งาน งานเชิงกล ในทางฟิสิกส์ คือปริมาณของพลังงานซึ่งถูกส่งมาจากแรงที่กระทำต่อวัตถุให้เคลื่อนที่ไปได้ระยะทางขนาดหนึ่ง งานเป็นปริมาณสเกลาร์เช่นเดียวกับพลังงาน มีหน่วยเอสไอเป็น คำศัพท์ งาน (work) ที่ใช้อธิบายพลังงานเช่นนี้บัญญัติโดย กัสปาร์-กุสตาฟว์ เดอ กอรียอลิส นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
ทฤษฎีบทงาน-พลังงาน กล่าวว่า ถ้ามีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุคงรูป ซึ่งทำให้พลังงานจลน์ของวัตถุเปลี่ยนจาก Ek1 เป็น Ek2 ดังนั้นงานเชิงกล W หาได้จากสูตรดังนี้
เมื่อ m คือมวลของวัตถุ และ v คือความเร็วของวัตถุ
ถ้าแรง F ที่กระทำต่อวัตถุ ส่งผลให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ไปเป็นระยะทาง d และทิศทางของแรงขนานกับการกระจัด งานที่เกิดขึ้นต่อวัตถุนั้นก็สามารถคำนวณได้จากขนาดของแรง F คูณด้วย d
ตามเงื่อนไขดังกล่าว หากแรงและการกระจัดมีทิศทางเดียวกัน งานที่ได้จะเป็นบวก หากแรงและการกระจัดมีทิศทางตรงข้ามกัน งานที่ได้จะเป็นลบ
อย่างไรก็ตาม ถ้าแรงและการกระจัดตั้งฉากซึ่งกันและกัน งานที่ได้จะเป็นศูนย์
หน่วย
ของงานคือจูล (J) ซึ่งนิยามโดยแรงขนาดหนึ่งนิวตันที่กระทำต่อวัตถุ แล้ววัตถุนั้นเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางหนึ่งเมตร การนิยามนี้มีที่มาจากงานเขียนของ ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1824 ว่า "น้ำหนักที่ยกขึ้นจนได้ความสูงขนาดหนึ่ง" อันมีพื้นฐานจากข้อเท็จจริงที่ว่า เครื่องจักรไอน้ำสมัยก่อนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับยกถังน้ำ เพื่อถ่ายเทน้ำออกจากเหมืองที่น้ำท่วม โดยได้งานตามความสูงที่ขนานกับความโน้มถ่วง หน่วยนิวตันเมตร (N·m) ซึ่งเทียบเท่ากันในเชิงมิติก็ถูกใช้ในบางครั้ง แต่หน่วยนี้ก็ถูกสงวนไว้ใช้กับ (torque) ด้วยเช่นกันเพื่อแยกแยะหน่วยของงานกับพลังงาน
หน่วยอื่นที่ไม่ใช่หน่วยเอสไอเช่น เอิร์ก (erg), , , (liter-atmosphere) เป็นต้น
การนำความร้อนไม่ถือว่าเป็นรูปแบบของงาน เพราะพลังงานความร้อนถูกส่งผ่านเป็นการสั่นของอะตอมของวัตถุ มากกว่าเป็นการเคลื่อนที่ในระดับที่สังเกตได้
งานที่เป็นศูนย์
งานสามารถเป็นศูนย์ได้แม้ว่ามีแรงมากระทำ ตัวอย่างเช่น แรงสู่ศูนย์กลางใน งานเป็นศูนย์เนื่องจากพลังงานจลน์ของวัตถุที่เคลื่อนที่ไม่เปลี่ยนแปลง เพราะแรงตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมอ และด้วยเหตุผลว่าแรงที่ขนานกับเวกเตอร์ความเร็วเท่านั้นที่ทำให้เกิดงาน หรืออีกตัวอย่างหนึ่ง หนังสือเล่มหนึ่งวางอยู่บนโต๊ะ โต๊ะก็ไม่ได้ทำให้หนังสือเกิดงาน ทั้ง ๆ ที่โต๊ะก็ออกแรงเท่ากับ mg ในทิศทางชี้ขึ้น เพราะไม่มีพลังงานส่งเข้าไปหรือออกจากหนังสือ
การคำนวณ
แรงและการกระจัด
ทั้งแรงและการกระจัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ซึ่งใช้ผลคูณจุดเพื่อคำนวณค่างานเชิงกลอันเป็นปริมาณสเกลาร์ ดังนี้
เมื่อ θ คือมุมระหว่างเวกเตอร์แรงและการกระจัด
แรงและมุมต้องเป็นค่าคงตัวจึงจะทำให้สูตรนี้ใช้งานได้ เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุต้องเป็นเส้นตรงเส้นเดียว แม้ว่าวัตถุนั้นอาจเปลี่ยนทิศทางขณะเคลื่อนที่ไปบนเส้นตรงนั้น
ในสถานการณ์ที่แรงเปลี่ยนแปรตามเวลา หรือเส้นทางการเคลื่อนที่เบนออกจากเส้นตรง สูตรด้านบนจะใช้ไม่ได้กับสถานการณ์ทั่วไป แม้ว่าเราสามารถแบ่งการเคลื่อนที่ออกเป็นเส้นทางย่อย ๆ แต่การทำเช่นนั้นเราต้องประมาณแรงและการเคลื่อนที่ให้เป็นค่าคงตัวให้ดีในแต่ละส่วน จากนั้นจึงคำนวณผลรวมทุกส่วนออกมาเป็นงาน
นิยามทั่วไปของงานเชิงกลในรูปแบบว่าไว้ดังนี้
เมื่อ C คือเส้นทางหรือเส้นโค้งที่วัตถุเคลื่อนที่ F คือเวกเตอร์แรง และ s คือ
นิพจน์ เป็น (inexact differential) ซึ่งหมายความว่าการคำนวณ WC ขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่ และไม่สามารถหาอนุพันธ์เพื่อให้ได้ค่าของ F · ds
สูตรที่สองด้านบนเป็นการอธิบายว่าแรงที่ไม่เป็นศูนย์สามารถทำให้เกิดงานที่เป็นศูนย์ได้อย่างไร กรณีที่ง่ายที่สุดคือเมื่อแรงตั้งฉากกับทิศทางของการเคลื่อนที่ ซึ่งเกิดขึ้นในการเคลื่อนที่แบบวงกลม จะทำให้ (integrand) ในสูตรเป็นศูนย์ตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม แม้ว่าปริพัทธ์ไม่เป็นศูนย์ แต่ผลลัพธ์ของปริพันธ์ก็อาจเป็นศูนย์ได้เช่นกัน เพราะมันสามารถมีค่าได้ทั้งบวกและลบ
ความเป็นไปได้ของแรงที่ไม่เป็นศูนย์อันทำให้เกิดงานที่เป็นศูนย์ คือผลต่างระหว่างงานที่ได้กระทำกับปริมาณอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น (impulse) เป็นปริพันธ์ของแรงที่แปรไปตามเวลา การดลเป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุ อันเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ส่งผลต่อทิศทาง ในขณะที่งานจะพิจารณาเพียงขนาดของความเร็ว ตัวอย่างเช่น วัตถุชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่แบบวงกลม เคลื่อนที่ผ่านจุดครึ่งรอบ แรงสู่ศูนย์กลางที่จุดนั้นยังคงให้งานเป็นศูนย์ แต่การดลของมันไม่เป็นศูนย์
แรงบิดและการหมุน
คำนวณได้ดังนี้
พลังงานกล
พลังงานกลของวัตถุ คือส่วนหนึ่งของพลังงานรวมซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากงานเชิงกล พลังงานกลแบ่งเป็นพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ รูปแบบของพลังงานบางชนิดที่เป็นที่รู้จักแต่ไม่ถือว่าทำให้เกิดงานเช่น พลังงานความร้อน (สามารถเพิ่มขึ้นโดยงานจากแรงเสียดทาน แต่ไม่สามารถลดลงได้โดยง่าย) และ (เป็นค่าคงตัวตราบเท่าที่มวลยังคงสภาพอยู่เหมือนเดิม)
ถ้าแรงภายนอก F กระทำต่อวัตถุคงรูปชนิดหนึ่ง ซึ่งทำให้พลังงานจลน์ของวัตถุเปลี่ยนจาก Ek1 ไปเป็น Ek2 แล้ว
ผลลัพธ์เช่นนี้จึงสรุปได้ว่า งานที่เกิดจากแรงภายนอกกระทำต่อวัตถุแปรผันตรงกับผลต่างของกำลังสองของความเร็ว โปรดสังเกตว่าพจน์สุดท้ายของสมการคือ ∆ (v ²) มิใช่ (∆ v) ²
หลักการของกฎการอนุรักษ์พลังงานกล่าวว่า ถ้าระบบหนึ่งถูกกำหนดโดย (เช่นแรงโน้มถ่วงเพียงอย่างเดียว) และ/หรือ ผลรวมของงานจากแรงทั้งหมดที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ พลังงานกลรวมจะยังมีค่าคงตัวตลอดกระบวนการ
ตัวอย่างเช่น ถ้าวัตถุหนึ่งที่มีมวลคงที่ตกอย่างอิสระ พลังงานรวมที่ตำแหน่ง 1 จะเท่ากับพลังงานรวมที่ตำแหน่ง 2
เมื่อ Ek คือพลังงานจลน์ และ Ep คือพลังงานศักย์
งานภายนอกระบบอาจเกิดขึ้นได้โดยแรงเสียดทานระหว่างระบบกับการเคลื่อนที่ หรือแรงไม่อนุรักษ์ภายในระบบ หรือพลังงานกลที่สูญหายไปกับความร้อน
กรอบอ้างอิง
งานที่ได้จากแรงที่กระทำต่อวัตถุขึ้นอยู่กับ (inertial frame of reference) เพราะระยะทางครอบคลุมในขณะที่แรงกระทำ จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันข้อสามว่า เมื่อมีแรงกิริยาก็จะมีแรงปฏิกิริยา ซึ่งขึ้นอยู่กับกรอบอ้างอิงความเฉื่อยในทิศทางตรงข้าม งานรวมทั้งหมดจึงเป็นอิสระจากกรอบอ้างอิงความเฉื่อย...
อ้างอิง
- Jammer, Max (1957). Concepts of Force. Dover Publications, Inc. ISBN .
- Sur une nouvelle dénomination et sur une nouvelle unité à introduire dans la dynamique, Académie des sciences, August 1826
- Tipler (1991), page 138.
- Resnick, Robert and Halliday, David (1966), Physics, Section 7-2 (Vol I and II, Combined edition), Wiley International Edition, Library of Congress Catalog Card No. 66-11527
- Zitzewitz, Elliott, Haase, Harper, Herzog, Nelson, Nelson, Schuler, Zorn (2005). Physics: Principles and Problems. McGraw-Hill Glencoe, The McGraw-Hill Companies, Inc. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
บรรณานุกรม
แหล่งข้อมูลอื่น
- Work 2010-12-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - a chapter from an online textbook
- Work and Energy Java Applet
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ngan nganechingkl inthangfisiks khuxprimankhxngphlngngansungthuksngmacakaerngthikrathatxwtthuihekhluxnthiipidrayathangkhnadhnung nganepnprimanseklarechnediywkbphlngngan mihnwyexsixepn khasphth ngan work thiichxthibayphlngnganechnnibyytiody kspar kustafw edx kxriyxlis nkkhnitsastrchawfrngess thvsdibthngan phlngngan klawwa thamiaerngphaynxkmakrathatxwtthukhngrup sungthaihphlngnganclnkhxngwtthuepliyncak Ek1 epn Ek2 dngnnnganechingkl W haidcaksutrdngni W DEk Ek2 Ek1 12m v22 v12 displaystyle W Delta E k E k2 E k1 tfrac 1 2 m v 2 2 v 1 2 dd emux m khuxmwlkhxngwtthu aela v khuxkhwamerwkhxngwtthu thaaerng F thikrathatxwtthu sngphlihwtthunnekhluxnthiipepnrayathang d aelathisthangkhxngaerngkhnankbkarkracd nganthiekidkhuntxwtthunnksamarthkhanwnidcakkhnadkhxngaerng F khundwy d W F d displaystyle W F cdot d dd tamenguxnikhdngklaw hakaerngaelakarkracdmithisthangediywkn nganthiidcaepnbwk hakaerngaelakarkracdmithisthangtrngkhamkn nganthiidcaepnlb xyangirktam thaaerngaelakarkracdtngchaksungknaelakn nganthiidcaepnsunyhnwykhxngngankhuxcul J sungniyamodyaerngkhnadhnungniwtnthikrathatxwtthu aelwwtthunnekhluxnthiipidrayathanghnungemtr karniyamnimithimacaknganekhiynkhxng tiphimphemux kh s 1824 wa nahnkthiykkhuncnidkhwamsungkhnadhnung xnmiphunthancakkhxethccringthiwa ekhruxngckrixnasmykxnepnsingsakhysahrbykthngna ephuxthayethnaxxkcakehmuxngthinathwm odyidngantamkhwamsungthikhnankbkhwamonmthwng hnwyniwtnemtr N m sungethiybethakninechingmitikthukichinbangkhrng aethnwynikthuksngwniwichkb torque dwyechnknephuxaeykaeyahnwykhxngngankbphlngngan hnwyxunthiimichhnwyexsixechn exirk erg liter atmosphere epntn karnakhwamrxnimthuxwaepnrupaebbkhxngngan ephraaphlngngankhwamrxnthuksngphanepnkarsnkhxngxatxmkhxngwtthu makkwaepnkarekhluxnthiinradbthisngektidnganthiepnsunykhwanglukebsbxl thaihekidnganthiepnbwkodykarsngphlngnganaeklukebsbxl ngansamarthepnsunyidaemwamiaerngmakratha twxyangechn aerngsusunyklangin nganepnsunyenuxngcakphlngnganclnkhxngwtthuthiekhluxnthiimepliynaeplng ephraaaerngtngchakkbthisthangkarekhluxnthikhxngwtthuesmx aeladwyehtuphlwaaerngthikhnankbewketxrkhwamerwethannthithaihekidngan hruxxiktwxyanghnung hnngsuxelmhnungwangxyubnota otakimidthaihhnngsuxekidngan thng thiotakxxkaerngethakb mg inthisthangchikhun ephraaimmiphlngngansngekhaiphruxxxkcakhnngsuxkarkhanwnaerngaelakarkracd thngaerngaelakarkracdepnprimanewketxr sungichphlkhuncudephuxkhanwnkhanganechingklxnepnprimanseklar dngni W F d Fdcos 8 displaystyle W mathbf F cdot mathbf d Fd cos theta dd emux 8 khuxmumrahwangewketxraerngaelakarkracd aerngaelamumtxngepnkhakhngtwcungcathaihsutrniichnganid esnthangkarekhluxnthikhxngwtthutxngepnesntrngesnediyw aemwawtthunnxacepliynthisthangkhnaekhluxnthiipbnesntrngnn insthankarnthiaerngepliynaeprtamewla hruxesnthangkarekhluxnthiebnxxkcakesntrng sutrdanbncaichimidkbsthankarnthwip aemwaerasamarthaebngkarekhluxnthixxkepnesnthangyxy aetkarthaechnnneratxngpramanaerngaelakarekhluxnthiihepnkhakhngtwihdiinaetlaswn caknncungkhanwnphlrwmthukswnxxkmaepnngan niyamthwipkhxngnganechingklinrupaebbwaiwdngni WC CF ds displaystyle W C int C mathbf F cdot mathrm d mathbf s dd emux C khuxesnthanghruxesnokhngthiwtthuekhluxnthi F khuxewketxraerng aela s khux niphcn dW F ds displaystyle delta W mathbf F cdot mathrm d mathbf s epn inexact differential sunghmaykhwamwakarkhanwn WC khunxyukbesnthangkarekhluxnthi aelaimsamarthhaxnuphnthephuxihidkhakhxng F ds sutrthisxngdanbnepnkarxthibaywaaerngthiimepnsunysamarththaihekidnganthiepnsunyidxyangir krnithingaythisudkhuxemuxaerngtngchakkbthisthangkhxngkarekhluxnthi sungekidkhuninkarekhluxnthiaebbwngklm cathaih integrand insutrepnsunytlxdewla xyangirktam aemwapriphththimepnsuny aetphllphthkhxngpriphnthkxacepnsunyidechnkn ephraamnsamarthmikhaidthngbwkaelalb khwamepnipidkhxngaerngthiimepnsunyxnthaihekidnganthiepnsuny khuxphltangrahwangnganthiidkrathakbprimanxunthiekiywkhxng echn impulse epnpriphnthkhxngaerngthiaepriptamewla kardlepntwchiwdkarepliynaeplngomemntmkhxngwtthu xnepnprimanewketxrthisngphltxthisthang inkhnathingancaphicarnaephiyngkhnadkhxngkhwamerw twxyangechn wtthuchnidhnungthiekhluxnthiaebbwngklm ekhluxnthiphancudkhrungrxb aerngsusunyklangthicudnnyngkhngihnganepnsuny aetkardlkhxngmnimepnsuny aerngbidaelakarhmun khanwniddngni W t8 displaystyle W tau theta dd phlngngankl phlngnganklkhxngwtthu khuxswnhnungkhxngphlngnganrwmsungepliynaeplngipxnenuxngmacaknganechingkl phlngnganklaebngepnphlngnganclnaelaphlngngansky rupaebbkhxngphlngnganbangchnidthiepnthiruckaetimthuxwathaihekidnganechn phlngngankhwamrxn samarthephimkhunodyngancakaerngesiydthan aetimsamarthldlngidodyngay aela epnkhakhngtwtrabethathimwlyngkhngsphaphxyuehmuxnedim thaaerngphaynxk F krathatxwtthukhngrupchnidhnung sungthaihphlngnganclnkhxngwtthuepliyncak Ek1 ipepn Ek2 aelw W DEk Ek2 Ek1 12mv22 12mv12 12mD v2 displaystyle textstyle W Delta E k E k 2 E k 1 frac 1 2 mv 2 2 frac 1 2 mv 1 2 frac 1 2 m Delta v 2 dd phllphthechnnicungsrupidwa nganthiekidcakaerngphaynxkkrathatxwtthuaeprphntrngkbphltangkhxngkalngsxngkhxngkhwamerw oprdsngektwaphcnsudthaykhxngsmkarkhux v miich v hlkkarkhxngkdkarxnurksphlngnganklawwa tharabbhnungthukkahndody echnaerngonmthwngephiyngxyangediyw aela hrux phlrwmkhxngngancakaerngthnghmdthikrathatxwtthuepnsuny phlngnganklrwmcayngmikhakhngtwtlxdkrabwnkar twxyangechn thawtthuhnungthimimwlkhngthitkxyangxisra phlngnganrwmthitaaehnng 1 caethakbphlngnganrwmthitaaehnng 2 Ek Ep 1 Ek Ep 2 displaystyle E k E p 1 E k E p 2 dd emux Ek khuxphlngngancln aela Ep khuxphlngngansky nganphaynxkrabbxacekidkhunidodyaerngesiydthanrahwangrabbkbkarekhluxnthi hruxaerngimxnurksphayinrabb hruxphlngnganklthisuyhayipkbkhwamrxnkrxbxangxingnganthiidcakaerngthikrathatxwtthukhunxyukb inertial frame of reference ephraarayathangkhrxbkhluminkhnathiaerngkratha cakkdkarekhluxnthikhxngniwtnkhxsamwa emuxmiaerngkiriyakcamiaerngptikiriya sungkhunxyukbkrxbxangxingkhwamechuxyinthisthangtrngkham nganrwmthnghmdcungepnxisracakkrxbxangxingkhwamechuxy xangxingJammer Max 1957 Concepts of Force Dover Publications Inc ISBN 0 486 40689 X Sur une nouvelle denomination et sur une nouvelle unite a introduire dans la dynamique Academie des sciences August 1826 Tipler 1991 page 138 Resnick Robert and Halliday David 1966 Physics Section 7 2 Vol I and II Combined edition Wiley International Edition Library of Congress Catalog Card No 66 11527 Zitzewitz Elliott Haase Harper Herzog Nelson Nelson Schuler Zorn 2005 Physics Principles and Problems McGraw Hill Glencoe The McGraw Hill Companies Inc ISBN 0 07 845813 7 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk brrnanukrmSerway Raymond A Jewett John W 2004 Physics for Scientists and Engineers 6th ed Brooks Cole ISBN 0 534 40842 7 Tipler Paul 1991 Physics for Scientists and Engineers Mechanics 3rd ed extended version ed W H Freeman ISBN 0 87901 432 6 aehlngkhxmulxunWork 2010 12 14 thi ewyaebkaemchchin a chapter from an online textbook Work and Energy Java Applet