ชีวกโกมารภัจจ์ (คำอ่าน:ชี-วก-โก-มา-ระ-พัด;บาลี: Jīvaka Komārabhacca) หรือ ชีวกกุมารภฤต (สันสกฤต: Jīvaka Kumārabhṛta) มักย่อว่า หมอชีวก (Jīvaka) เป็นแพทย์ประจำพระองค์พระโคตมพุทธเจ้าและพระเจ้าพิมพิสารแห่งแคว้นมคธ อาศัยอยู่ในราชคฤห์ช่วง 600–500 ปีก่อนคริสตกาล มีชื่อเสียงอย่างมากในฐานะแพทย์ตัวอย่างในตำนานของเอเชีย ทั้งได้รับยกย่องให้เป็นแพทย์ต้นแบบของแพทย์แผนโบราณในหลายประเทศแถบเอเชีย
ชีวกโกมารภัจจ์ | |
---|---|
รูปเคารพแบบไทย ไว้เคราขาว สวมชุดขาว สวมประคำ | |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | |
มรณภาพ | ราชคฤห์, มคธ |
ศาสนา | พุทธ |
สัญชาติ | มคธ |
บุพการี |
|
สำนักศึกษา | ตักษศิลา |
รู้จักจาก | อายุรเวท, การนวดแผนไทย |
วิชาชีพ | แพทย์ |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
ครู | |
วิชาชีพ | แพทย์ |
ตำแหน่ง | แพทย์ประจำพระองค์พระโคตมพุทธเจ้า พระเจ้าพิมพิสาร และพระเจ้าอชาตศัตรู |
เรื่องราวของชีวกพบได้ในของหลาย ๆ วัฒนธรรม เช่น วัฒนธรรมบาลีและวัฒนธรรมมูลสรวาสติวาท ตลอดจนเอกสารสมัยหลังอย่างพระสูตรและ เอกสารเหล่านี้ระบุสอดคล้องกันว่า ชีวกเป็นบุตรของหญิงงามเมืองผู้หนึ่ง ถูกมารดาทิ้งแต่กำเนิด ชาววังพระเจ้าพิมพิสารมาพบเข้าจึงเก็บไปเลี้ยง ครั้นเติบใหญ่ขึ้น เขาเดินทางไปตักศิลาเพื่อเรียนวิชาแพทย์เจ็ดปี สำเร็จแล้วก็เริ่มรักษาคนในราชคฤห์ ความสำเร็จในการรักษาของเขาทำให้เขามีชื่อเสียงเลื่องลือ ทั้งได้เป็นแพทย์ประจำพระองค์พระเจ้าพิมพิสารและพระโคตมพุทธเจ้า ยิ่งเขาถวายงานต่อพระพุทธเจ้า เขาก็ยิ่งเลื่อมใสในพุทธศาสนา ที่สุดจึงได้เป็นอุปถัมภกคนสำคัญของศาสนานี้ ทั้งได้สร้างวัดนามว่า "" ถวายพระพุทธเจ้าด้วย ภายหลังพระเจ้าอชาตศัตรู พระราชโอรสพระเจ้าพิมพิสาร ปลงพระชนม์พระเจ้าพิมพิสารเพื่อชิงบัลลังก์ ชีวกก็มีบทบาทในการทำให้พระเจ้าอชาตศัตรูยอมมาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า จนพระเจ้าอชาตศัตรูสำนึกในบาปกรรม
เอกสารข้างต้นมักพรรณนาวิธีการซับซ้อนที่ชีวกใช้ในการแพทย์ เช่น วิธีการบางอย่างที่อาจตีความได้ว่า เป็นการผ่าตัดสมอง แต่คุณค่าในทางประวัติศาสตร์ของเนื้อหาเหล่านี้เป็นที่ถกเถียงกันมายาวนานในหมู่นักวิชาการ ถึงกระนั้น ชาวพุทธก็ยกย่องชีวกตลอดมาในหน้าประวัติศาสตร์ของเอเชีย ทั้งแพทย์ที่มิใช่ชาวพุทธก็นับถือเขาในระดับหนึ่งโดยยกย่องเป็นแพทย์ตัวอย่างและเป็นนักบุญ นอกจากนี้ มีเอกสารการแพทย์จำนวนหนึ่งจากยุคกลางของอินเดียและจีนที่เชื่อว่า ชีวกเป็นผู้แต่ง ปัจจุบัน ชาวอินเดียและชาวไทยยกย่องเขาเป็นผู้โอบอุ้มการแพทย์แผนโบราณ ทั้งเขายังมีบทบาทหลักในพิธีกรรมทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย อนึ่ง ที่ผ่านมา บทบาทของชีวกในทางตำนานก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยดึงดูดผู้เลื่อมใสและสร้างความชอบธรรมให้แก่พุทธศาสนา โดยมีการปรับปรุงรายละเอียดบางประการให้สอดรับกับบริบทของแต่ละท้องที่
ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 พระถังซัมจั๋งรับราชโองการจักรพรรดิถังไท่จงไปเชิญพระไตรปิฎกมาจากอินเดีย ได้พบวัดแห่งหนึ่ง และระบุว่า เป็นวัดชีวการามวิหารของหมอชีวก สถานที่ที่พระถังซัมจั๋งค้นพบนั้นได้รับการขุดค้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และถือเป็นหนึ่งในพุทธสถานอันเก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน
แหล่งข้อมูล
ชีวิตของชีวกนั้นปรากฏในเอกสารพุทธสมัยเริ่มแรกหลายฉบับ เช่น พระไตรปิฎกภาษาบาลี, เอกสารภาษาสันสกฤต, เอกสารภาษาจีน (อย่าง , มหีศาสกะ, และสรวาสติวาท ที่แปลจากต้นฉบับภาษาอินเดียเมื่อ 500 ปีก่อนคริสตกาล), และเอกสารภาษาทิเบต
เอกสารเก่าแก่ที่สุดที่ว่าด้วยชีวิตของชีวกนั้น คือ พระวินัยในพระไตรปิฎก ซึ่งสามารถกำหนดอายุย้อนไปได้ถึงราวครึ่งแรกของศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล พระวินัยนี้นอกจากมีส่วนที่ว่าด้วยกฎระเบียบทางการแพทย์แล้ว ยังบรรยายชีวิตและผลงานของชีวก ซึ่งได้รับการแปลออกเป็นหลายภาษา
ส่วนพระไตรปิฎกภาษาจีนที่เรียกว่า "" นั้น มีเนื้อหาสองส่วนที่เกี่ยวกับชีวกและไม่ได้อยู่ในพระวินัย คือ พระสูตรสองบทที่เรียกว่า "อามรปาลิชีวกสูตร" ซึ่งประพันธ์ขึ้นก่อนศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล กับ "อามรปาลิชีวกอวทานสูตร" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7–10 พระสูตรทั้งสองใช้เอกสารภาษาสันสกฤตหรือเอกสารจากเอเชียกลางเป็นแหล่งข้อมูล เชื่อกันมาตลอดว่า ผู้ประพันธ์พระสูตรทั้งสอง ได้แก่ (安世高) แต่ก็มีผู้โต้แย้งว่า ความเชื่อนี้เป็นเพียงความพยายามจะทำให้พระสูตรดูเก่าแก่และมีความชอบธรรม นักวิชาการอย่าง C. Pierce Salguero เห็นว่า พระสูตรดังกล่าวน่าจะใช้แหล่งข้อมูลที่ (竺法護) แปลมา รวมถึงพระวินัย และ มากกว่า โดยเป็นการปรับปรุงให้เข้าถึงผู้อ่านที่เป็นฆราวาสมากขึ้น เพราะเนื้อหาในพระวินัยนั้นเน้นให้พระสงฆ์อ่าน อนึ่ง เป็นไปได้ว่า เนื้อหาของอามรปาลิชีวกสูตรนั้นประพันธ์ขึ้นโดยรวมเอาและบางทีตั้งใจจะใช้ทดแทนเรื่องราวจากพระวินัยในสมัยแรก ๆ ที่พบในมหีศาสกะและสรวาสติวาท ส่วนอามรปาลิชีวกอวทานสูตรก็น่าจะอ้างอิงอามรปาลิชีวกสูตรอีกที แต่ขยายความโดยใช้พระวินัยฉบับธรรมคุปตกะเป็นแหล่งข้อมูล
นอกจากเอกสารข้างต้นแล้ว ยังมีเอกสารประเภทอวทานอีกหลายฉบับที่ว่าด้วยชีวก ทั้งยังปรากฏการอ้างถึงเขาในวรรณกรรมอินเดียหลายเรื่องที่ไม่ใช่ของพุทธศาสนา เช่น ซึ่งเป็นคำอธิบายขยายความ ตลอดจนกวีนิพนธ์แนวเสียดสีเรื่อง กเษเมนทระ ที่ประพันธ์ขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 เป็นภาษากัศมีร์
นักวิชาการอย่าง Kenneth Zysk และ C. Pierce Salguero เปรียบเทียบเนื้อหาฉบับต่าง ๆ เกี่ยวกับชีวิตของชีวกแล้ว เชื่อว่า ไม่มีฉบับไหนที่เป็นเนื้อหาดั้งเดิมเลย ชีวประวัติดั้งเดิมของชีวกเป็นอย่างไรนั้นจึงไม่อาจรู้ได้ นอกจากนี้ ทั้งสองยังเห็นว่า เนื้อหาฉบับต่าง ๆ เหล่านี้ผ่านการปรับปรุงแก้ไขให้สอดรับกับความนิยมในท้องถิ่น ตัวอย่างเช่น Salguero เห็นว่า เนื้อหาส่วนใหญ่ในพระสูตรเกี่ยวกับชีวกซึ่งอยู่นอกพระวินัยนั้นเขียนขึ้นโดยอาศัยภูมิปัญญาการแพทย์แผนจีน ทั้งวิธีทางแพทย์ที่ทั้งพระวินัยและพระสูตรบรรยายว่า เป็นของชีวกนั้น ก็ดูจะเป็นการแพทย์แผนจีนมากกว่าแผนอินเดีย อนึ่ง คติสอนใจหลาย ๆ อย่างในเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของชีวกนั้นก็ปรากฏว่า ดึงมาจากตำนานเกี่ยวกับแพทย์ชาวจีนหลายคน Zysk เห็นว่า เอกสารฉบับภาษาบาลีนั้นมีความเป็นจริงมากกว่าเอกสารที่ได้รับอิทธิพลจากคติมหายานที่มีเนื้อหาไปในเชิงเวทมนตร์ปาฏิหาริย์เสียมาก เขายังเห็นว่า เอกสารภาษาทิเบตและสันสกฤตพรรณนาการรักษาโรคไว้มากกว่าที่ปรากฏในเอกสารอินเดียดั้งเดิมอย่างอายุรเวท เนื้อหาแต่ละฉบับยังบรรยายโรคภัยไว้ตามความเข้าใจในท้องถิ่นแล้วดำเนินเรื่องโดยให้หมอชีวกมารักษา แต่ข้อความที่บรรยายในแต่ละฉบับก็คล้ายคลึงกันในหลายส่วนอยู่
เรื่องราว
บุตรที่ถูกทิ้ง
เอกสารภาษาบาลีซึ่งเป็นเอกสารเก่าแก่ที่สุด รวมถึงเอกสารภาษาจีนอย่างธรรมคุปตกะและอามรปาลิชีวกอวทานสูตร ระบุว่า ชีวกเกิดในราชคฤห์ เมืองหลวงของมคธซึ่งมีพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมหากษัตริย์ มารดาของชีวกเป็นหญิงงามเมือง พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีและฉบับธรรมคุปตกะระบุนามของนางว่า "สลาวตี" (หรือ "สาลวดี" ในฉบับภาษาไทย) หญิงงามเมืองนั้นเมื่อคลอดบุตรชายแล้วก็ให้คนรับใช้นำบุตรไปทิ้งขยะ Jonathan Silk มองว่า เหตุผลที่นางทิ้งบุตรชาย คงเพราะเห็นว่า มีประโยชน์น้อยกว่าบุตรหญิง (ที่จะได้เอามาเลี้ยงเป็นหญิงงามเมืองเหมือนกัน) ส่วน Y.B. Singh อธิบายว่า นางคงเกรงว่า การมีบุตรจะทำให้ชื่อเสียงและรายได้ในฐานะหญิงงามเมืองของนางถดถอย
เอกสารบาลีว่า เมื่อชีวกถูกมารดานำมาทิ้งไว้บนกองขยะแล้ว อภัยราชกุมาร พระโอรสของพระเจ้าพิมพิสาร เสด็จมาพบเข้า และตรัสถามคนรอบข้างว่า เด็กนี้ยังมีชีวิตอยู่หรือ ผู้คนทูลว่า ยังมีชีวิตอยู่ เจ้าชายอภัยราชกุมารจึงทรงเก็บเด็กนั้นมาเลี้ยง ประทานนามว่า "ชีวก" แปลว่า "ผู้มีชีวิต" เอกสารภาษาบาลีกล่าวอีกว่า ชีวกได้ชื่อที่สองว่า "โกมารภัจจ์" อันแปลว่า "ผู้รับใช้กุมาร" นั้น เนื่องจากพระราชกุมารทรงเลี้ยงดูอุ้มชูมา แต่นักวิชาการแย้งว่า ชื่อนี้น่าจะมีที่มาจากคำเรียกกุมารแพทย์ตามตำราอายุรเวทของอินเดียโบราณ มากกว่า
ตามเอกสารบาลี เมื่อชีวกเติบใหญ่ขึ้น เขาค้นพบชาติกำเนิดอันต่ำต้อยของตน และตกลงใจจะเรียนให้สูงเพื่อทดแทนภูมิหลังดังกล่าว เขาจึงเดินทางไปตักษศิลาเพื่อเรียนวิชาแพทย์ โดยมิได้แจ้งเจ้าชายอภัยราชกุมาร
เอกสารสมัยต่อ ๆ มา เช่น ชีวกสูตรของจีน เจียระไนเรื่องให้ดึงดูดผู้อ่านมากขึ้น โดยระบุว่า อามรปาลี หญิงงามเมืองซึ่งภายหลังได้เป็นสาวกของพระโคตมพุทธเจ้านั้น เป็นมารดาของชีวก ส่วนบิดาของชีวกซึ่งไม่ปรากฏชื่อในเอกสารสมัยก่อนหน้านั้นก็กลายเป็นพระเจ้าพิมพิสาร เช่น เอกสารสันสกฤตและเอกสารทิเบตสมัยแรกที่แปลมาจากวัฒนธรรมมูลสรวาสติวาทระบุว่า ชีวกเป็นโอรสลับของพระเจ้าพิมพิสารกับภริยาของพ่อค้าคนหนึ่ง แต่เอกสารสันสกฤตและทิเบตไม่ระบุนามของภริยาพ่อค้าดังกล่าว และระบุว่า อามรปาลีเป็นมารดาของอภัยราชกุมาร พระโอรสอีกพระองค์ของพระเจ้าพิมพิสาร แทนที่จะเป็นมารดาของชีวก เอกสารกลุ่มนี้ให้ข้อมูลว่า พระเจ้าพิมพิสารมีความสัมพันธ์ลับกับหญิงที่เป็นภริยาพ่อค้านั้น เมื่อทรงทราบว่า นางตั้งครรภ์ ก็ตรัสต่อนางว่า ถ้าคลอดเป็นชาย ให้นำมาถวายตัว จะได้ทรงชุบเลี้ยงในราชสำนัก เมื่อนางคลอดออกมาเป็นชาย คือ ชีวก นางจึงเอาทารกชายนั้นใส่หีบมาทิ้งไว้หน้าพระราชวัง พระเจ้าพิมพิสารก็ให้นำหีบนั้นเข้ามา และตรัสถามว่า เด็กในนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือ เมื่อข้าราชสำนักทูลตอบว่า ยังมีชีวิตอยู่ พระเจ้าพิมพิสารจึงเรียกเด็กนั้นว่า "ชีวก" อันแปลว่า "ผู้มีชีวิต" นอกจากนี้ เอกสารสันสกฤตและทิเบตยังพยายามพรรณนาให้ชีวกกลายเป็น "หมอเทวดา" เหมือนแพทย์จีนอย่าง (扁䳍) และหฺวา ถัว (華佗) โดยใส่ปาฏิหาริย์เข้าไป เช่น กล่าวว่า ชีวกเกิดมามีเข็มฉีดยาและสมุนไพรอยู่ในมือ เอกสารสันสกฤตและทิเบตพรรณนาอีกว่า พระเจ้าพิมพิสารทรงอุ้มชูชีวกให้อยู่ในราชสำนักจนเติบใหญ่ เมื่อชีวกพบแพทย์หลวงคนหนึ่ง ก็สนใจในวิชาแพทย์ จึงตัดสินใจไปตักษศิลาเพื่อเรียนแพทย์
ส่วนพระวินัยของธรรมคุปตกะและชีวกสูตรของจีนกล่าวว่า ชีวกเห็นว่า แพทย์ในวังหลวงมีความรู้น้อยกว่าตน จึงเดินทางไปตักษศิลาเพื่อเรียนวิชาแพทย์กับอาจารย์ที่เก่งกาจ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "บังสุกุลจีวร-คหบดีจีวร". สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. 2558. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2567.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - Zysk 1998, p. 53.
- Zysk 1998, p. 52.
- Salguero 2009, pp. 186–8, 190, 192.
- Granoff 1998, p. 288.
- Salguero 2009, p. 186.
- Salguero 2009, pp. 194, 199.
- Salguero 2009, p. 201.
- Zysk 1998, pp. 53, 60.
- Malalasekera 1960, Jīvaka.
- Salguero 2009, p. 195.
- Silk 2007, pp. 304–5.
- Singh 1993, p. 184 n.25.
- Singh et al. 2011.
- Buswell & Lopez 2013, Jīvaka.
- Le 2010, pp. 48–9.
- Salguero 2009, pp. 195–6.
- Salguero 2014, pp. 126–7.
- Rabgay 2011, p. 28.
- Salguero 2009, p. 196.
บรรณานุกรม
- Buswell, Robert E. Jr.; (2013), Princeton Dictionary of Buddhism, , ISBN
- Granoff, P. (1998), "Cures and Karma II. Some Miraculous Healings in the Indian Buddhist Story Tradition", , 85 (1): 285–304, doi:10.3406/befeo.1998.3834
- Le, Huu Phuoc (2010), Buddhist Architecture, Grafikol, ISBN
- (1960), Dictionary of Pāli Proper Names, , OCLC 793535195
- Rabgay, Lobsang (2011), "The Origin and Growth of Medicine in Tibet", The Tibet Journal, 36 (2): 19–37, JSTOR tibetjournal.36.2.19
- Salguero, C. Pierce (2009), "The Buddhist Medicine King in Literary Context: Reconsidering an Early Medieval Example of Indian Influence on Chinese Medicine and Surgery", , 48 (3): 183–210, doi:10.1086/598230, JSTOR 10.1086/598230, S2CID 162211011
- Salguero, C. Pierce (2014), Translating Buddhist Medicine in Medieval China, , ISBN
- Silk, Jonathan A. (2007), "Child Abandonment and Homes for Unwed Mothers in Ancient India: Buddhist Sources", , 127 (3): 297–314, JSTOR 20297277
- Singh, J.; Desai, M. S.; Pandav, C. S.; Desai, S. P. (2011), "Contributions of Ancient Indian Physicians: Implications for Modern Times", , 58 (1): 73–8, doi:10.4103/0022-3859.93259, PMID 22387655
- Singh, Y. B. (1993), "Roots of the Gaṇikā-Culture of Early India", Annals of the Bhandarkar Oriental Research Institute, 74 (1/4): 181–90, JSTOR 43977198
- Zysk, Kenneth G. (1998), Asceticism and Healing in Ancient India: Medicine in the Buddhist Monastery, , ISBN
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ชีวกโกมารภัจจ์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
chiwkokmarphcc khaxan chi wk ok ma ra phd bali Jivaka Komarabhacca hrux chiwkkumarphvt snskvt Jivaka Kumarabhṛta mkyxwa hmxchiwk Jivaka epnaephthypracaphraxngkhphraokhtmphuththecaaelaphraecaphimphisaraehngaekhwnmkhth xasyxyuinrachkhvhchwng 600 500 pikxnkhristkal michuxesiyngxyangmakinthanaaephthytwxyangintanankhxngexechiy thngidrbykyxngihepnaephthytnaebbkhxngaephthyaephnobraninhlaypraethsaethbexechiychiwkokmarphccrupekharphaebbithy iwekhrakhaw swmchudkhaw swmprakhaswnbukhkhlekidrachkhvh mkhthmrnphaphrachkhvh mkhthsasnaphuththsychatimkhthbuphkaribida impraktnam tamphraitrpidk xphyrachkumar tamkhtithrrmkhupt phraecaphimphisar marda salwdi tamphraitrpidk xamrpali exksarxun sanksuksatkssilaruckcakxayurewth karnwdaephnithywichachiphaephthytaaehnngchnsungkhruwichachiphaephthytaaehnngaephthypracaphraxngkhphraokhtmphuththeca phraecaphimphisar aelaphraecaxchatstruruppnphravisichiwkokmarphcc briewnphraxuobsth wdphrasrirtnsasdaram eruxngrawkhxngchiwkphbidinkhxnghlay wthnthrrm echn wthnthrrmbaliaelawthnthrrmmulsrwastiwath tlxdcnexksarsmyhlngxyangphrasutraela exksarehlanirabusxdkhlxngknwa chiwkepnbutrkhxnghyingngamemuxngphuhnung thukmardathingaetkaenid chawwngphraecaphimphisarmaphbekhacungekbipeliyng khrnetibihykhun ekhaedinthangiptksilaephuxeriynwichaaephthyecdpi saercaelwkerimrksakhninrachkhvh khwamsaercinkarrksakhxngekhathaihekhamichuxesiyngeluxnglux thngidepnaephthypracaphraxngkhphraecaphimphisaraelaphraokhtmphuththeca yingekhathwayngantxphraphuththeca ekhakyingeluxmisinphuththsasna thisudcungidepnxupthmphkkhnsakhykhxngsasnani thngidsrangwdnamwa thwayphraphuththecadwy phayhlngphraecaxchatstru phrarachoxrsphraecaphimphisar plngphrachnmphraecaphimphisarephuxchingbllngk chiwkkmibthbathinkarthaihphraecaxchatstruyxmmaekhaefaphraphuththeca cnphraecaxchatstrusanukinbapkrrm exksarkhangtnmkphrrnnawithikarsbsxnthichiwkichinkaraephthy echn withikarbangxyangthixactikhwamidwa epnkarphatdsmxng aetkhunkhainthangprawtisastrkhxngenuxhaehlaniepnthithkethiyngknmayawnaninhmunkwichakar thungkrann chawphuththkykyxngchiwktlxdmainhnaprawtisastrkhxngexechiy thngaephthythimiichchawphuththknbthuxekhainradbhnungodyykyxngepnaephthytwxyangaelaepnnkbuy nxkcakni miexksarkaraephthycanwnhnungcakyukhklangkhxngxinediyaelacinthiechuxwa chiwkepnphuaetng pccubn chawxinediyaelachawithyykyxngekhaepnphuoxbxumkaraephthyaephnobran thngekhayngmibthbathhlkinphithikrrmthnghlaythiekiywkhxngkbkaraephthyaephnithy xnung thiphanma bthbathkhxngchiwkinthangtanankmiswnsakhythichwydungdudphueluxmisaelasrangkhwamchxbthrrmihaekphuththsasna odymikarprbprungraylaexiydbangprakarihsxdrbkbbribthkhxngaetlathxngthi inkhriststwrrsthi 7 phrathngsmcngrbrachoxngkarckrphrrdithngithcngipechiyphraitrpidkmacakxinediy idphbwdaehnghnung aelarabuwa epnwdchiwkaramwiharkhxnghmxchiwk sthanthithiphrathngsmcngkhnphbnnidrbkarkhudkhninkhriststwrrsthi 19 aelathuxepnhnunginphuththsthanxnekaaekthisudthiyngdarngxyuinpccubnaehlngkhxmulchiwitkhxngchiwknnpraktinexksarphuththsmyerimaerkhlaychbb echn phraitrpidkphasabali exksarphasasnskvt exksarphasacin xyang mhisaska aelasrwastiwath thiaeplcaktnchbbphasaxinediyemux 500 pikxnkhristkal aelaexksarphasathiebt exksarekaaekthisudthiwadwychiwitkhxngchiwknn khux phrawinyinphraitrpidk sungsamarthkahndxayuyxnipidthungrawkhrungaerkkhxngstwrrsthi 4 kxnkhristkal phrawinyninxkcakmiswnthiwadwykdraebiybthangkaraephthyaelw yngbrryaychiwitaelaphlngankhxngchiwk sungidrbkaraeplxxkepnhlayphasa swnphraitrpidkphasacinthieriykwa nn mienuxhasxngswnthiekiywkbchiwkaelaimidxyuinphrawiny khux phrasutrsxngbththieriykwa xamrpalichiwksutr sungpraphnthkhunkxnstwrrsthi 5 kxnkhristkal kb xamrpalichiwkxwthansutr sungpraphnthkhuninchwngkhriststwrrsthi 7 10 phrasutrthngsxngichexksarphasasnskvthruxexksarcakexechiyklangepnaehlngkhxmul echuxknmatlxdwa phupraphnthphrasutrthngsxng idaek 安世高 aetkmiphuotaeyngwa khwamechuxniepnephiyngkhwamphyayamcathaihphrasutrduekaaekaelamikhwamchxbthrrm nkwichakarxyang C Pierce Salguero ehnwa phrasutrdngklawnacaichaehlngkhxmulthi 竺法護 aeplma rwmthungphrawiny aela makkwa odyepnkarprbprungihekhathungphuxanthiepnkhrawasmakkhun ephraaenuxhainphrawinynnennihphrasngkhxan xnung epnipidwa enuxhakhxngxamrpalichiwksutrnnpraphnthkhunodyrwmexaaelabangthitngiccaichthdaethneruxngrawcakphrawinyinsmyaerk thiphbinmhisaskaaelasrwastiwath swnxamrpalichiwkxwthansutrknacaxangxingxamrpalichiwksutrxikthi aetkhyaykhwamodyichphrawinychbbthrrmkhuptkaepnaehlngkhxmul nxkcakexksarkhangtnaelw yngmiexksarpraephthxwthanxikhlaychbbthiwadwychiwk thngyngpraktkarxangthungekhainwrrnkrrmxinediyhlayeruxngthiimichkhxngphuththsasna echn sungepnkhaxthibaykhyaykhwam tlxdcnkwiniphnthaenwesiydsieruxng kesemnthra thipraphnthkhunemuxkhriststwrrsthi 11 epnphasaksmir nkwichakarxyang Kenneth Zysk aela C Pierce Salguero epriybethiybenuxhachbbtang ekiywkbchiwitkhxngchiwkaelw echuxwa immichbbihnthiepnenuxhadngedimely chiwprawtidngedimkhxngchiwkepnxyangirnncungimxacruid nxkcakni thngsxngyngehnwa enuxhachbbtang ehlaniphankarprbprungaekikhihsxdrbkbkhwamniyminthxngthin twxyangechn Salguero ehnwa enuxhaswnihyinphrasutrekiywkbchiwksungxyunxkphrawinynnekhiynkhunodyxasyphumipyyakaraephthyaephncin thngwithithangaephthythithngphrawinyaelaphrasutrbrryaywa epnkhxngchiwknn kducaepnkaraephthyaephncinmakkwaaephnxinediy xnung khtisxnichlay xyangineruxngrawekiywkbchiwitkhxngchiwknnkpraktwa dungmacaktananekiywkbaephthychawcinhlaykhn Zysk ehnwa exksarchbbphasabalinnmikhwamepncringmakkwaexksarthiidrbxiththiphlcakkhtimhayanthimienuxhaipinechingewthmntrpatihariyesiymak ekhayngehnwa exksarphasathiebtaelasnskvtphrrnnakarrksaorkhiwmakkwathipraktinexksarxinediydngedimxyangxayurewth enuxhaaetlachbbyngbrryayorkhphyiwtamkhwamekhaicinthxngthinaelwdaenineruxngodyihhmxchiwkmarksa aetkhxkhwamthibrryayinaetlachbbkkhlaykhlungkninhlayswnxyueruxngrawbutrthithukthing exksarphasabalisungepnexksarekaaekthisud rwmthungexksarphasacinxyangthrrmkhuptkaaelaxamrpalichiwkxwthansutr rabuwa chiwkekidinrachkhvh emuxnghlwngkhxngmkhthsungmiphraecaphimphisarepnphramhakstriy mardakhxngchiwkepnhyingngamemuxng phraitrpidkchbbphasabaliaelachbbthrrmkhuptkarabunamkhxngnangwa slawti hrux salwdi inchbbphasaithy hyingngamemuxngnnemuxkhlxdbutrchayaelwkihkhnrbichnabutripthingkhya Jonathan Silk mxngwa ehtuphlthinangthingbutrchay khngephraaehnwa mipraoychnnxykwabutrhying thicaidexamaeliyngepnhyingngamemuxngehmuxnkn swn Y B Singh xthibaywa nangkhngekrngwa karmibutrcathaihchuxesiyngaelarayidinthanahyingngamemuxngkhxngnangthdthxy exksarbaliwa emuxchiwkthukmardanamathingiwbnkxngkhyaaelw xphyrachkumar phraoxrskhxngphraecaphimphisar esdcmaphbekha aelatrsthamkhnrxbkhangwa edkniyngmichiwitxyuhrux phukhnthulwa yngmichiwitxyu ecachayxphyrachkumarcungthrngekbedknnmaeliyng prathannamwa chiwk aeplwa phumichiwit exksarphasabaliklawxikwa chiwkidchuxthisxngwa okmarphcc xnaeplwa phurbichkumar nn enuxngcakphrarachkumarthrngeliyngduxumchuma aetnkwichakaraeyngwa chuxninacamithimacakkhaeriykkumaraephthytamtaraxayurewthkhxngxinediyobran makkwa tamexksarbali emuxchiwketibihykhun ekhakhnphbchatikaenidxntatxykhxngtn aelatklngiccaeriynihsungephuxthdaethnphumihlngdngklaw ekhacungedinthangiptkssilaephuxeriynwichaaephthy odymiidaecngecachayxphyrachkumar exksarsmytx ma echn chiwksutrkhxngcin eciyraineruxngihdungdudphuxanmakkhun odyrabuwa xamrpali hyingngamemuxngsungphayhlngidepnsawkkhxngphraokhtmphuththecann epnmardakhxngchiwk swnbidakhxngchiwksungimpraktchuxinexksarsmykxnhnannkklayepnphraecaphimphisar echn exksarsnskvtaelaexksarthiebtsmyaerkthiaeplmacakwthnthrrmmulsrwastiwathrabuwa chiwkepnoxrslbkhxngphraecaphimphisarkbphriyakhxngphxkhakhnhnung aetexksarsnskvtaelathiebtimrabunamkhxngphriyaphxkhadngklaw aelarabuwa xamrpaliepnmardakhxngxphyrachkumar phraoxrsxikphraxngkhkhxngphraecaphimphisar aethnthicaepnmardakhxngchiwk exksarklumniihkhxmulwa phraecaphimphisarmikhwamsmphnthlbkbhyingthiepnphriyaphxkhann emuxthrngthrabwa nangtngkhrrph ktrstxnangwa thakhlxdepnchay ihnamathwaytw caidthrngchubeliynginrachsank emuxnangkhlxdxxkmaepnchay khux chiwk nangcungexatharkchaynnishibmathingiwhnaphrarachwng phraecaphimphisarkihnahibnnekhama aelatrsthamwa edkinnnyngmichiwitxyuhrux emuxkharachsankthultxbwa yngmichiwitxyu phraecaphimphisarcungeriykedknnwa chiwk xnaeplwa phumichiwit nxkcakni exksarsnskvtaelathiebtyngphyayamphrrnnaihchiwkklayepn hmxethwda ehmuxnaephthycinxyang 扁䳍 aelah wa thw 華佗 odyispatihariyekhaip echn klawwa chiwkekidmamiekhmchidyaaelasmuniphrxyuinmux exksarsnskvtaelathiebtphrrnnaxikwa phraecaphimphisarthrngxumchuchiwkihxyuinrachsankcnetibihy emuxchiwkphbaephthyhlwngkhnhnung ksnicinwichaaephthy cungtdsiniciptkssilaephuxeriynaephthy swnphrawinykhxngthrrmkhuptkaaelachiwksutrkhxngcinklawwa chiwkehnwa aephthyinwnghlwngmikhwamrunxykwatn cungedinthangiptkssilaephuxeriynwichaaephthykbxacarythiekngkacduephimsthaniyxyphraphuththsasnaaekhwnmkhth rachkhvh xuchechni phraecapchocht ewsali extthkhkha xubaskxangxing bngsukulciwr khhbdiciwr sanknganrachbnthityspha 2558 subkhnemux 12 kumphaphnth 2567 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help Zysk 1998 p 53 Zysk 1998 p 52 Salguero 2009 pp 186 8 190 192 Granoff 1998 p 288 Salguero 2009 p 186 Salguero 2009 pp 194 199 Salguero 2009 p 201 Zysk 1998 pp 53 60 Malalasekera 1960 Jivaka Salguero 2009 p 195 Silk 2007 pp 304 5 Singh 1993 p 184 n 25 Singh et al 2011 Buswell amp Lopez 2013 Jivaka Le 2010 pp 48 9 Salguero 2009 pp 195 6 Salguero 2014 pp 126 7 Rabgay 2011 p 28 Salguero 2009 p 196 brrnanukrm Buswell Robert E Jr 2013 Princeton Dictionary of Buddhism ISBN 978 0 691 15786 3 Granoff P 1998 Cures and Karma II Some Miraculous Healings in the Indian Buddhist Story Tradition 85 1 285 304 doi 10 3406 befeo 1998 3834 Le Huu Phuoc 2010 Buddhist Architecture Grafikol ISBN 978 0 9844043 0 8 1960 Dictionary of Pali Proper Names OCLC 793535195 Rabgay Lobsang 2011 The Origin and Growth of Medicine in Tibet The Tibet Journal 36 2 19 37 JSTOR tibetjournal 36 2 19 Salguero C Pierce 2009 The Buddhist Medicine King in Literary Context Reconsidering an Early Medieval Example of Indian Influence on Chinese Medicine and Surgery 48 3 183 210 doi 10 1086 598230 JSTOR 10 1086 598230 S2CID 162211011 Salguero C Pierce 2014 Translating Buddhist Medicine in Medieval China ISBN 978 0 8122 4611 7 Silk Jonathan A 2007 Child Abandonment and Homes for Unwed Mothers in Ancient India Buddhist Sources 127 3 297 314 JSTOR 20297277 Singh J Desai M S Pandav C S Desai S P 2011 Contributions of Ancient Indian Physicians Implications for Modern Times 58 1 73 8 doi 10 4103 0022 3859 93259 PMID 22387655 Singh Y B 1993 Roots of the Gaṇika Culture of Early India Annals of the Bhandarkar Oriental Research Institute 74 1 4 181 90 JSTOR 43977198 Zysk Kenneth G 1998 Asceticism and Healing in Ancient India Medicine in the Buddhist Monastery ISBN 978 81 208 1528 5aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb chiwkokmarphcc