วิธีเดลฟาย หรือ วิธีเดลฟี (อังกฤษ: Delphi method) เป็นวิธีผลลัพธ์โดยวิธีการออกความเห็นของ เทคนิคเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีขั้นตอนและระเบียบแบบแผนที่ชัดเจน โดยผู้เชี่ยวชาญตอบแบบสอบถามจำนวนสองรอบหรือมากกว่านั้น โดยในแต่ละรอบผู้จัดทำจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป โดยเชื่อว่าคำตอบในแต่ละรอบจะถูกเกลาให้ "ถูกต้อง" มากยิ่งขึ้น ซึ่งสุดท้าย การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้ข้อสรุปที่มั่นคง และคะแนนค่าเฉลี่ยหรือมัธยฐานจะเป็นตัวกำหนดคำตอบ
ประวัติ
เป็นวิธีหนึ่งของการมองอนาคต ได้รับการพัฒนาโดย RAND Corporation ในคริสต์ทศวรรษที่ 1950 เป็นวิธีสำรวจความเห็นจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในสาขาหนึ่งๆ เพื่อให้ได้คำตอบที่น่าเชื่อถือมากที่สุด โดยให้ผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ ตอบแบบสอบถามชุดเดียวกันหลายครั้ง ในการสำรวจรอบที่หนึ่ง ผู้ตอบแบบสอบถามจะตอบคำถามพร้อมข้อคิดเห็นส่วนตัวเกี่ยวกับคำถาม จากนั้นคณะวิจัยจะคำนวณหาค่าควอไทล์ (quartile) ของคำตอบและรวบรวมข้อคิดเห็นเพิ่มเติมของผู้ตอบเพิ่มลงในชุดแบบสอบถามรอบที่สอง พร้อมส่งคำตอบที่ได้ในรอบแรกคืนให้ผู้ตอบ ผู้ตอบจะเปรียบเทียบคำตอบของตนกับผู้เชี่ยวชาญท่านอื่นและข้อคิดเห็นเพิ่มเติม เพื่อตัดสินใจใหม่ว่า จะยืนยันความคิดเดิม หรือจะเปลี่ยนใจโดยมิต้องเผชิญหน้ากับผู้เชี่ยวชาญท่านอื่น ความเห็นที่แตกต่างจากความเห็นของคนส่วนใหญ่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่าความเห็นของคนส่วนใหญ่ ผลการศึกษาหลายชิ้นระบุว่าความเห็นของสมาชิกที่ดีที่สุดของกลุ่มอาจไม่ตรงกับความเห็นของคนส่วนใหญ่
ในระยะแรกมีการใช้เทคนิคเดลฟายกันมากในการคาดการณ์เทคโนโลยี โดยทำนายว่าเทคโนโลยีใดจะมีการพิสูจน์หลักการได้เมื่อใด จะเริ่มพร้อมใช้งานหรือจะมีการใช้อย่างแพร่หลายได้เมื่อใด แต่ต่อมามีการใช้อย่างแพร่หลายในการสำรวจและประเมินนโยบายด้านต่างๆ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน ทางด้านการศึกษา การจัดการ และสาธารณสุข เรียกว่าเป็นเดลฟายเชิงนโยบาย (policy Delphi)
ลักษณะสำคัญของเทคนิคเดลฟาย ได้แก่
- การไม่เปิดเผยตน (anonymity) ได้จากการใช้แบบสอบถาม เพื่อไม่ให้ผู้ออกความเห็นต้องเผชิญหน้ากัน จะได้ไม่รู้ว่าใครเป็นเจ้าของความเห็น ทำให้สามารถพิจารณาคุณค่าของความเห็นโดยไม่ถูกเบี่ยงเบนด้วยตำแหน่งหรือความสามารถในการโน้มน้าวของเจ้าของความเห็น ผู้ออกความเห็นที่แตกต่างออกไปไม่รู้สึกว่าถูกกดดันจากผู้ที่มีวุฒิสูงกว่าหรือความเห็นของคนส่วนใหญ่
- การทำซ้ำ (iteration) ได้จากการส่งแบบสอบถามเดียวกันให้ตอบหลายรอบ ให้โอกาสผู้ตอบเปลี่ยนใจโดยไม่เสียหน้า จากการพิจารณาความเห็นและเหตุผลของผู้อื่น
- การป้อนกลับโดยมีการควบคุม (controlled feedback) มีการกลั่นกรองและป้อนกลับความเห็นของกลุ่มให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้ทราบในการส่งแบบสอบถามรอบต่อไป ผู้ตอบจะได้ทราบสถานภาพของความเห็นรวม คำวิจารณ์ ข้อเสนอแนะ และเหตุผลประกอบความคิดเห็นของทั้งผู้เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย
- การนำเสนอคำตอบด้วยสถิติ (statistical group response) เป็นส่วนหนึ่งของการป้อนกลับระหว่างการสอบถามแต่ละรอบ โดยเสนอผลคำตอบของกลุ่มเป็นค่ามัธยฐานและระดับความเห็นที่กระจายออกไป
ข้อดีของเทคนิคเดลฟาย
- การไม่เปิดเผยชื่อของผู้ตอบ ทำให้ผู้ตอบมีอิสรภาพทางความคิด
- สามารถได้ความเห็นจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวนมาก ซึ่งอาจสูงเป็นร้อยเป็นพันได้
- การใช้วิธีการทางสถิติเพื่อประมวลผล เป็นการลดอคติ (bias) ทำให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- เหมาะสำหรับคำถามยากๆ ที่มีหลายมิติ ที่ต้องประเมินทั้งข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์และ คุณค่าทางสังคม หรือคำถามในเรื่องที่ยังขาดองค์ความรู้อย่างเพียงพอ เพื่อหาคำตอบในขณะที่จำเป็นต้องมีการตัดสินใจ
ข้อเสียของเทคนิคเดลฟาย
- ใช้เวลานานและการลงทุนสูง จึงนิยมทำการสำรวจเพียงสองรอบ แต่ในปัจจุบัน หลายโครงการมีการให้ตอบแบบสอบถามในเว็บไซต์แบบออนไลน์ ซึ่งลดค่าใช้จ่ายและเวลาลงได้มาก
- ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เชี่ยวชาญผ่านแบบสำรวจไม่เข้มข้นเหมือนการเผชิญหน้า จึงถูกกล่าวหาว่าการสำรวจได้เพียงความเห็นเฉลี่ย ซึ่งอาจไม่ใช่ความเห็นที่ดีที่สุด
ขั้นตอนในการสำรวจแบบเดลฟาย
- คณะวิจัยปรึกษากับคณะกรรมการด้านเทคนิค ซึ่งประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญในสาขาที่จะสำรวจจำนวนหนึ่ง เพื่อกำหนดกรอบประเด็นปัญหาที่จะศึกษาและคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญที่จะส่งแบบสอบถามไปให้
- เพื่อให้ได้มาซึ่งหัวข้อที่จะใช้ในแบบสอบถามที่จะส่งไปยังผู้เชี่ยวชาญจำนวนมาก คณะวิจัยอาจจัดการประชุมระดมความคิดผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาในวงกว้าง หรือใช้กระบวนการจำลองภาพอนาคต หรือส่งแบบสอบถามแบบคำถามปลายเปิดไปให้ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อรวบรวมประเด็นที่จะศึกษา
- คณะกรรมการด้านเทคนิคเสนอหัวข้อที่จะใช้ในการสำรวจแบบเดลฟาย
- คณะวิจัยนำหัวข้อไปทำเป็นแบบสอบถามเดลฟาย ซึ่งมีลักษณะเป็นโครงสร้างตายตัว แต่ก็เปิดโอกาสให้ผู้ตอบวิจารณ์หัวข้อในแบบสอบถาม และเสนอหัวข้อเพิ่มเติมได้:
- คณะวิจัยปรึกษาคณะกรรมการด้านเทคนิคให้ตัดสินตัวแปรที่จะใช้
- ทดลองความเหมาะสมของแบบสอบถามก่อนส่งจริง
- คณะวิจัยส่งแบบสอบถามรอบที่ 1 ไปยังผู้เชี่ยวชาญ
- คณะวิจัยติดตามแบบสอบถามรอบที่ 1 และวิเคราะห์ผลการตอบในเชิงสถิติ รวมทั้งคำวิจารณ์และข้อเสนอแนะต่างๆ นำเสนอคณะกรรมการด้านเทคนิค เพื่อปรับปรุงเพิ่มเติมหัวข้อ และเพิ่มตัวแปร
- คณะวิจัยส่งแบบสอบถามรอบที่ 2 ไปยังผู้เชี่ยวชาญที่ตอบแบบสอบถามรอบที่ 1 ซึ่งแต่ละข้อจะมีค่ามัธยฐานและค่าควอไทล์ รวมทั้งสรุปข้อคิดเห็นต่างๆ จากผลการสำรวจในรอบที่ 1 หากผู้เชี่ยวชาญเลือกตอบใหม่อีกครั้งโดยมีความเห็นอยู่ในค่าควอไทล์สูงสุดหรือต่ำสุด ก็จะขอให้บอกเหตุผลว่าทำไมจึงคิดว่าความเห็นของตนถูกต้องกว่าผู้เชี่ยวชาญสามในสี่ของกลุ่ม
- คณะวิจัยติดตามแบบสอบถามรอบที่ 2 และวิเคราะห์ผลการตอบนำเสนอคณะกรรมการด้านเทคนิค
- คณะวิจัยทำซ้ำขั้นตอนที่ 7 และ 8 จนกว่าผลการสำรวจมีความแตกต่างจากครั้งก่อนน้อยมาก
- คณะวิจัยเขียนรายงานสรุปผลการสำรวจแบบเดลฟาย ร่วมกับคณะกรรมการด้านเทคนิค
ตัวอย่างโครงการที่ใช้เทคนิคเดลฟาย
ประเทศญี่ปุ่นได้มีการมองอนาคตโดยใช้เทคนิคเดลฟายระดับประเทศทุก 5 ปีมาตั้งแต่ปี 2514 นอกจากระดับประเทศแล้ว ญี่ปุ่นได้มีการมองอนาคตในระดับกระทรวง ระดับอุตสาหกรรม และระดับบริษัท/องค์กรมาโดยตลอด การมองอนาคตครั้งที่ 8 เพิ่งจะเสร็จไปในเดือนพฤษภาคม 2549 ซึ่งครั้งนี้นอกจากเทคนิคเดลฟายแล้ว ยังใช้วิธีการสร้างภาพอนาคต การวิเคราะห์บทความวิชาการ และการวิเคราะห์ความต้องการด้านเศรษฐกิจและสังคมควบคู่กันด้วย ตัวอย่างอีกประเทศหนึ่งคือ ประเทศออสเตรียซึ่งทำการสำรวจเดลฟายด้านเทคโนโลยีพร้อมๆ กับการสำรวจเดลฟายเชิงนโยบายในปี 1999[]
อ้างอิง
- Delphi อ่านได้สองแบบคือ เดล-ฟี ซึ่งเป็นที่มาของคำมาจากเมืองเดลฟี และอ่านอีกวิธีคือ เดล-ฟาย หรือ เดล-ไฟ อ่านตามสำเนียงภาษาอังกฤษ
- Rowe and Wright (1999): The Delphi technique as a forecasting tool: issues and analysis. International Journal of Forecasting, Volume 15, Issue 4, October 1999.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
withiedlfay hrux withiedlfi xngkvs Delphi method epnwithiphllphthodywithikarxxkkhwamehnkhxng ethkhnikhedlfayepnethkhnikhthimikhntxnaelaraebiybaebbaephnthichdecn odyphuechiywchaytxbaebbsxbthamcanwnsxngrxbhruxmakkwann odyinaetlarxbphucdthacasrupkhatxbkhxngrxbnnephuxepnkhxmulsahrbtxbkhathaminrxbthdip odyechuxwakhatxbinaetlarxbcathukeklaih thuktxng makyingkhun sungsudthay karsxbthamcahyudlngemuxidkhxsrupthimnkhng aelakhaaennkhaechliyhruxmthythancaepntwkahndkhatxbprawtiepnwithihnungkhxngkarmxngxnakht idrbkarphthnaody RAND Corporation inkhristthswrrsthi 1950 epnwithisarwckhwamehncakklumphuechiywchayinsakhahnung ephuxihidkhatxbthinaechuxthuxmakthisud odyihphuechiywchayinsakhann txbaebbsxbthamchudediywknhlaykhrng inkarsarwcrxbthihnung phutxbaebbsxbthamcatxbkhathamphrxmkhxkhidehnswntwekiywkbkhatham caknnkhnawicycakhanwnhakhakhwxithl quartile khxngkhatxbaelarwbrwmkhxkhidehnephimetimkhxngphutxbephimlnginchudaebbsxbthamrxbthisxng phrxmsngkhatxbthiidinrxbaerkkhunihphutxb phutxbcaepriybethiybkhatxbkhxngtnkbphuechiywchaythanxunaelakhxkhidehnephimetim ephuxtdsinicihmwa cayunynkhwamkhidedim hruxcaepliynicodymitxngephchiyhnakbphuechiywchaythanxun khwamehnthiaetktangcakkhwamehnkhxngkhnswnihymikhwamsakhyimyinghyxnkwakhwamehnkhxngkhnswnihy phlkarsuksahlaychinrabuwakhwamehnkhxngsmachikthidithisudkhxngklumxacimtrngkbkhwamehnkhxngkhnswnihy inrayaaerkmikarichethkhnikhedlfayknmakinkarkhadkarnethkhonolyi odythanaywaethkhonolyiidcamikarphisucnhlkkaridemuxid caerimphrxmichnganhruxcamikarichxyangaephrhlayidemuxid aettxmamikarichxyangaephrhlayinkarsarwcaelapraeminnoybaydantang thnginphakhrthaelaphakhexkchn thangdankarsuksa karcdkar aelasatharnsukh eriykwaepnedlfayechingnoybay policy Delphi lksnasakhykhxngethkhnikhedlfay idaekkarimepidephytn anonymity idcakkarichaebbsxbtham ephuximihphuxxkkhwamehntxngephchiyhnakn caidimruwaikhrepnecakhxngkhwamehn thaihsamarthphicarnakhunkhakhxngkhwamehnodyimthukebiyngebndwytaaehnnghruxkhwamsamarthinkaronmnawkhxngecakhxngkhwamehn phuxxkkhwamehnthiaetktangxxkipimrusukwathukkddncakphuthimiwuthisungkwahruxkhwamehnkhxngkhnswnihy karthasa iteration idcakkarsngaebbsxbthamediywknihtxbhlayrxb ihoxkasphutxbepliynicodyimesiyhna cakkarphicarnakhwamehnaelaehtuphlkhxngphuxun karpxnklbodymikarkhwbkhum controlled feedback mikarklnkrxngaelapxnklbkhwamehnkhxngklumihphutxbaebbsxbthamidthrabinkarsngaebbsxbthamrxbtxip phutxbcaidthrabsthanphaphkhxngkhwamehnrwm khawicarn khxesnxaena aelaehtuphlprakxbkhwamkhidehnkhxngthngphuehndwyaelaimehndwy karnaesnxkhatxbdwysthiti statistical group response epnswnhnungkhxngkarpxnklbrahwangkarsxbthamaetlarxb odyesnxphlkhatxbkhxngklumepnkhamthythanaelaradbkhwamehnthikracayxxkipkhxdikhxngethkhnikhedlfaykarimepidephychuxkhxngphutxb thaihphutxbmixisrphaphthangkhwamkhid samarthidkhwamehncakklumphuechiywchaycanwnmak sungxacsungepnrxyepnphnid karichwithikarthangsthitiephuxpramwlphl epnkarldxkhti bias thaihidkhxmulthinaechuxthux ehmaasahrbkhathamyak thimihlaymiti thitxngpraeminthngkhxethccringthangwithyasastraela khunkhathangsngkhm hruxkhathamineruxngthiyngkhadxngkhkhwamruxyangephiyngphx ephuxhakhatxbinkhnathicaepntxngmikartdsinickhxesiykhxngethkhnikhedlfayichewlananaelakarlngthunsung cungniymthakarsarwcephiyngsxngrxb aetinpccubn hlayokhrngkarmikarihtxbaebbsxbthaminewbistaebbxxniln sungldkhaichcayaelaewlalngidmak ptismphnthrahwangphuechiywchayphanaebbsarwcimekhmkhnehmuxnkarephchiyhna cungthukklawhawakarsarwcidephiyngkhwamehnechliy sungxacimichkhwamehnthidithisudkhntxninkarsarwcaebbedlfaykhnawicypruksakbkhnakrrmkardanethkhnikh sungprakxbdwyphuechiywchayinsakhathicasarwccanwnhnung ephuxkahndkrxbpraednpyhathicasuksaaelakhdeluxkphuechiywchaythicasngaebbsxbthamipih ephuxihidmasunghwkhxthicaichinaebbsxbthamthicasngipyngphuechiywchaycanwnmak khnawicyxaccdkarprachumradmkhwamkhidphuechiywchayhlaysakhainwngkwang hruxichkrabwnkarcalxngphaphxnakht hruxsngaebbsxbthamaebbkhathamplayepidipihphuechiywchay ephuxrwbrwmpraednthicasuksa khnakrrmkardanethkhnikhesnxhwkhxthicaichinkarsarwcaebbedlfay khnawicynahwkhxipthaepnaebbsxbthamedlfay sungmilksnaepnokhrngsrangtaytw aetkepidoxkasihphutxbwicarnhwkhxinaebbsxbtham aelaesnxhwkhxephimetimid khnawicypruksakhnakrrmkardanethkhnikhihtdsintwaeprthicaich thdlxngkhwamehmaasmkhxngaebbsxbthamkxnsngcring khnawicysngaebbsxbthamrxbthi 1 ipyngphuechiywchay khnawicytidtamaebbsxbthamrxbthi 1 aelawiekhraahphlkartxbinechingsthiti rwmthngkhawicarnaelakhxesnxaenatang naesnxkhnakrrmkardanethkhnikh ephuxprbprungephimetimhwkhx aelaephimtwaepr khnawicysngaebbsxbthamrxbthi 2 ipyngphuechiywchaythitxbaebbsxbthamrxbthi 1 sungaetlakhxcamikhamthythanaelakhakhwxithl rwmthngsrupkhxkhidehntang cakphlkarsarwcinrxbthi 1 hakphuechiywchayeluxktxbihmxikkhrngodymikhwamehnxyuinkhakhwxithlsungsudhruxtasud kcakhxihbxkehtuphlwathaimcungkhidwakhwamehnkhxngtnthuktxngkwaphuechiywchaysaminsikhxngklum khnawicytidtamaebbsxbthamrxbthi 2 aelawiekhraahphlkartxbnaesnxkhnakrrmkardanethkhnikh khnawicythasakhntxnthi 7 aela 8 cnkwaphlkarsarwcmikhwamaetktangcakkhrngkxnnxymak khnawicyekhiynrayngansrupphlkarsarwcaebbedlfay rwmkbkhnakrrmkardanethkhnikhtwxyangokhrngkarthiichethkhnikhedlfaypraethsyipunidmikarmxngxnakhtodyichethkhnikhedlfayradbpraethsthuk 5 pimatngaetpi 2514 nxkcakradbpraethsaelw yipunidmikarmxngxnakhtinradbkrathrwng radbxutsahkrrm aelaradbbristh xngkhkrmaodytlxd karmxngxnakhtkhrngthi 8 ephingcaesrcipineduxnphvsphakhm 2549 sungkhrngninxkcakethkhnikhedlfayaelw yngichwithikarsrangphaphxnakht karwiekhraahbthkhwamwichakar aelakarwiekhraahkhwamtxngkardanesrsthkicaelasngkhmkhwbkhukndwy twxyangxikpraethshnungkhux praethsxxsetriysungthakarsarwcedlfaydanethkhonolyiphrxm kbkarsarwcedlfayechingnoybayinpi 1999 txngkarxangxing xangxingDelphi xanidsxngaebbkhux edl fi sungepnthimakhxngkhamacakemuxngedlfi aelaxanxikwithikhux edl fay hrux edl if xantamsaeniyngphasaxngkvs Rowe and Wright 1999 The Delphi technique as a forecasting tool issues and analysis International Journal of Forecasting Volume 15 Issue 4 October 1999