขียวบนพื้นสีขาว ต่อมาประมาณช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ขบวนการชาตินิยมชาวเลบานอนจึงได้เพิ่มแถบกากบาทแนวทแยงมุมสีแดงบนพื้นธง ซึ่งมีความหมายถึงเลือดของผู้พลีชีพเพื่อชาวเลบานอน ต่อมาจึงหมายถึงสีธงประจำ ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยฝรั่งเศส ชาติผู้เป็นเจ้าอาณานิคมเลบานอนในเวลานั้น และได้เป็นรากฐานสำคัญของในเวลาต่อมา
รัฐในอาณัติฝรั่งเศส
- ธงชาติเลบานอน ยุคหลังการล่มสลายของจักรวรรดิออตโตมัน
-
-
-
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 เลบานอนมีสถานะเป็น (Mandate) ของฝรั่งเศส ตั้งแต่ พ.ศ. 2461 - 2486 ธงชาติเลบานอนในยุคนี้มีลักษณะเป็นธงสามสี (le tricolore) ของประเทศฝรั่งเศส แต่ตรงกลางมีรูปต้นซีดาร์สีเขียว ซึ่งออกแบบโดย (Naoum Mukarzel) ผู้นำ (Lebanese Renaissance Movement)
สาธารณรัฐ
- ธงชาติเลบานอน (แบบร่างธงชาติต้นฉบับ)
- ธงชาติเลบานอน (ธงต้นแบบ)
เมื่อเลบานอนประกาศเอกราชจากฝรั่งเศส และสถาปนาประเทศเป็นสาธารณรัฐขึ้นใน พ.ศ. 2486 สัญลักษณ์ของประเทศที่ก่อตั้งขึ้นใหม่นี้ก็คือธงชาติเลบานอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งออกแบบครั้งแรกโดยบรรดาสมาชิกรัฐสภาเลบานอน ที่บ้านของซาเอ็บ ซาลาม (Saeb Salam) สมาชิกรัฐสภาเลบานอนผู้หนึ่งในขณะนั้น ในเมืองมูไซเบฮ์ (Mousaitbeh) ต่อมาจึงได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาเลบานอน ให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486 โดยกำหนดลงในมาตรา 5 ของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเลบานอน
ขบวนการทางการเมือง
- ธงของฝ่ายกบฏในสมัยของเมอร์ไดซ์ (Yemenites)
- ธงมานิด (พรรคเคียซ)
- ธงของฝ่ายกบฏในสมัยของ<ref name="Historical Flags (Lebanon)">
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2002-05-03. สืบค้นเมื่อ 2008-02-21.
- Volker Preuß. "Flagge des Libanesische Republik" (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 2003-10-28.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- ธงชาติเลบานอน ที่ Flags of the World (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul thngchatielbanxn khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir thngchatielbanxn xahrb علم لبنان milksnaepnthngsiehliymphunpha kwang 2 swn yaw 3 swn phunthngphayinaebngepn 3 swntamaenwnxn epnsiaedng khaw aedng tamladb odyaethbsikhawmikhwamkwangepnsxngethakhxngaethbsiaedng sdswnriwthng 1 2 1 thiklangthnginaethbsikhawmiruptnsiekhiyw mikhwamkwangepnhnunginsamswnkhxngdanyawkhxngthng aelakhwamsungkhxngtnsidarnncrdaethbsiaedngthngsxngdanphxdi thngniidxxkaebbkhunthibankhxngsaexb salam Saeb Salam smachikrthsphaelbanxn thiemuxngmuisebh Mousaitbeh aelaidrbkhwamehnchxbcakrthsphaaehngelbanxnihichepnthngchatixyangepnthangkar emuxwnthi 7 thnwakhm ph s 2486thngchatielbanxnkarichthngchatisdswnthng2 3prakasich7 thnwakhm ph s 2486lksnasiaedng khaw aedng tamladb odyaethbsikhawmikhwamkwangepnsxngethakhxngaethbsiaedng sdswnriwthng 1 2 1 thiklangthnginaethbsikhawmiruptnsiekhiyw mikhwamkwangepnhnunginsamswnkhxngdanyawkhxngthng aelakhwamsungkhxngtnsidarnncrdaethbsiaedngthngsxngdanphxdi odythwipaelwmkekidkhwamekhaicphidwa sikhxnglatntnsidarinthngnikhwrepnsidahruxsinatal aettamrththrrmnuyaehngsatharnrthelbanxn hmwd 1 matra 5 idrabuiwxyangchdecnwa ruptnsidartxngepnsiekhiywthnghmdethannsylksnaelakhwamhmayaethbsiaednghmaythungeluxdenuxthihlngrinephuxxisrphaphkhxngchawelbanxn aethbsikhawhmaythungsntiphaph hruxinxiknyhnungynghmaythung himathipkkhlumyxddwy tnsiekhiyw hruxthieriykinphasathxngthinwa xars Arz cdxyuinspichis Cedrus libani eriykknthwipwa tnsidarelbanxn hmaythungkhwammnkhngaelakarkhngxyukhxngelbanxnchwnirndr tnsidardngklawni thukxangthungxyubxykhrngcakkhxkhwaminkhmphiribebilthiwakhnchxbthrrm kngxkkhunxyangtnxinthphlm ecriykhunxyangtnsnsidarinelbanxn 92 12 inhnngsuxthngchatiaelatraaephndininolk Flags and arms of the World khxng chbbphimph kh s 1982 ph s 2525 idxangthungthimakhxngsiinthngchatielbanxnwa siaedngaelasikhawmikhwamechuxmoyngkbchawekhxisist Kayssites aelachaweyemint Yemenites tamladb sungepnklumephaphnthukhwtrngkham opposing clans thiaebngaeyksngkhmelbanxninchwngpi kh s 634 kh s 1711 xyangirktam khaxthibaydngklawniepnthiruknnxymakinwthnthrrmkhxngchawelbanxnphthnakaryukhkxnprawtisastr Flag used during Phoenician era 3000 BC 200 AD Including the currently known as Cyprus Syria Palestine Tunisia and Lebanon thng kh s 1099 1291 Flag under the Abbasid Caliphate 750 1258 Tanukh Flag 200 AD 400 ADswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhklang thngecakhrxngnkhrkhxngcumblt thngecakhrxngnkhrkhxng xabu khaend khlan thngecakhrxngnkhrkhxngecachaylaemtswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhrthsultan thngckrwwrdimanid kh s 1119 1697 thngbbrachwngsxayubid kxn kh s 1250 thng kh s 1250 1517 thng 1697 1842swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid tamprawtisastrklawwa elbanxnhruxhruxxyangnxythisudkhuxinphumiphakhelbanxn idmithngpracadinaednkhxngtnexngichxyuaelwhlayrupaebbtamaetlachwngewla imwacaepninsmykhxngchawfiniechiyn smy Mamluk hruxsmyckrwrrdixxtotmn inchwngkhriststwrrsthi 18 klumchawmarxnint Maronnites sungepnklumkhnthinbthuxsasnaxislamaetphudphasaxahrbinelbanxn idichthngruptnsiekhiywbnphunsikhaw txmapramanchwngsngkhramolkkhrngthihnung khbwnkarchatiniymchawelbanxncungidephimaethbkakbathaenwthaeyngmumsiaedngbnphunthng sungmikhwamhmaythungeluxdkhxngphuphlichiphephuxchawelbanxn txmacunghmaythungsithngpraca sungkxtngkhunodyfrngess chatiphuepnecaxananikhmelbanxninewlann aelaidepnrakthansakhykhxnginewlatxma rthinxantifrngess thngchatielbanxn yukhhlngkarlmslaykhxngckrwrrdixxtotmn hlngsinsudsngkhramolkkhrngthi 1 elbanxnmisthanaepn Mandate khxngfrngess tngaet ph s 2461 2486 thngchatielbanxninyukhnimilksnaepnthngsamsi le tricolore khxngpraethsfrngess aettrngklangmiruptnsidarsiekhiyw sungxxkaebbody Naoum Mukarzel phuna Lebanese Renaissance Movement satharnrth thngchatielbanxn aebbrangthngchatitnchbb thngchatielbanxn thngtnaebb emuxelbanxnprakasexkrachcakfrngess aelasthapnapraethsepnsatharnrthkhunin ph s 2486 sylksnkhxngpraethsthikxtngkhunihmnikkhuxthngchatielbanxnthiichxyuinpccubn sungxxkaebbkhrngaerkodybrrdasmachikrthsphaelbanxn thibankhxngsaexb salam Saeb Salam smachikrthsphaelbanxnphuhnunginkhnann inemuxngmuisebh Mousaitbeh txmacungidrbkhwamehnchxbcakrthsphaelbanxn ihichepnthngchatixyangepnthangkaremuxwnthi 7 thnwakhm ph s 2486 odykahndlnginmatra 5 khxngrththrrmnuyaehngsatharnrthelbanxn khbwnkarthangkaremuxng thngkhxngfaykbtinsmykhxngemxrids Yemenites thngmanid phrrkhekhiys thngkhxngfaykbtinsmykhxng lt ref name Historical Flags Lebanon gt xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2002 05 03 subkhnemux 2008 02 21 Volker Preuss Flagge des Libanesische Republik phasaeyxrmn subkhnemux 2003 10 28 duephimtraaephndinkhxngelbanxn ephlngchatielbanxnaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb thngchatielbanxn thngchatielbanxn thi Flags of the World xngkvs bthkhwamthngkhxngxngkhkrhruxrthniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk