ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
การวิจัย (อังกฤษ: research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ได้แรงผลักดันจากความอยากรู้อยากเห็น การวิจัยเป็นตัวสร้างข้อมูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และทฤษฎีที่มนุษย์นำมาใช้ในการอธิบายธรรมชาติและคุณสมบัติของสรรพสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่าง ๆ มีความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่มเอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่าง ๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชาเฉพาะทาง คำว่าการวิจัยยังใช้หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับวิชาการบางสาขาอีกด้วย
การวิจัยขั้นพื้นฐาน
วัตถุประสงค์หลักของการวิจัยขั้นพื้นฐานคือการสร้างความก้าวหน้าในความรู้และความเข้าใจเชิงทฤษฎีของสิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างตัวแปรต่าง ๆ (ดูสถิติ) ด้วยการบุกเบิกที่เกิดจากการผลักดันของความอยากรู้อยากเห็น, ความสนใจ และการรู้เองของตัวผู้วิจัยเอง เป็นการดำเนินการที่ยังไม่มีการคำนึงถึงการนำไปใช้ประโยชน์ไว้ล่วงหน้าแม้ว่าในระหว่างการวิจัยจะมีการส่อว่าอาจนำผลไปประยุกต์เชิงปฏิบัติได้ก็ตาม คำว่า “พื้นฐาน” เป็นการบ่งชี้ว่าการวิจัยขั้นพื้นฐานเป็นการวางรากฐานให้เกิดการก้าวไปข้างหน้าด้วยการสร้างทฤษฎีที่บางครั้งอาจนำไปประยุกต์ในเชิงปฏิบัติได้ เนื่องจากการที่ไม่อาจประกันได้ว่าการวิจัยจะมีประโยชน์เชิงปฏิบัติได้ในระยะสั้นได้นี้เองที่ทำให้นักวิจัยขั้นพื้นฐานหาแหล่งเงินทุนสนับสนุนได้ยากกว่าการวิจัยแบบอื่น
ตัวอย่างคำถามที่เกี่ยวกับการวิจัยขั้นพื้นฐาน:
- ทฤษฎีสตริงจะตอบทฤษฎีการรวมแรงครั้งใหญ่ในสาขาวิชาฟิสิกส์ได้หรือไม่?
- ในแง่มุมใดบ้างของจีโนมที่สามารถอธิบายความซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตได้?
- เป็นไปได้หรือไม่ที่จะพิสูจน์หรือหักล้างข้อความคาดการณ์ของโกลด์บาช ได้ (เช่น ทุก ๆ เลขคู่จำนวนเต็มที่มากกว่า 2 สามารถเขียนเป็นผลรวมของสองเลขจำเพาะนั้น ไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นเลขจำเพาะที่เด่น
โดยประเพณีแล้ว การวิจัยขั้นพื้นฐานถือได้ว่าเป็นกิจกรรมที่จะต้องมาก่อนการวิจัยประยุกต์ ซึ่งก็เช่นกันที่จะต้องเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นก่อนการพัฒนาสู่ขั้นการนำไปใช้งาน เมื่อเร็ว ๆ นี้ การตัดขาดกันอย่างชัดเจนดังกล่าวนี้มีน้อยลงกลายเป็นการผสมผสานระหว่างกันมากขึ้น โดยเฉพาะในกรณีของเทคโนโลยีชีวภาพและอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งการค้นพบพื้นฐานอาจทำขนานกันไปได้กับงานที่มุ่งให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ และ ในภาคส่วนของการร่วมมือกันระหว่างรัฐและภาคเอกชนที่ช่วยกันค้นลึกละเอียดลงไปในบางสิ่งที่มีความสำคัญและน่าสนใจ
กระบวนการวิจัย
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
โดยทั่วไป เป็นที่เข้าใจกันว่าการวิจัยคือการกระทำตามกระบวนการที่มีโครงสร้างเฉพาะอันใดอันหนึ่ง แม้ว่ากระบวนการต่าง ๆ ดังกล่าวจะมีความผันแปรแตกต่างกันไปตามลักษณะของเนื้อหางานและตามนักวิจัยอยู่บ้างก็ตาม แต่ส่วนใหญ่ทั้งงานวิจัยขั้นพื้นฐานและจะมีขั้นตอนดังต่อไปนี้:
- การวางเนื้อเรื่องและกำหนดชื่อเรื่อง
- การตั้งสมมุติฐาน
- (Conceptual definition)
- (Operational definition)
- การรวบรวมข้อมูล
- การวิเคราะห์ข้อมูล
- การทดสอบและการปรับสมมุติฐาน
- (iteration) ถ้าจำเป็น
ความเข้าใจผิดทั่ว ๆ ไปที่มักเกิดขึ้นได้แก่การคิดหรือการถือว่าได้พิสูจน์หรือได้ทดสอบสมมุติฐานไปแล้วด้วยกรรมวิธีนี้ แต่ที่จริงแล้ว โดยทั่วไปแล้วเราใช้สมมุติฐานตัวที่เราคาดว่าอาจจะใช้ได้เพื่อการสังเกตผลที่จะได้จากการทดลอง แต่ถ้าผลการทดลองออกมาไม่คงเส้นคงวาตามสมมุติฐานก็จะต้องล้มเลิกสมมุติฐานนั้นไป แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าผลที่ออกมามีความคงเส้นคงวาตามสมมุติฐานจึงจะถือได้ว่าการทดลองนั้นสนับสนุนสมมุติฐาน การที่ใช้ภาษาอย่างระมัดระวังดังกล่าวนี้ก็เนื่องมาจากนักวิจัยทราบกันดีว่าสมมุติฐานทางเลือกหลาย ๆ สมมุติฐานที่อาจมีความคงเส้นคงวากับผลการสังเกตได้ ยังไม่อาจได้ถือว่าเป็นการพิสูจน์สมมติฐานได้แล้ว เป็นได้แต่เพียงการสนับสนุนการทดลองเชิงวิทยาศาสตร์ของในแต่ละครั้งที่มักชวนให้คิดว่าเป็นจริง ซึ่งก็ยังไม่อาจถือได้ว่าเป็นการพิสูจน์ได้แล้วเช่นกัน สมมุติฐานที่มีประโยชน์จะช่วยให้นักวิจัยสามารถรับรองผลการคาดการณ์ได้จากความแม่นยำของการสังเกตเฉพาะคราวของการทดลองนั้น ๆ ในขณะที่ความแม่นยำของการสังเกตดีขึ้นเรื่อย ๆ นี้ ตัวสมมุติฐานเดิมจึงไม่อยู่ในฐานะที่จะช่วยให้เกิดความแม่นยำได้อีกต่อไป ในกรณีเช่นนี้ สมมุติฐานใหม่ก็จะเกิดขึ้นมาท้าทายสมมุติฐานเดิมต่อไปอีก สมมุติฐานใหม่ที่ทำให้การคาดการณ์แม่นยำขึ้นนี้ก็จะกลายเป็นสมมุติฐานที่มาแทนที่
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
กรรมวิธีวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ประกอบด้วยเทคนิคและแนวทางที่นักประวัติศาสตร์ใช้แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์และหลักฐานอื่นมาใช้เพื่อวิจัย แล้วจึงจะเขียนประวัติศาสตร์ขึ้นมา มีแนวทางหลายแนวที่นักประวัติศาสตร์นำมาใช้ในการทำงานภายใต้หัวข้อ “คำวิจารณ์ภายนอก”, “คำวิจารณ์ภายใน”, และ “การสังเคราะห์” สิ่งเหล่านี้รวมถึง “คำวิจารณ์ขั้นสูง” (higher criticism) และ “การวิจารณ์ตัวบท” (textual criticism) ถึงแม้ว่าบางรายการมีความแปรผันต่างกันไปตามเนื้อเรื่องและตามตัวนักวิจัยก็ตาม แต่โดยทั่วไปแล้ว แนวคิดของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์เกือบทั้งหมดจะมีรูปแบบดังนี้:
- การบ่งชี้วันเวลาดั้งเดิม
- หลักฐานของสถานที่
- การยอมรับและรับรองผู้แต่ง
- การวิเคราะห์ข้อมูล
- การบ่งชี้ถึงความซื่อสัตย์สุจริต (integrity)
- แหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้
ระเบียบวิธีวิจัย
เป้าหมายการวิจัย
เป้าหมายของการวิจัยได้แก่การสร้างความรู้ใหม่ซึ่งมี 3 รูปแบบ (ขอบเขตระหว่างรูปแบบยังคงมีความคลุมเครืออยู่ดังได้กล่าวมาแล้ว)
- การวิจัยเชิงบุกเบิก (Exploratory research) เป็นการสร้างโครงร่างและบ่งชี้ปัญหาใหม่ ๆ
- (Constructive research) เป็นการพัฒนาทางแก้ปัญหา
- (Empirical research) เป็นการทดสอบความเป็นไปได้ของทางแก้ปัญหาโดยการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ประเภทของการวิจัย
การวิจัยอาจแบ่งออกได้ประเภทที่ชัดเจนได้ 2 ประเภทคือ
ระเบียบวิธีวิจัยที่มีการใช้
ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้โดยนักวิชาการทั่วไปรวมถึง:
- การวิจัยเชิงปฏิบัติ
- ชาติพันธุ์วรรณา
- วิธีเดลฟาย
- การวิเคราะห์เชิงสถิติ
- การจำลอง หรือ ซีมิวเลชัน
- แบบจำลอง
- แบบจำลองคณิตศาสตร์
- การสัมภาษณ์
- แบบสอบถาม
- การทำแผนที่ (Cartography)
- (Case study)
- (Classification)
- (Citation Analysis)
- (Consumer ethnocentrism) และ CETSCALE
- ตัวบทหรือ (Content or Textual Analysis)
- ประสบการณ์ (Experience)
- การรู้เอง (intuition)
- การทดลอง (Experiment)
- (Participant observation)
- ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology)
- (Q methodology)
- (Statistical survey)
การวิจัยโดยทั่วไปมักใช้รูปแบบการทำงานคล้ายรูปร่างของนาฬิกาทราย แบบจำลองนาฬิกาทรายเริ่มด้วยการวิจัยที่มีสเปกตรัมที่กว้างแล้วบีบให้แคบลง เน้นจุดที่ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นเพื่อการใช้โดยผ่านระเบียบวิธีการของโครงการวิจัย แล้วจึงขยายการวิจัยให้กว้างขึ้นใหม่ในรูปของการถกเถียงและผลที่ได้ออกมา
การตีพิมพ์
การตีพิมพ์ทางวิชาการ หมายถึงระบบที่ถือกันว่าเป็นความจำเป็นที่จะต้องให้นักวิชาการผู้มีความรู้เสมอกันทำ (peer review) ก่อนที่จะเผยแพร่แก่ผู้อ่านในวงกว้าง ผลงานทางวิชาการส่วนใหญ่ตีพิมพ์เป็นบทความในวารสารวิชาการ หรือในรูปของหนังสือ ในแวดวง “การตีพิมพ์ STM” ย่อมาจากการตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, และการแพทย์ (Science, Technology, and Medicine)
ในสาขาวิชาที่มั่นคงแล้วส่วนใหญ่จะมีวารสารวิชาการและแหล่งตีพิมพ์เป็นของตนเอง แต่ก็มีวารสารวิชาการหลายเล่มที่เป็นที่ตีพิมพ์บทความวิชาการหลายสาขาหลักและสาขารองในเล่มเดียวกัน ประเภทของวิชาการที่ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ทั้งที่เป็นงานวิจัยหรือที่เป็นความรู้เพื่อเผยแพร่ก็ยังมีความผันแปรหลากหลายระหว่างสาขาด้วยเช่นกัน
การตีพิมพ์งานทางวิชาการในขณะนี้ส่วนมากกำลังอยู่ในระยะของช่วงรอยต่อการเปลี่ยนแปลงซึ่งเริ่มมาจากการตีพิมพ์ในรูปอีเล็กทรอนิกส์ แบบจำลองทางธุรกิจการตีพิมพ์มีความแตกต่างกันไปตามลักษณะรูปแบบทางอีเล็กทรอนิกส์ นับตั้งแต่ประมาณช่วงปี พ.ศ. 2535- พ.ศ. 2539 ที่เริ่มมีการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ของทรัพยากรข้อมูลข่าวสารอีเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะวารสารวิชาการซึ่งกลายเป็นเรื่องปกติไปแล้ว ปัจจุบันมีแนวโน้มหลักเกิดขึ้นใหม่โดยเฉพาะวารสารวิชาการที่มีชือเสียงหลายเล่มที่พัฒนาเป็น (open access) ระบบดังกล่าวนี้เปิดมี 2 รูปแบบได้แก่: การตีพิมพ์ระบบเปิดที่บทความบางส่วนหรือเกือบทั้งหมดยอมให้ผู่อ่านเข้าสืบค้นได้นับตั้งแต่วันตีพิมพ์ กับ (self-archiving) ที่ยอมให้ผู้เขียนบทความสำเนาบทความของตนเองนำขึ้นเผยแพร่โดยไม่คิดมูลค่าทางเว็บไซต์
ทุนวิจัย
เงินทุนที่ใช้ในการทำวิจัยเกือบส่วนใหญ่ได้มาจากแหล่งสำคัญ 2 แหล่งได้แก่ รัฐบาล (ส่วนใหญ่ผ่านมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย และในบางกรณีผ่านทางกองทัพ) และองค์การธุรกิจ (ผ่านหน่วยงานวิจัยและพัฒนาของบริษัท) มีนักวิจัยระดับอาวุโสหลายคนที่ใช้เวลาของการวิจัยไม่น้อยไปในกานเขียนข้อเสนอขอรับทุนวิจัย เงินทุนวิจัยเหล่านี้ไม่เพียงเป็นการช่วยสนับสนุนด้านค่าใช้จ่ายในงานวิจัยเท่านั้น แต่ยังถือเป็นเกียรติภูมิของผู้วิจัยอีกด้วยหากได้รับเงินทุนมาจากแหล่งทุนที่มีชื่อเสียง ตำแหน่งทางวิชาการบางตำแหน่งของสถาบันบางแห่งถือเป็นเงื่อนไขด้วยว่าจะต้องเป็นผู้เคยได้รับทุนวิจัยจากแหล่งทุนบางแห่ง เช่น สถาบันสุขภาพแห่งชาติในสหรัฐอเมริกา หรือทุนวิจัยของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) และสภาวิจัยแห่งชาติของประเทศไทยเป็นต้น
ศัพทมูลวิทยา
คำว่า “research” มาจากภาษาฝรั่งเศส recherche, ที่มาจากคำ rechercher, หมายถึงการค้นหาอย่างใกล้ชิด ซึ่งคำว่า "chercher" หมายถึง "ค้นหา"; ซึ่งมีความหมายทั่วไปว่า 'สำรวจอย่างถี่ถ้วน'
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของคำ “วิจัย” อย่างสั้น ๆ ว่าหมายถึงการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา
ดูเพิ่ม
- รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)
- นวัตกรรม
- การชุมนุมทางวิชาการ
- การวิจัยดำเนินงาน
- งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก
- Advertising Research
- Creativity techniques
- Demonstrative evidence
- Due Diligence
- Empirical research
- European Charter for Researchers
- Internet research
- Lab notebook
- Marketing research
- Open research
- Participatory action research
- Psychological research methods
- Research and development
- Social research
- Empirical evidence
- Conceptual framework
อ้างอิง
- Structure of Research, Trochim, W.M.K, (2006). Research Methods Knowledge Base.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เกร็ดการทำวิจัย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud karwicy xngkvs research hmaythungkarkrathakhxngmnusyephuxkhnhakhwamcringinsingidsinghnungthikrathadwyphunthankhxngpyya khwammunghmayhlkinkarthawicyidaekkarkhnphb discovering karaeplkhwamhmay aela karphthnakrrmwithiaelarabb sukhwamkawhnainkhwamrudantang inechingwithyasastrthihlakhlayinolkaelackrwal karwicyxactxngichhruximtxngichwithikarthangwithyasastrkidoxlin elwi wxrenxr Olin Levi Warner karwicychukhbephlingaehngkhwamru ph s 2439 hxngsmudrthsphashrth xakharothms ecfefxrsn wxchingtn disi karwicythangwithyasastr xasykarprayuktraebiybwithithangwithyasastrthiidaerngphlkdncakkhwamxyakruxyakehn karwicyepntwsrangkhxmulkhawsarechingwithyasastraelathvsdithimnusynamaichinkarxthibaythrrmchatiaelakhunsmbtikhxngsrrphsingtang rxbtwera karwicychwyihkarprayuktthvsditang mikhwamepnipidinechingptibti karwicythangwithyasastridrbenginsnbsnuncakhnwyngankhxngrth xngkhkarkarkusl klumexkchnsungrwmthungbristhtang nganwicythangwithyasastrcaaenkidepnpraephthtamsakhawithyakaraelawichaechphaathang khawakarwicyyngichhmaythungkarekbrwbrwmkhxmulkhawsarthiekiywkbwichakarbangsakhaxikdwykarwicykhnphunthanwtthuprasngkhhlkkhxngkarwicykhnphunthankhuxkarsrangkhwamkawhnainkhwamruaelakhwamekhaicechingthvsdikhxngsingthiechuxmoyngrahwangtwaeprtang dusthiti dwykarbukebikthiekidcakkarphlkdnkhxngkhwamxyakruxyakehn khwamsnic aelakarruexngkhxngtwphuwicyexng epnkardaeninkarthiyngimmikarkhanungthungkarnaipichpraoychniwlwnghnaaemwainrahwangkarwicycamikarsxwaxacnaphlipprayuktechingptibtiidktam khawa phunthan epnkarbngchiwakarwicykhnphunthanepnkarwangrakthanihekidkarkawipkhanghnadwykarsrangthvsdithibangkhrngxacnaipprayuktinechingptibtiid enuxngcakkarthiimxacpraknidwakarwicycamipraoychnechingptibtiidinrayasnidniexngthithaihnkwicykhnphunthanhaaehlngenginthunsnbsnunidyakkwakarwicyaebbxun twxyangkhathamthiekiywkbkarwicykhnphunthan thvsdistringcatxbthvsdikarrwmaerngkhrngihyinsakhawichafisiksidhruxim inaengmumidbangkhxngcionmthisamarthxthibaykhwamsbsxnkhxngsingmichiwitid epnipidhruximthicaphisucnhruxhklangkhxkhwamkhadkarnkhxngokldbach id echn thuk elkhkhucanwnetmthimakkwa 2 samarthekhiynepnphlrwmkhxngsxngelkhcaephaann imcaepnthicatxngepnelkhcaephaathiedn odypraephniaelw karwicykhnphunthanthuxidwaepnkickrrmthicatxngmakxnkarwicyprayukt sungkechnknthicatxngepnkickrrmthiekidkhunkxnkarphthnasukhnkarnaipichngan emuxerw ni kartdkhadknxyangchdecndngklawniminxylngklayepnkarphsmphsanrahwangknmakkhun odyechphaainkrnikhxngethkhonolyichiwphaphaelaxielkthrxnikssungkarkhnphbphunthanxacthakhnanknipidkbnganthimungihklayepnphlitphnth aela inphakhswnkhxngkarrwmmuxknrahwangrthaelaphakhexkchnthichwyknkhnluklaexiydlngipinbangsingthimikhwamsakhyaelanasnickrabwnkarwicykarwicythangwithyasastr odythwip epnthiekhaicknwakarwicykhuxkarkrathatamkrabwnkarthimiokhrngsrangechphaaxnidxnhnung aemwakrabwnkartang dngklawcamikhwamphnaepraetktangkniptamlksnakhxngenuxhanganaelatamnkwicyxyubangktam aetswnihythngnganwicykhnphunthanaelacamikhntxndngtxipni karwangenuxeruxngaelakahndchuxeruxng kartngsmmutithan Conceptual definition Operational definition karrwbrwmkhxmul karwiekhraahkhxmul karthdsxbaelakarprbsmmutithan iteration thacaepn khwamekhaicphidthw ipthimkekidkhunidaekkarkhidhruxkarthuxwaidphisucnhruxidthdsxbsmmutithanipaelwdwykrrmwithini aetthicringaelw odythwipaelweraichsmmutithantwthierakhadwaxaccaichidephuxkarsngektphlthicaidcakkarthdlxng aetthaphlkarthdlxngxxkmaimkhngesnkhngwatamsmmutithankcatxnglmeliksmmutithannnip aetxyangirktam thaphlthixxkmamikhwamkhngesnkhngwatamsmmutithancungcathuxidwakarthdlxngnnsnbsnunsmmutithan karthiichphasaxyangramdrawngdngklawnikenuxngmacaknkwicythrabkndiwasmmutithanthangeluxkhlay smmutithanthixacmikhwamkhngesnkhngwakbphlkarsngektid yngimxacidthuxwaepnkarphisucnsmmtithanidaelw epnidaetephiyngkarsnbsnunkarthdlxngechingwithyasastrkhxnginaetlakhrngthimkchwnihkhidwaepncring sungkyngimxacthuxidwaepnkarphisucnidaelwechnkn smmutithanthimipraoychncachwyihnkwicysamarthrbrxngphlkarkhadkarnidcakkhwamaemnyakhxngkarsngektechphaakhrawkhxngkarthdlxngnn inkhnathikhwamaemnyakhxngkarsngektdikhuneruxy ni twsmmutithanedimcungimxyuinthanathicachwyihekidkhwamaemnyaidxiktxip inkrniechnni smmutithanihmkcaekidkhunmathathaysmmutithanedimtxipxik smmutithanihmthithaihkarkhadkarnaemnyakhunnikcaklayepnsmmutithanthimaaethnthi karwicyechingprawtisastr krrmwithiwicyechingprawtisastrprakxbdwyethkhnikhaelaaenwthangthinkprawtisastrichaehlngkhxmulthangprawtisastraelahlkthanxunmaichephuxwicy aelwcungcaekhiynprawtisastrkhunma miaenwthanghlayaenwthinkprawtisastrnamaichinkarthanganphayithwkhx khawicarnphaynxk khawicarnphayin aela karsngekhraah singehlanirwmthung khawicarnkhnsung higher criticism aela karwicarntwbth textual criticism thungaemwabangraykarmikhwamaeprphntangkniptamenuxeruxngaelatamtwnkwicyktam aetodythwipaelw aenwkhidkhxngkarwicyechingprawtisastrekuxbthnghmdcamirupaebbdngni karbngchiwnewladngedim hlkthankhxngsthanthi karyxmrbaelarbrxngphuaetng karwiekhraahkhxmul karbngchithungkhwamsuxstysucrit integrity aehlngxangxingthiechuxthuxidraebiybwithiwicyepahmaykarwicy epahmaykhxngkarwicyidaekkarsrangkhwamruihmsungmi 3 rupaebb khxbekhtrahwangrupaebbyngkhngmikhwamkhlumekhruxxyudngidklawmaaelw karwicyechingbukebik Exploratory research epnkarsrangokhrngrangaelabngchipyhaihm Constructive research epnkarphthnathangaekpyha Empirical research epnkarthdsxbkhwamepnipidkhxngthangaekpyhaodykarichhlkthanechingprackspraephthkhxngkarwicy karwicyxacaebngxxkidpraephththichdecnid 2 praephthkhux karwicykhnpthmphumi karwicykhnthutiyphumiraebiybwithiwicythimikarich raebiybwithiwicythiichodynkwichakarthwiprwmthung karwicyechingptibti chatiphnthuwrrna withiedlfay karwiekhraahechingsthiti karcalxng hrux simiwelchn aebbcalxng aebbcalxngkhnitsastr karsmphasn aebbsxbtham karthaaephnthi Cartography Case study Classification Citation Analysis Consumer ethnocentrism aela CETSCALE twbthhrux Content or Textual Analysis prasbkarn Experience karruexng intuition karthdlxng Experiment Participant observation praktkarnwithya Phenomenology Q methodology Statistical survey karwicyodythwipmkichrupaebbkarthangankhlayruprangkhxngnalikathray aebbcalxngnalikathrayerimdwykarwicythimisepktrmthikwangaelwbibihaekhblng enncudthikhxmulkhawsarthicaepnephuxkarichodyphanraebiybwithikarkhxngokhrngkarwicy aelwcungkhyaykarwicyihkwangkhunihminrupkhxngkarthkethiyngaelaphlthiidxxkmakartiphimphkartiphimphthangwichakar hmaythungrabbthithuxknwaepnkhwamcaepnthicatxngihnkwichakarphumikhwamruesmxkntha peer review kxnthicaephyaephraekphuxaninwngkwang phlnganthangwichakarswnihytiphimphepnbthkhwaminwarsarwichakar hruxinrupkhxnghnngsux inaewdwng kartiphimph STM yxmacakkartiphimphthangwithyasastr ethkhonolyi aelakaraephthy Science Technology and Medicine insakhawichathimnkhngaelwswnihycamiwarsarwichakaraelaaehlngtiphimphepnkhxngtnexng aetkmiwarsarwichakarhlayelmthiepnthitiphimphbthkhwamwichakarhlaysakhahlkaelasakharxnginelmediywkn praephthkhxngwichakarthiidrbkaryxmrbihtiphimphthngthiepnnganwicyhruxthiepnkhwamruephuxephyaephrkyngmikhwamphnaeprhlakhlayrahwangsakhadwyechnkn kartiphimphnganthangwichakarinkhnaniswnmakkalngxyuinrayakhxngchwngrxytxkarepliynaeplngsungerimmacakkartiphimphinrupxielkthrxniks aebbcalxngthangthurkickartiphimphmikhwamaetktangkniptamlksnarupaebbthangxielkthrxniks nbtngaetpramanchwngpi ph s 2535 ph s 2539 thierimmikarcdthaebiynlikhsiththikhxngthrphyakrkhxmulkhawsarxielkthrxniks odyechphaawarsarwichakarsungklayepneruxngpktiipaelw pccubnmiaenwonmhlkekidkhunihmodyechphaawarsarwichakarthimichuxesiynghlayelmthiphthnaepn open access rabbdngklawniepidmi 2 rupaebbidaek kartiphimphrabbepidthibthkhwambangswnhruxekuxbthnghmdyxmihphuxanekhasubkhnidnbtngaetwntiphimph kb self archiving thiyxmihphuekhiynbthkhwamsaenabthkhwamkhxngtnexngnakhunephyaephrodyimkhidmulkhathangewbistthunwicyenginthunthiichinkarthawicyekuxbswnihyidmacakaehlngsakhy 2 aehlngidaek rthbal swnihyphanmhawithyaly hnwynganwicy aelainbangkrniphanthangkxngthph aelaxngkhkarthurkic phanhnwynganwicyaelaphthnakhxngbristh minkwicyradbxawuoshlaykhnthiichewlakhxngkarwicyimnxyipinkanekhiynkhxesnxkhxrbthunwicy enginthunwicyehlaniimephiyngepnkarchwysnbsnundankhaichcayinnganwicyethann aetyngthuxepnekiyrtiphumikhxngphuwicyxikdwyhakidrbenginthunmacakaehlngthunthimichuxesiyng taaehnngthangwichakarbangtaaehnngkhxngsthabnbangaehngthuxepnenguxnikhdwywacatxngepnphuekhyidrbthunwicycakaehlngthunbangaehng echn sthabnsukhphaphaehngchatiinshrthxemrika hruxthunwicykhxngsankngankxngthunsnbsnunkarwicy sthabnwicyrabbsatharnsukh sanknganphthnakarwicykarekstr xngkhkarmhachn aelasphawicyaehngchatikhxngpraethsithyepntnsphthmulwithyakhawa research macakphasafrngess recherche thimacakkha rechercher hmaythungkarkhnhaxyangiklchid sungkhawa chercher hmaythung khnha sungmikhwamhmaythwipwa sarwcxyangthithwn phcnanukrmchbbrachbnthitysthanihkhwamhmaykhxngkha wicy xyangsn wahmaythungkarkhnkhwaephuxhakhxmulxyangthithwntamhlkwichaduephimraychuxsakhakarsuksaradbpriyyaexk shrthxemrika nwtkrrm karchumnumthangwichakar karwicydaeninngan nganwicythimikhwamerimaerk Advertising Research Creativity techniques Demonstrative evidence Due Diligence Empirical research European Charter for Researchers Internet research Lab notebook Marketing research Open research Participatory action research Psychological research methods Research and development Social research Empirical evidence Conceptual frameworkxangxingStructure of Research Trochim W M K 2006 Research Methods Knowledge Base aehlngkhxmulxunekrdkarthawicy