ทุนทางสังคม (social capital) เป็นคำอธิบาย “ทุน” ในลักษณะใหม่ที่ไม่ใช่เพียงทุนทางเศรษฐกิจที่มุ่งหวังในการทำกำไรหรือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตัวเอง แต่ทุนทางสังคมมีลักษณะเป็นผลประโยชน์หรือต้นทุนส่วนรวมที่มาจากการช่วยเหลือและความร่วมมือกันระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่มต่างๆในสังคม (Putnum, 2000) โดยธนาคารโลก (World Bank) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ สถาบัน ระบบ ความสัมพันธ์และบรรทัดฐานการปฏิบัติ (norm) ที่นำมาซึ่งปฏิสัมพันธ์ของสังคมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เน้นถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างกันไม่ใช่สถาบันหรือตัวบุคคลโดดๆ หรือจำนวนรวมกัน อีกทั้งองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ การเชื่อมโยงของบุคคลเป็นเครือข่ายทางสังคมบนพื้นฐานความเชื่อถือ ไว้วางใจซึ่งกันและกัน (trust) และมีมาตรฐานในการทำงานร่วมกัน
อรรถาธิบาย
สำหรับความหมายที่นิยมอ้างถึงมากที่สุดคือนิยามของโรเบิร์ท แพทนัม (Robert Putnam) (1993: 167) ที่กล่าวว่าทุนทางสังคมคือรูปแบบของการจัดองค์การที่ประกอบไปด้วยความเชื่อใจ (trust) บรรทัดฐาน (norm) และเครือข่าย (network) ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพให้กับสังคมในการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน โดยทุนทางสังคมจะเพิ่มโอกาสในการบรรลุเป้าหมายของสังคมโดยอาศัยความเชื่อใจ ไม่ใช่แค่ระดับบุคคลต่อบุคคล แต่เป็นระดับในองค์รวมของสังคม และสามารถคาดหวังได้ว่าสิ่งที่เราทำไปนั้น ผู้อื่นก็จะตอบรับกลับมาในทางเดียวกัน ความสัมพันธ์ดังกล่าวจึงก่อตัวเป็นสถาบัน (institution) และจุดมุ่งหมายของสถาบันก็คือการจัดการกับปัญหาที่ไม่สามารถทำคนเดียวได้ (collective action problem) แต่ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างสมาชิกทั้งหลายในสังคมและมีทุนทางสังคมเป็นตัวขับเคลื่อนความสัมพันธ์ดังกล่าว
อย่างไรก็ดี ในระดับสากลคำว่าทุนทางสังคมก็ยังมีอีกหลายนิยามที่อาจจะสอดคล้องหรือขัดแย้งในบางประเด็น แต่จุดร่วมที่มีอยู่ด้วยกันคือการใช้คำว่าทุนทางสังคมในการสร้างความร่วมมือทางสังคม ทุนทางสังคมโดยตัวของมันเองนั้นมิได้เป็นปัจจัยการผลิตโดยตรง หากแต่เป็นตัวกลางในการเข้าถึงปัจจัยการผลิตหรือทุนอื่น เช่น ข่าวสารข้อมูล ทุนมนุษย์ (human capital) ทุนกายภาพ (physical capital) ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) เป็นต้น ในต้นทุนหรือราคาที่ถูกลง โดยผ่านความสัมพันธ์ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมที่แต่ละสมาชิกทำหน้าที่ตามบทบาทตัวเองอย่างเหมาะสม ทุนทางสังคมจึงเป็นรากฐานในความร่วมมือกันทางสังคม ซึ่งจะส่งเสริมทั้งการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและพัฒนาการทางการเมือง
ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย
สำหรับสังคมไทย คำว่าทุนทางสังคมถูกนำมาใช้อย่างมากหลังจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ เนื่องจากปัญหาการจัดการทุนทางเศรษฐกิจ ทำให้เกิดการนำเข้าคำศัพท์ใหม่ๆ เกี่ยวกับการแสวงหาความร่วมมือมากกว่าการแข่งขันแสวงหากำไร คำว่าทุนทางสังคมจึงถูกนำเข้ามาใช้ในสังคมไทย โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ให้ความหมายของทุนทางสังคมในบริบทของสังคมไทยว่าหมายถึงผลรวมของสิ่งดีงามต่างๆที่มีอยู่ในสังคม ทั้งในส่วนที่ได้จากการสั่งสมและการต่อยอด รวมถึงการรวมตัวของคนที่มีคุณภาพเพื่อสร้างประโยชน์ต่อส่วนรวม บนพื้นฐานของความไว้เนื้อเชื่อใจ สายใยแห่งความผูกพันและวัฒนธรรมที่ดีงาม ซึ่งหากนำมาพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมแล้วจะเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติและสังคมให้สมดุลและยั่งยืน
คำว่าทุนทางสังคมถูกนำไปใช้ในหลายบริบทและหลายความหมาย ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างในทางการเมือง เช่น ในบทความของปิยะชาติ มงคลไชยสิทธิ์ (2548) กล่าวถึงทุนทางสังคมในฐานะที่เป็นปัจจัยหลักในการกำหนดพื้นฐานของความเป็นนักการเมืองและภาพพจน์ที่จะถูกสั่งสมออกมาเป็นนักการเมืองที่ดี ทำให้การประกอบอาชีพทางการเมืองมีความราบรื่นและส่งผลดีต่อประเทศชาติ ซึ่งในกรณีของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีพื้นฐานทุนทางสังคมมาจากพ่อค้าวาณิช ภาพของรัฐบาลและภาพพจน์ของรัฐมนตรีเหล่านั้น ในความรู้สึกของประชาชนทั่วไป จึงออกไปในทางตั้งข้อระแวง สงสัยไม่ค่อยจะไว้วางใจนัก โดยเฉพาะในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต เป็นความรู้สึกที่เหมือนกับการมองพ่อค้าวาณิชทั่วไปว่าเป็นพวกที่มุ่งแสวงหากำไรสูงสุดให้กับตนเองอย่างเดียวเป็นสำคัญมากกว่าจะคิดเจือจานรับใช้แผ่นดินด้วยความสุจริตใจ
อย่างไรก็ดี การทำความเข้าใจทุนทางสังคมไม่ใช่เป็นเพียงพื้นฐานส่วนบุคคล แต่ต้องมองในลักษณะองค์รวม เพราะทุนทางสังคมเป็นเรื่องของการจัดความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทอันหลากหลายของสมาชิกในสังคมจนออกมาเป็นสถาบันที่อยู่บนความเชื่อใจ ความร่วมมือกัน และมีเครือข่ายระหว่างกัน จนสุดท้ายทุนทางสังคมจะเป็นพื้นฐานให้กับกิจกรรมทั้งหลายที่เกิดทั้งในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ซึ่งทุนทางสังคมดังกล่าวจำเป็นต้องใช้เวลาในการสะสมอย่างยาวนาน และสามารถสถาปนาเป็นสถาบันที่จัดความสัมพันธ์ของสมาชิกได้อย่างลงตัว
อ้างอิง
- Putnam, Robert D. (2000). Bowling Alone: The Collapse and Revival of American Community. New York: Simon & Schuster.
- Putnam, Robert D. (1993). Making Democracy Work: Civic Traditions in Modern Italy. Princeton: Princeton University Press.
- สินาด ตรีวรรณไชย. "ทุนทางสังคม: ความหมายและความสำคัญ". ประชาไท. เข้าถึงวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 ใน http://prachatai.com/journal/2005/01/2262.
- “ทุนทางสังคม (Social Capital)” (2546). สำนักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต. เข้าถึงวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 ใน http://pattanathai.nesdb.go.th/Knowledge_pdf/social_capital.pdf 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ปิยะชาติ มงคลไชยสิทธิ์. "ทุนทางสังคม". มติชนรายวัน, ปีที่ 28 ฉบับที่ 9916, 4 พฤษภาคม 2548.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thunthangsngkhm social capital epnkhaxthibay thun inlksnaihmthiimichephiyngthunthangesrsthkicthimunghwnginkarthakairhruxaeswnghaphlpraoychnsungsudkhxngtwexng aetthunthangsngkhmmilksnaepnphlpraoychnhruxtnthunswnrwmthimacakkarchwyehluxaelakhwamrwmmuxknrahwangbukhkhlaelarahwangklumtanginsngkhm Putnum 2000 odythnakharolk World Bank ehnwathunthangsngkhm khux sthabn rabb khwamsmphnthaelabrrthdthankarptibti norm thinamasungptismphnthkhxngsngkhmthnginechingprimanaelakhunphaph ennthungkhwamsmphnthechuxmoyngrahwangknimichsthabnhruxtwbukhkhlodd hruxcanwnrwmkn xikthngxngkhkarephuxkhwamrwmmuxthangesrsthkicaelakarphthna Organization for Economic Co operation and Development OECD ehnwathunthangsngkhm khux karechuxmoyngkhxngbukhkhlepnekhruxkhaythangsngkhmbnphunthankhwamechuxthux iwwangicsungknaelakn trust aelamimatrthaninkarthanganrwmknxrrthathibaysahrbkhwamhmaythiniymxangthungmakthisudkhuxniyamkhxngorebirth aephthnm Robert Putnam 1993 167 thiklawwathunthangsngkhmkhuxrupaebbkhxngkarcdxngkhkarthiprakxbipdwykhwamechuxic trust brrthdthan norm aelaekhruxkhay network thicaephimprasiththiphaphihkbsngkhminkarthakickrrmtang rwmkn odythunthangsngkhmcaephimoxkasinkarbrrluepahmaykhxngsngkhmodyxasykhwamechuxic imichaekhradbbukhkhltxbukhkhl aetepnradbinxngkhrwmkhxngsngkhm aelasamarthkhadhwngidwasingthierathaipnn phuxunkcatxbrbklbmainthangediywkn khwamsmphnthdngklawcungkxtwepnsthabn institution aelacudmunghmaykhxngsthabnkkhuxkarcdkarkbpyhathiimsamarththakhnediywid collective action problem aettxngxasykhwamrwmmuxrahwangsmachikthnghlayinsngkhmaelamithunthangsngkhmepntwkhbekhluxnkhwamsmphnthdngklaw xyangirkdi inradbsaklkhawathunthangsngkhmkyngmixikhlayniyamthixaccasxdkhlxnghruxkhdaeynginbangpraedn aetcudrwmthimixyudwyknkhuxkarichkhawathunthangsngkhminkarsrangkhwamrwmmuxthangsngkhm thunthangsngkhmodytwkhxngmnexngnnmiidepnpccykarphlitodytrng hakaetepntwklanginkarekhathungpccykarphlithruxthunxun echn khawsarkhxmul thunmnusy human capital thunkayphaph physical capital thrphyakrthrrmchati natural resources epntn intnthunhruxrakhathithuklng odyphankhwamsmphnththangsngkhmhruxokhrngsrangthangsngkhmthiaetlasmachikthahnathitambthbathtwexngxyangehmaasm thunthangsngkhmcungepnrakthaninkhwamrwmmuxknthangsngkhm sungcasngesrimthngkarphthnathangesrsthkicxyangyngyunaelaphthnakarthangkaremuxngtwxyangkarnaipichinpraethsithysahrbsngkhmithy khawathunthangsngkhmthuknamaichxyangmakhlngcakkarekidwikvtiesrsthkic enuxngcakpyhakarcdkarthunthangesrsthkic thaihekidkarnaekhakhasphthihm ekiywkbkaraeswnghakhwamrwmmuxmakkwakaraekhngkhnaeswnghakair khawathunthangsngkhmcungthuknaekhamaichinsngkhmithy odysankngankhnakrrmkarphthnakaresrsthkicaelasngkhmaehngchati ssch idihkhwamhmaykhxngthunthangsngkhminbribthkhxngsngkhmithywahmaythungphlrwmkhxngsingdingamtangthimixyuinsngkhm thnginswnthiidcakkarsngsmaelakartxyxd rwmthungkarrwmtwkhxngkhnthimikhunphaphephuxsrangpraoychntxswnrwm bnphunthankhxngkhwamiwenuxechuxic sayiyaehngkhwamphukphnaelawthnthrrmthidingam sunghaknamaphthnaaelaichpraoychnxyangehmaasmaelwcaepnpccysakhyinkarphthnapraethschatiaelasngkhmihsmdulaelayngyun khawathunthangsngkhmthuknaipichinhlaybribthaelahlaykhwamhmay inthinicakhxyktwxyanginthangkaremuxng echn inbthkhwamkhxngpiyachati mngkhlichysiththi 2548 klawthungthunthangsngkhminthanathiepnpccyhlkinkarkahndphunthankhxngkhwamepnnkkaremuxngaelaphaphphcnthicathuksngsmxxkmaepnnkkaremuxngthidi thaihkarprakxbxachiphthangkaremuxngmikhwamrabrunaelasngphlditxpraethschati sunginkrnikhxngrthbal ph t th thksin chinwtr miphunthanthunthangsngkhmmacakphxkhawanich phaphkhxngrthbalaelaphaphphcnkhxngrthmntriehlann inkhwamrusukkhxngprachachnthwip cungxxkipinthangtngkhxraaewng sngsyimkhxycaiwwangicnk odyechphaaineruxngkhwamsuxstysucrit epnkhwamrusukthiehmuxnkbkarmxngphxkhawanichthwipwaepnphwkthimungaeswnghakairsungsudihkbtnexngxyangediywepnsakhymakkwacakhidecuxcanrbichaephndindwykhwamsucritic xyangirkdi karthakhwamekhaicthunthangsngkhmimichepnephiyngphunthanswnbukhkhl aettxngmxnginlksnaxngkhrwm ephraathunthangsngkhmepneruxngkhxngkarcdkhwamsmphnthrahwangbthbathxnhlakhlaykhxngsmachikinsngkhmcnxxkmaepnsthabnthixyubnkhwamechuxic khwamrwmmuxkn aelamiekhruxkhayrahwangkn cnsudthaythunthangsngkhmcaepnphunthanihkbkickrrmthnghlaythiekidthnginthangsngkhm esrsthkic aelakaremuxng sungthunthangsngkhmdngklawcaepntxngichewlainkarsasmxyangyawnan aelasamarthsthapnaepnsthabnthicdkhwamsmphnthkhxngsmachikidxyanglngtwxangxingPutnam Robert D 2000 Bowling Alone The Collapse and Revival of American Community New York Simon amp Schuster Putnam Robert D 1993 Making Democracy Work Civic Traditions in Modern Italy Princeton Princeton University Press sinad triwrrnichy thunthangsngkhm khwamhmayaelakhwamsakhy prachaith ekhathungwnthi 18 krkdakhm 2555 in http prachatai com journal 2005 01 2262 thunthangsngkhm Social Capital 2546 sankphthnasngkhmaelakhunphaphchiwit ekhathungwnthi 18 krkdakhm 2555 in http pattanathai nesdb go th Knowledge pdf social capital pdf 2016 03 05 thi ewyaebkaemchchin piyachati mngkhlichysiththi thunthangsngkhm mtichnraywn pithi 28 chbbthi 9916 4 phvsphakhm 2548