ทะเลสาบสงขลา หรือ ทะเลสาบพัทลุง หรือ ทะเลสาบลำปำ (ชื่อที่เรียกในเขตจังหวัดพัทลุง) เป็นทะเลสาบแห่งเดียวในประเทศไทยที่อยู่ติดกับจังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา
ทะเลสาบสงขลา | |
---|---|
ทะเลสาบสงขลา ทะเลสาบสงขลา | |
ภาพทะเลสาบถ่ายจากดาวเทียมใน พ.ศ. 2551 | |
ที่ตั้ง | คาบสมุทรมลายู |
พิกัด | 7°12′N 100°28′E / 7.200°N 100.467°E |
(ชนิด) | ทะเลสาบน้ำจืด, ทะเลสาบน้ำเค็ม, ทะเลสาบน้ำกร่อย |
พื้นที่รับน้ำ | 8,020 ตารางกิโลเมตร (3,100 ตารางไมล์) |
ประเทศในลุ่มน้ำ | ประเทศไทย |
พื้นที่พื้นน้ำ | 1,040 ตารางกิโลเมตร (400 ตารางไมล์) |
ความลึกโดยเฉลี่ย | 1.4 เมตร (4 ฟุต 7 นิ้ว) |
ปริมาณน้ำ | 1.6 ลูกบาศก์กิโลเมตร (0.38 ลูกบาศก์ไมล์) |
ความสูงของพื้นที่ | 0 เมตร (0 ฟุต) |
เกาะยอ, , เกาะหมาก, , , , | |
เมือง | เทศบาลนครสงขลา |
ทะเลสาบสงขลาตอนล่างมีเกาะขนาดใหญ่อยู่เกาะหนึ่ง คือ เกาะยอ และมีเกาะต่าง ๆ อีก ที่เป็นแหล่งเก็บรังนก คือ เกาะสี่ เกาะห้า
ลักษณะทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์
ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งอาณาจักรอยุธยา จากหลักฐานแผนที่ราชอาณาจักรสยามของชาวฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2229 บันทึกไว้ว่า บริเวณแหลมสทิงพระแห่งนี้ มีเกาะอยู่ด้วยกันทั้งหมด 5 เกาะ เกาะที่มีขนาดใหญ่สุด อยู่ทางตอนเหนือ ส่วนทางตอนใต้มีเกาะเล็ก ๆ อีก 4 เกาะ กระจัดกระจายกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2383 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีหลักฐานการเดินทางเป็นบันทึกเรือของชาวอังกฤษ ขณะเดินทางผ่านน่านน้ำแถบนี้ ระบุไว้ว่า
แล่นผ่านช่องแคบนครศรีธรรมราชและหมู่เกาะแทนทาลัม การเดินเรือค่อนข้างน่ากลัวเพราะเต็มไปด้วยโขดหิน แต่คนเดินเรือของเราเคยเดินทางผ่านมาแล้วด้วยเรือเล็ก เขาก็อาสานำเรือ ทิวทัศน์ทั้ง 2 ฟากแถบดูใหญ่โตมาก ทางฝั่งเมืองนครศรีธรรมราชเก่า ทิวเขาก็แสดงความอุดมสมบูรณ์แตกต่างกัน คือ ทางยอดเขานั้นรู้สึกโล่งเตียน ไม่เหมือนทางต่ำกว่าที่อุดมสมบูรณ์ของแทนทาลัม นอกจากนี้ยังมีอ่าวเล็ก ๆ ของเมืองตาลุง ราว 4 โมงเย็น เราก็มาถึงนอกเมืองสงขลา
ต่อมาภายหลังระดับน้ำทะเลลดลงจนเกิดการทับถมของตะกอนและทรายตอนบนทำให้เกาะเล็กทั้ง 4 เกาะรวมกันเป็นเกาะใหญ่ เรียกว่า เกาะแทนทาลัม ต่อมาภายหลังลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนไป แผ่นดินของเกาะยื่นออกไปเชื่อมกับแผ่นดินตอนบนที่อยู่ทางนครศรีธรรมราช กลายเป็นทะเลสาบ
ซึ่งดินแดนแถบทะเลสาบสงขลาในอดีตมีความเจริญทางการค้าและวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก อันเนื่องจากเป็นท่าเรือ เปิดรับชนชาติต่าง ๆ ทั้ง จีน, อินเดีย และอาหรับ ตั้งแต่- ก่อเกิดเป็นชุมชนต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและศาสนารายรอบ
ลักษณะทางภูมิศาสตร์และความหลากหลายทางชีวภาพ
น้ำในทะเลสาบสงขลาได้รับน้ำจากทิวเขาบรรทัดและทิวเขาสันกาลาคีรีจากอำเภอสะเดา ทั้งหมดไหลลงสู่ทะเลสาบสงขลา ลุ่มน้ำในแถบนี้เรียกว่า "ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา"
เป็นทะเลสาบที่มีลักษณะของน้ำในทะเลสาบถึง 3 น้ำ คือ น้ำจืด, น้ำกร่อย และน้ำเค็ม มีแม่น้ำและคลองหลายสายที่ไหลเข้าสู่ทะเลสาบแห่งนี้ ทำให้น้ำมีการเปลี่ยนแปลงเสมอตามฤดูกาล โดยขึ้นอยู่กับกระแสน้ำในแม่น้ำสายต่าง ๆ ที่ไหลเข้าสู่ทะเลสาบ และกระแสน้ำทะเลหนุน จึงทำให้มีการเปลี่ยนถ่ายน้ำอยู่ตลอดเวลา
ทะเลสาบสงขลาตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ จัดได้ว่า เป็น ลากูน (Lagoon) หรือทะเลสาบที่อยู่ติดกับทะเล (อ่าวไทย) มีปากตอนล่างเปิดเข้าสู่อ่าวไทย สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ช่วงใหญ่ ๆ คือ
ทะเลน้อย เป็นช่วงต้นของทะเลสาบคาบเกี่ยวอยู่กับ 2 อำเภอ 2 จังหวัด อันได้แก่ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงและ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นทะเลสาบน้ำจืด มีพื้นผิวน้ำราว 30 ตารางกิโลเมตร เดิมทีน้ำในทะเลสาบแห่งนี้เป็นน้ำกร่อยเพราะมีการเจือปนของน้ำที่หนุนมาจากทะเลสาบสงขลาที่อยู่ทางต้านใต้ โดยผ่านคลอง 3 สาย คือ คลองนางเรียม, คลองยวน และคลองบ้านกลาง
เป็นสถานที่ ๆ มีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ทั้งสัตว์น้ำและนกชนิดต่าง ๆ ทั้งนกท้องถิ่นและนกอพยพ มีปลาหลายชนิดที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ อาทิ ปลาดุกลำพัน (Clarias nieuhofii), ปลาตือ (Chitala lopis), ปลาตุ่ม (Puntioplites bulu) เป็นต้น โดยปลาชนิดที่พบมากที่สุดคือ ปลาดุก (Clarias batrachus) จนเกิดการทำเป็นปลาดุกร้าที่ไม่เหมือนกับปลาร้าของภาคอีสาน
และยังเป็นแหล่งอาศัยของโลมาอิรวดีหรือโลมาหัวบาตร (Orcaella brevirostris) ถือเป็นแหล่งน้ำจืดที่พบจำนวนโลมาอิรวดีน้อยที่สุดในโลกและเป็นแหล่งที่วิกฤตที่สุดอีกด้วย
ทำให้เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอันอุดม เป็นแหล่งทำการประมงและการเกษตรพื้นบ้านมาอย่างยาวนาน และบริเวณ "" เป็นพื้นที่พรุในอำเภอควนขนุน ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำอนุรักษ์ตามอนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) นับเป็นแห่งแรกของประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2541 และแห่งที่ 110 ของโลก และถูกประกาศให้เป็นเป็นแห่งแรกของประเทศไทยด้วย เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
ทะเลสาบตอนบน เป็นทะเลสาบตอนที่ 2 จากทะเลน้อยจนมาถึงแหลมจองถนนและแหลมควายราบฝั่งเกาะใหญ่
ทะเลสาบตอนกลาง จากทะเลสาบตอนบนมาจนถึงปากแม่น้ำหลวงของเขตอำเภอปากพะยูน
ทะเลสาบตอนล่าง เป็นทะเลสาบที่อยู่รอบ ๆ เกาะยอ และมีปากน้ำที่ไหล่ออกสู่อ่าวไทย
โดยระบบนิเวศของทะเลสาบสงขลาแบ่งออกได้เป็น 4 ระบบ คือ
1.ระบบนิเวศป่าต้นน้ำ
2.ระบบนิเวศกลางน้ำ
3.ระบบนิเวศปลายน้ำ
4.ระบบนิเวศในน้ำ
ในปี พ.ศ. 2467 ดร.ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ที่ปรึกษาด้านสัตว์น้ำของกระทรวงเกษตราธิการ ได้เดินทางสู่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาเพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ได้บันทึกถึงชนิดของกุ้งในทะเลสาบสงขลาไว้ว่า
กุ้งชนิดที่ดีเยี่ยมมีพันธุ์ต่าง ๆ
เกิดชุกชุมในชายทะเลแห่งนี้
แต่กุ้งในทะเลสาบมีมากที่สุด
ไม่มีน่านน้ำใด ๆ ในโลก
ที่มีจำนวนกุ้งและพันธุ์กุ้งหลายอย่าง
หลากชนิด เหมือนในน่านน้ำแถบนี้
โลมาอิรวดี
มีประชากรโลมาอิรวดีจำนวนน้อยในทะเลหลวง ใกล้เกาะสี่เกาะห้าของจังหวัดพัทลุง พวกมันเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์จากการจับปลามากเกินและมลภาวะ บัญชีแดงไอยูซีเอ็นจัดให้ประชากรที่อาศัยอยู่ที่และอยู่ในสถานะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์อย่างมาก
แหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม
- ชาติชาย มุกสง. “หนึ่งร้อยปีแห่งความห่อเหี่ยว: สามัญชนวิถีแห่งการดินรนและการย้ายถิ่นข้ามเมืองในลุ่มทะเลสาบสงขลาระหว่างทศวรรษ 2420-2430.” ใน พิเชฐ แสงทอง (บก.), เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 10 คลุมเครือ เคลือบแคลง เส้นแบ่งและพรมแดนในมนุษยศาสตร์. น. 663-85. นครศรีธรรมราช: โรงพิมพ์กรีนโซนการพิมพ์, 2559.
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-16. สืบค้นเมื่อ 2022-02-21.
- "ทะเลสาบลำปำ จังหวัดพัทลุง". culture.nstru.ac.th. สืบค้นเมื่อ 12 December 2014.[]
- "พินิจนคร: ทะเลสาบสงขลา ๑ มรดกแห่งหัตถศิลป์บนด้ามขวาน อดีตเก่ากาลเล่าขานตำนานโนรา". ไทยพีบีเอส. 7 September 2011. สืบค้นเมื่อ 12 December 2014.
- . ช่อง 5. 15 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-07. สืบค้นเมื่อ 20 June 2014.
- Reeves, R. R., Jefferson, T. A., Karczmarski, L., Laidre, K., O’Corry-Crowe, G., Rojas-Bracho, L., Secchi, E. R., Slooten, E., Smith, B. D., Wang, J. Y. & Zhou, K. (2008). "Orcaella brevirostris". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2011.1. สืบค้นเมื่อ 26 June 2011.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - "พินิจนคร: ทะเลสาบสงขลา ๒ ขุมทรัพย์กลางมหาละหาน ห้วงธารระบบนิเวศน์สามน้ำ". ไทยพีบีเอส. 14 September 2011. สืบค้นเมื่อ 12 December 2014.
- Cetacean Specialist Group (1996). "Orcaella brevirostris". IUCN Red List of Threatened Species. 1996. สืบค้นเมื่อ 10 March 2007.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
thaelsabsngkhla hrux thaelsabphthlung hrux thaelsablapa chuxthieriykinekhtcnghwdphthlung epnthaelsabaehngediywinpraethsithythixyutidkbcnghwdphthlungaelacnghwdsngkhlathaelsabsngkhlathaelsabsngkhlaaesdngaephnthicnghwdsngkhlathaelsabsngkhlaaesdngaephnthipraethsithyphaphthaelsabthaycakdawethiymin ph s 2551thitngkhabsmuthrmlayuphikd7 12 N 100 28 E 7 200 N 100 467 E 7 200 100 467chnidthaelsabnacud thaelsabnaekhm thaelsabnakrxyphunthirbna8 020 tarangkiolemtr 3 100 tarangiml praethsinlumnapraethsithyphunthiphunna1 040 tarangkiolemtr 400 tarangiml khwamlukodyechliy1 4 emtr 4 fut 7 niw primanna1 6 lukbaskkiolemtr 0 38 lukbaskiml khwamsungkhxngphunthi0 emtr 0 fut ekaayx ekaahmak emuxngethsbalnkhrsngkhla thaelsabsngkhlatxnlangmiekaakhnadihyxyuekaahnung khux ekaayx aelamiekaatang xik thiepnaehlngekbrngnk khux ekaasi ekaahalksnathangphumisastraelaprawtisastrinrchsmysmedcphranaraynmharach aehngxanackrxyuthya cakhlkthanaephnthirachxanackrsyamkhxngchawfrngess inpi ph s 2229 bnthukiwwa briewnaehlmsthingphraaehngni miekaaxyudwyknthnghmd 5 ekaa ekaathimikhnadihysud xyuthangtxnehnux swnthangtxnitmiekaaelk xik 4 ekaa kracdkracaykn txmainpi ph s 2383 trngkbrchsmyphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhw aehngkrungrtnoksinthr mihlkthankaredinthangepnbnthukeruxkhxngchawxngkvs khnaedinthangphannannaaethbni rabuiwwa aelnphanchxngaekhbnkhrsrithrrmrachaelahmuekaaaethnthalm karedineruxkhxnkhangnaklwephraaetmipdwyokhdhin aetkhnedineruxkhxngeraekhyedinthangphanmaaelwdwyeruxelk ekhakxasanaerux thiwthsnthng 2 fakaethbduihyotmak thangfngemuxngnkhrsrithrrmracheka thiwekhakaesdngkhwamxudmsmburnaetktangkn khux thangyxdekhannrusukolngetiyn imehmuxnthangtakwathixudmsmburnkhxngaethnthalm nxkcakniyngmixawelk khxngemuxngtalung raw 4 omngeyn erakmathungnxkemuxngsngkhla txmaphayhlngradbnathaelldlngcnekidkarthbthmkhxngtakxnaelathraytxnbnthaihekaaelkthng 4 ekaarwmknepnekaaihy eriykwa ekaaaethnthalm txmaphayhlnglksnaphumipraethsepliynip aephndinkhxngekaayunxxkipechuxmkbaephndintxnbnthixyuthangnkhrsrithrrmrach klayepnthaelsab sungdinaednaethbthaelsabsngkhlainxditmikhwamecriythangkarkhaaelawthnthrrmepnxyangmak xnenuxngcakepnthaerux epidrbchnchatitang thng cin xinediy aelaxahrb tngaet kxekidepnchumchntang thimikhwamhlakhlaythangwthnthrrmaelasasnarayrxblksnathangphumisastraelakhwamhlakhlaythangchiwphaphnainthaelsabsngkhlaidrbnacakthiwekhabrrthdaelathiwekhasnkalakhiricakxaephxsaeda thnghmdihllngsuthaelsabsngkhla lumnainaethbnieriykwa lumnathaelsabsngkhla epnthaelsabthimilksnakhxngnainthaelsabthung 3 na khux nacud nakrxy aelanaekhm miaemnaaelakhlxnghlaysaythiihlekhasuthaelsabaehngni thaihnamikarepliynaeplngesmxtamvdukal odykhunxyukbkraaesnainaemnasaytang thiihlekhasuthaelsab aelakraaesnathaelhnun cungthaihmikarepliynthaynaxyutlxdewla thaelsabsngkhlatamlksnathangphumisastr cdidwa epn lakun Lagoon hruxthaelsabthixyutidkbthael xawithy mipaktxnlangepidekhasuxawithy samarthaebngxxkidepn 4 chwngihy khux thaelnxy epnchwngtnkhxngthaelsabkhabekiywxyukb 2 xaephx 2 cnghwd xnidaek xaephxkhwnkhnun cnghwdphthlungaela xaephxraond cnghwdsngkhla epnthaelsabnacud miphunphiwnaraw 30 tarangkiolemtr edimthinainthaelsabaehngniepnnakrxyephraamikarecuxpnkhxngnathihnunmacakthaelsabsngkhlathixyuthangtanit odyphankhlxng 3 say khux khlxngnangeriym khlxngywn aelakhlxngbanklang epnsthanthi mikhwamhlakhlaythangchiwphaphmak thngstwnaaelankchnidtang thngnkthxngthinaelankxphyph miplahlaychnidthihayakaelaiklsuyphnthu xathi pladuklaphn Clarias nieuhofii platux Chitala lopis platum Puntioplites bulu epntn odyplachnidthiphbmakthisudkhux pladuk Clarias batrachus cnekidkarthaepnpladukrathiimehmuxnkbplarakhxngphakhxisan aelayngepnaehlngxasykhxngolmaxirwdihruxolmahwbatr Orcaella brevirostris thuxepnaehlngnacudthiphbcanwnolmaxirwdinxythisudinolkaelaepnaehlngthiwikvtthisudxikdwy thaihepnaehlngthrphyakrthrrmchatixnxudm epnaehlngthakarpramngaelakarekstrphunbanmaxyangyawnan aelabriewn epnphunthiphruinxaephxkhwnkhnun thukprakasihepnphunthichumnaxnurkstamxnusyyaaermsar Ramsar Convention nbepnaehngaerkkhxngpraethsithy emuxpi ph s 2541 aelaaehngthi 110 khxngolk aelathukprakasihepnepnaehngaerkkhxngpraethsithydwy emuxwnthi 18 kumphaphnth ph s 2518 thaelsabtxnbn epnthaelsabtxnthi 2 cakthaelnxycnmathungaehlmcxngthnnaelaaehlmkhwayrabfngekaaihy thaelsabtxnklang cakthaelsabtxnbnmacnthungpakaemnahlwngkhxngekhtxaephxpakphayun thaelsabtxnlang epnthaelsabthixyurxb ekaayx aelamipaknathiihlxxksuxawithy odyrabbniewskhxngthaelsabsngkhlaaebngxxkidepn 4 rabb khux 1 rabbniewspatnna 2 rabbniewsklangna 3 rabbniewsplayna 4 rabbniewsinna inpi ph s 2467 dr hiwc aemkhkhxrmikh smith thipruksadanstwnakhxngkrathrwngekstrathikar idedinthangsulumnathaelsabsngkhlaephuxsuksakhwamhlakhlaythangchiwphaph idbnthukthungchnidkhxngkunginthaelsabsngkhlaiwwa kungchnidthidieyiymmiphnthutang ekidchukchuminchaythaelaehngni aetkunginthaelsabmimakthisud imminannaid inolk thimicanwnkungaelaphnthukunghlayxyang hlakchnid ehmuxninnannaaethbniolmaxirwdimiprachakrolmaxirwdicanwnnxyinthaelhlwng iklekaasiekaahakhxngcnghwdphthlung phwkmnesiyngtxkarsuyphnthucakkarcbplamakekinaelamlphawa bychiaedngixyusiexncdihprachakrthixasyxyuthiaelaxyuinsthanaesiyngtxkarsuyphnthuxyangmakaehlngkhnkhwaephimetimchatichay muksng hnungrxypiaehngkhwamhxehiyw samychnwithiaehngkardinrnaelakaryaythinkhamemuxnginlumthaelsabsngkhlarahwangthswrrs 2420 2430 in phiechth aesngthxng bk exksarprakxbkarprachumwichakarradbchati ewthiwicymnusysastrithy khrngthi 10 khlumekhrux ekhluxbaekhlng esnaebngaelaphrmaedninmnusysastr n 663 85 nkhrsrithrrmrach orngphimphkrinosnkarphimph 2559 xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 11 16 subkhnemux 2022 02 21 thaelsablapa cnghwdphthlung culture nstru ac th subkhnemux 12 December 2014 lingkesiy phinicnkhr thaelsabsngkhla 1 mrdkaehnghtthsilpbndamkhwan xditekakalelakhantananonra ithyphibiexs 7 September 2011 subkhnemux 12 December 2014 chxng 5 15 June 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 07 07 subkhnemux 20 June 2014 Reeves R R Jefferson T A Karczmarski L Laidre K O Corry Crowe G Rojas Bracho L Secchi E R Slooten E Smith B D Wang J Y amp Zhou K 2008 Orcaella brevirostris IUCN Red List of Threatened Species Version 2011 1 subkhnemux 26 June 2011 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint multiple names authors list lingk phinicnkhr thaelsabsngkhla 2 khumthrphyklangmhalahan hwngtharrabbniewsnsamna ithyphibiexs 14 September 2011 subkhnemux 12 December 2014 Cetacean Specialist Group 1996 Orcaella brevirostris IUCN Red List of Threatened Species 1996 subkhnemux 10 March 2007 old form urlaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb thaelsabsngkhla