ตัวกระตุ้นอันตราย (อังกฤษ: noxious stimulus) เป็นปรากฏการณ์ ที่ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อจริง ๆ หรืออาจจะทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อได้ เป็นสิ่งที่จะต้องมีก่อนที่โนซิเซ็ปชั่น (คือการส่งสัญญาณประสาทสื่อว่า มีตัวกระตุ้นอันตราย) จะเกิดขึ้นได้ และโนซิเซ็ปชั่นก็จะต้องมี ก่อนที่ความเจ็บปวดจะะเกิดขึ้นได้
ตัวกระตุ้นอันตรายอาจจะเป็นแบบเชิงกล (เช่นการหนีบ การหยิก หรือการทำเนื้อเยื่อให้ผิดรูป) เชิงเคมี (เช่นการสัมผัสกระทบกรดหรือสารระคายเคืองอย่างอื่น) หรือเชิงอุณหภูมิ (คือมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำ ร้อนหรือเย็น)
มีความเสียหายของเนื้อเยื่อบางประเภทที่ไม่มีตัวรับความรู้สึกใด ๆ ตรวจจับได้ จึงไม่เป็นเหตุของความเจ็บปวด ดังนั้น ตัวกระตุ้นอันตรายทั้งหมด จึงไม่ใช่เป็นตัวกระตุ้นที่เหมาะสม (adequate stimulus) ของโนซิเซ็ปเตอร์ ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมของโนซิเซ็ปเตอร์จึงเรียกว่า ตัวกระตุ้นโนซิเซ็ปเตอร์ (อังกฤษ: nociceptive stimulus) ซึ่งมีนิยามว่าเป็นปรากฏการณ์ ที่ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อจริง ๆ หรืออาจจะทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อได้ เป็นปรากฏการณ์ที่โนซิเซ็ปเตอร์ทำและทำการเข้ารหัส
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Loeser JD, Treede RD. (2008). "The Kyoto protocol of IASP Basic Pain Terminology". Pain. 137 (3): 473–7. doi:10.1016/j.pain.2008.04.025. PMID 18583048.
- "an actually or potentially tissue damaging event transduced and encoded by nociceptors."
- ในสรีรวิทยา การถ่ายโอน (อังกฤษ: Transduction) คือการเปลี่ยนตัวกระตุ้นแบบหนึ่งไปยังอีกแบบหนึ่ง การถ่ายโอนในระบบประสาทมักจะหมายถึงการส่งสัญญาณเพื่อแจ้งการตรวจพบตัวกระตุ้น โดยที่ตัวกระตุ้นเชิงกล ตัวกระตุ้นเชิงเคมี หรือเชิงอื่น ๆ ถูกเปลี่ยนเป็นศักยะงานประสาท แล้วส่งไปทางแอกซอน ไปสู่ระบบประสาทกลางซึ่งเป็นศูนย์รวบรวมสัญญาณประสาทเพื่อประมวลผล
- การเข้ารหัส โดยรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
twkratunxntray xngkvs noxious stimulus epnpraktkarn thithaihekidkhwamesiyhayinenuxeyuxcring hruxxaccathaihekidkhwamesiyhayinenuxeyuxid epnsingthicatxngmikxnthionsiespchn khuxkarsngsyyanprasathsuxwa mitwkratunxntray caekidkhunid aelaonsiespchnkcatxngmi kxnthikhwamecbpwdcaaekidkhunid twkratunxntrayxaccaepnaebbechingkl echnkarhnib karhyik hruxkarthaenuxeyuxihphidrup echingekhmi echnkarsmphskrathbkrdhruxsarrakhayekhuxngxyangxun hruxechingxunhphumi khuxmixunhphumisunghruxta rxnhruxeyn mikhwamesiyhaykhxngenuxeyuxbangpraephththiimmitwrbkhwamrusukid trwccbid cungimepnehtukhxngkhwamecbpwd dngnn twkratunxntraythnghmd cungimichepntwkratunthiehmaasm adequate stimulus khxngonsiespetxr twkratunthiehmaasmkhxngonsiespetxrcungeriykwa twkratunonsiespetxr xngkvs nociceptive stimulus sungminiyamwaepnpraktkarn thithaihekidkhwamesiyhayinenuxeyuxcring hruxxaccathaihekidkhwamesiyhayinenuxeyuxid epnpraktkarnthionsiespetxrthaaelathakarekharhsduephimtwkratun onsiespetxr onsiespchnechingxrrthaelaxangxingLoeser JD Treede RD 2008 The Kyoto protocol of IASP Basic Pain Terminology Pain 137 3 473 7 doi 10 1016 j pain 2008 04 025 PMID 18583048 an actually or potentially tissue damaging event transduced and encoded by nociceptors insrirwithya karthayoxn xngkvs Transduction khuxkarepliyntwkratunaebbhnungipyngxikaebbhnung karthayoxninrabbprasathmkcahmaythungkarsngsyyanephuxaecngkartrwcphbtwkratun odythitwkratunechingkl twkratunechingekhmi hruxechingxun thukepliynepnskyanganprasath aelwsngipthangaexksxn ipsurabbprasathklangsungepnsunyrwbrwmsyyanprasathephuxpramwlphl karekharhs odyrwm kkhux karaeplngkhxmulthixyuinrupaebbhnung ipepnkhxmulinxikrupaebbhnung twxyangechn ekharhsesiyngdntriipepnhlumelk bnsidithiichelnephlngnnid