ความตกลงอังกฤษ-รัสเซียใน ค.ศ. 1907 (อังกฤษ: Anglo-Russian Convention of 1907; รัสเซีย: Англо-Русская Конвенция 1907 г., อักษรโรมัน: Anglo-Russkaya Konventsiya 1907 g.) ลงนามเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1907 ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก รัสเซีย ได้ทำให้ความสัมพันธ์ที่กำลังเผชิญหน้ากันระหว่างอังกฤษกับรัสเซียลดลงโดยการกำหนดพรมแดนร่วมกันซึ่งระบุการควบคุมของทั้งสองในเปอร์เซีย อัฟกานิสถาน และทิเบต ข้อตกลงดังกล่าวเสมือนว่าได้ยุติการต่อสู้เพื่อแย่งชิงอำนาจอันยาวนานซึ่งแผ่ขยายไปตลอดทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียกลางที่ยังด้อยพัฒนา แม้ว่าจักรวรรดิอังกฤษและจักรวรรดิรัสเซียจะเคยประสบกับความขัดแย้งขนาดใหญ่เมื่อหลายร้อยปีก่อน ในความขัดแย้งซึ่งเรียกว่า "เดอะเกรตเกม" ได้ซ้ำเติมสถานการณ์ในขอบเขตจนกระทั่งหนทางแก้ไขปัญหาเริ่มปรากฏในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลายคนเชื่อว่าการเจรจาดังกล่าวมีจุดประสงค์ในการสร้างพันธมิตรทางการเมืองด้วยความกลัวในแสงยานุภาพและอิทธิพลที่เพิ่มมากขึ้นของเยอรมนี ผลจากข้อตกลงอังกฤษ-รัสเซีย ทำให้โอกาสในการปกครองของอิหร่านถูกทำลาย แนวคิดในการฟื้นฟูรัฐอิหร่านมิใช่สิ่งที่จักรวรรดิทั้งสองนี้สำนึกเลย; ทั้งสองได้รับเสถียรภาพและการควบคุมในเปอร์เซีย และวางแผนที่จะรักษาสภาวะเช่นนี้ต่อไป โดยรวมแล้ว อนุสัญญาดังกล่าวได้แสดงให้เห็นถึงท่าทีซึ่งได้รับการคำนวณอย่างระมัดระวังของมหาอำนาจแต่ละฝ่ายในส่วนที่ตนเลือกในการตีราคาของพันธมิตรอันทรงพลังมากกว่าการควบคุมอย่างเบ็ดเสร็จเหนือพื้นที่หลายส่วนของเอเชียกลาง
แผนที่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ แสดงบริเวณที่อังกฤษและรัสเซียแบ่งเขตปกครองหรือมีอิทธิพล | |
วันลงนาม | 31 สิงหาคม [ตามปฎิทินเก่า: 18 สิงหาคม] 1907 |
---|---|
ที่ลงนาม | เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก จักรวรรดิรัสเซีย |
ผู้ลงนาม |
เบื้องหลัง
เดอะเกรตเกม
ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 อังกฤษมีอำนาจปกครองอินเดียอย่างมั่นคงและมองว่าอินเดียเป็นอาณานิคมที่สำคัญที่สุดของตน อย่างไรก็ตาม รัสเซียเองก็ได้แสดงแสงยานุภาพโดยการขยายตัวลงมาทางใต้และตะวันออกสู่เอเชียกลางและรุกคืบเข้าสู่อินเดีย "เดอะเกรตเกม" หมายความถึง การแข่งขันในการควบคุมดนแดนและการควบคุมทางการเมืองในเอเชียกลางระหว่างอังกฤษและรัสเซีย ดินแดนที่อยู่ระหว่างอินเดียและดินแดนส่วนที่รัสเซียปกครอง ได้แก่ เปอร์เซีย อัฟกานิสถาน และทิเบต เป็นความปรารถนาของจักรวรรดิทั้งสองอย่างมาก อังกฤษเกรงว่า การเผชิญหน้ากับรัสเซียอาจทำให้ชาวอินเดียมีความหวังที่จะก่อการกบฏ อันเป็นความท้าทายต่อการปกครองอาณานิคมของอังกฤษ ในความสำคัญ คือ อังกฤษมีเป้าหมายที่จะกัน "อิทธิพลของรัสเซียจากชายแดนอินเดียของอังกฤษ" ในอีกทางหนึ่ง รัสเซียเองก็ต้องการดินแดนเพิ่มเติมทางพรมแดนตอนใต้ คือ อัฟกานิสถาน และกลัวการขยายดินแดนของอังกฤษมายังอาณานิคมของตน ยิ่งไปกว่านั้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้เกิดประเด็นปัญหาใหม่ขึ้น และได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทางการอังกฤษ เมื่อ กระตุ้นให้รักษาความมั่นคงของน้ำมันในตะวันออกกลางของอังกฤษ นี่เป็นเพียงบางส่วนของประเด็นเท่านั้น และทำให้อังกฤษวางตัวเป็นกลางทางการทูตต่อทุกท่าทีของรัสเซีย การใช้ยุทธวิธีที่คล้ายคลึงกับการรวมเศรษฐกิจของตนเข้ากับอิหร่าน อังกฤษได้รวบรวมทิเบตเข้าสู่การปกครองโดยการรุกรานครั้งแรกในปี ค.ศ. 1903 จากนั้นได้ทำให้ทิเบตเป็นคู่ค้า ซึ่งได้ทำให้ทิเบตแบกภาระหนี้มหาศาลและได้ทำให้อังกฤษมีอำนาจเพิ่มขึ้นอย่างมาก ถึงแม้ว่าชาติมหาอำนาจทั้งสองต่างก็หลีกเลี่ยงสงครามอย่างเปิดเผย "เดอะเกรตเกม" ก็ได้สร้างความเสียหาทางการเมืองแก่อังกฤษและรัสเซียไม่มากก็น้อย อย่างไรก็ตาม จากความรุ่งเรืองของเยอรมนีในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ทำให้มหาอำนาจทั้งสองพบว่าจะเป็นประโยชน์แก่ตนที่จะตกลงปรองดองและทำให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ความขัดแย้งอันตึงเครียดอย่างเช่น "เดอะเกรตเกม" ได้กีดขวางฝ่ายไตรภาคีในการเผชิญหน้ากับเยอรมนีและหลังได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ความรุ่งเรืองของเยอรมนี
เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1882 เยอรมนีลงนามเข้าเป็นไตรพันธมิตรกับอิตาลีและออสเตรีย-ฮังการี ทำให้เยอรมนีก้าวเข้าสู่เวทีโลกจากการพัฒนาอุตสาหกรรม สังคมและการเมือง ยิ่งไปกว่านั้น เยอรมนีเพิ่มรายจ่ายทางทหารอย่างมากนับตั้งแต่ช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 จนกระทั่งการปะทุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ภายใต้จักรวรรดิ "ปรัสเซีย-เยอรมัน" ใหม่นี้ รัฐบาลเยอรมันได้ทำงานเพื่อเพิ่มความมั่งคั่งของชาติและบรรลุจุดสูงสุดของอำนาจเยอรมัน ในขณะที่อังกฤษและรัสเซียกำลังเคลือบแคลงกับจุดประสงค์ในการแผ่อำนาจของเยอรมนี สมาชิกของไตรพันธมิตรทีละชาติเองก็ได้ถูกคุกคามจากยุทธวิธีนโยบายต่างประเทศเชิงรุกของอังกฤษและรัสเซีย และความมั่งคั่งจากอาณานิคมของตน ด้วยเหตุนี้ การขยายดินแดนและทหารของจึงเป็นกุญแจของเยอรมนีที่จะทำให้ตนเองมีบทบาทหลักในเวทีอำนาจระหว่างประเทศ ตะวันออกกลางของเยอรมนีตกอยู่ในสถานะเป็นรอง ซึ่งมีความสำคัญน้อยกว่าสำหรับนโยบายหลักของเยอรมนีต่อยุโรปและอเมริกา ตลอดช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่มีความสำคัญเป็นรอง แต่มันได้เป็นเครื่องมือที่ถูกใช้จัดการความพยายามของตะวันออกกลางที่จะให้อำนาจตะวันตกต่อสู้กันเอง เบอร์ลินได้แทรกซึมจักรวรรดิออตโตมันอย่างสันติ และมีความปรารถนาอาณานิคมในภูมิภาคนี้น้อย
ปัญหาในอิหร่าน
ในปี ค.ศ. 1905 กิจกรรมการปฏิวัติได้แพร่ขยายตัวอิหร่าน โดยมีการบีบบังคับให้ชาห์ยอมรับรัฐธรรมนูญ อนุญาตให้จัดตั้ง (สมัชชญารัฐสภา) และจัดการเลือกตั้ง หัวใจของการปฏิวัติมีเป้าหมายตลอดกาล ซึ่งได้สร้างความแตกร้าวในหมู่นักบวชในข้อได้เปรียบของราชาธิปไตย ทั้งอังกฤษและรัสเซียต่างก็ไม่รับรองการจัดการทางการเมืองเสรีอันไม่มีเสถียรภาพนี้ ทั้งสองต่างการ "หุ่นเชิด" ที่มีเสถียรภาพ อย่างเช่นรัฐบาลที่ได้รับความยินยอมจากต่างชาติและทำงานได้ดีกับเป้าหมายในการขยายอำนาจของพวกเขา เพื่อที่จะทำให้สถานการณ์ในอิหร่านสะดวกขึ้น รัสเซียและอังกฤษได้พูดคุยกันที่จะแบ่งแยกอิหร่านออกเป็นสามส่วน ข้อตกลงที่พวกเขาต้องการนั้นจะแบ่งอิหร่านออกเป็นทางเหนือ รวมไปถึงเอสฟาฮาน ให้แก่รัสเซีย; ทางตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง และ ให้แก่อังกฤษ ส่วนดินแดนที่เหลือให้ปักเขตให้เป็น "เขตเป็นกลาง" ของทั้งสอง การแบ่งอิหร่านครั้งนี้ได้ทำให้การควบคุมผลประโยชน์ทางดินแดนและทางเศรษฐกิจในอิหร่านของทั้งสองมั่นคงยิ่งขึ้น เช่นเดียวกับการเข้าแทรกแซงระบบการเมืองอิหร่าน จากอิทธิพลจากต่างชาติ การปฏิวัติถูกบีบจากนักเคลื่อนไหวยุโรปและฝ่ายนิยมราชาธิปไตย
อนุสัญญา
อนุสัญญาอังกฤษ-รัสเซียได้กำหนดเงื่อนไขดังต่อไปนี้:
- เปอร์เซียจะถูกแบ่งออกเป็นสามส่วน: ส่วนของรัสเซียทางตอนเหนือ ส่วนของอังฤษทางตะวันออกเฉียงใต้ และดินแดนที่เหลือให้เป็นเขตกันชนที่เป็นกลาง
- อังกฤษจะต้องไม่แสวงหาดินแดนเพิ่มเติม
- รัสเซียจะต้องทำตามแนวปฏิบัติข้อ 2. ในทางกลับกัน
- อัฟกานิสถานเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษและให้รัสเซียยุติการสื่อสารใด ๆ กับเจ้าครองนคร
อ้างอิง
- Anglo-French Entente; Entente Cordiale (1904) ถึง Ausgleich
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
- "The Recent Anglo-Russian Convention" The American Journal of International Law (1907) pp 979–984 online
- Abrahamiam, Ervand, A History of Modern Iran (, 2008)
- Adelson, Roger, London and the Invention of the Middle East: Money, Power, and War, 1902–1922 (St. Edmundsbury Press, 1995)
- Churchill, Platt Rogers. The Anglo-Russian Convention of 1907 (1939).
- Habberton, William. Anglo-Russian Relations Concerning Afghanistan, 1837–1907 (U. of Illinois, 1937).
- Klein, Ira (1971), "The Anglo-Russian Convention and the Problem of Central Asia, 1907–1914", Journal of British Studies, 11 (1): 126–147, doi:10.1086/385621, JSTOR 175041
- Langer, William L. (1929). "Russia, the Straits Question, and the European Powers, 1904–8". The English Historical Review. 44 (173): 59–85. doi:10.1093/ehr/XLIV.CLXXIII.59. JSTOR 552495.
- Mahajan, Sneh. British foreign policy 1874–1914: The role of India (Routledge, 2003).
- Palmer, A. W. "The Anglo-Russian Entente" History Today (Nov 1957) 7#11 pp 748–754.
- Sicker, Martin. The Bear and the Lion: Soviet Imperialism and Iran (Praeger Publishers, 1988).
- Siegel, Jennifer, Endgame: Britain, Russia and the Final Struggle for Central Asia (New York: I.B. Tauris, 2002)
- Soroka, Marina. Britain, Russia and the Road to the First World War: The Fateful Embassy of Count Aleksandr Benckendorff (1903–16) (Routledge, 2016).
- Tomaszewski, Fiona K. A Great Russia: Russia and the Triple Entente (Greenwood Publishing Group, 2002)
- Williams, Beryl J. "The Strategic Background to the Anglo-Russian Entente of August 1907." Historical Journal 9#3 (1966): 360–73. online.
แหล่งข้อมูลอื่น
- library website. The Anglo-Russian Entente
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamtklngxngkvs rsesiyin kh s 1907 xngkvs Anglo Russian Convention of 1907 rsesiy Anglo Russkaya Konvenciya 1907 g xksrormn Anglo Russkaya Konventsiya 1907 g lngnamemuxwnthi 31 singhakhm kh s 1907 inesntpietxrsebirk rsesiy idthaihkhwamsmphnththikalngephchiyhnaknrahwangxngkvskbrsesiyldlngodykarkahndphrmaednrwmknsungrabukarkhwbkhumkhxngthngsxnginepxresiy xfkanisthan aelathiebt khxtklngdngklawesmuxnwaidyutikartxsuephuxaeyngchingxanacxnyawnansungaephkhyayiptlxdthwthngphumiphakhexechiyklangthiyngdxyphthna aemwackrwrrdixngkvsaelackrwrrdirsesiycaekhyprasbkbkhwamkhdaeyngkhnadihyemuxhlayrxypikxn inkhwamkhdaeyngsungeriykwa edxaekrtekm idsaetimsthankarninkhxbekhtcnkrathnghnthangaekikhpyhaerimpraktinchwngtnkhriststwrrsthi 20 hlaykhnechuxwakarecrcadngklawmicudprasngkhinkarsrangphnthmitrthangkaremuxngdwykhwamklwinaesngyanuphaphaelaxiththiphlthiephimmakkhunkhxngeyxrmni phlcakkhxtklngxngkvs rsesiy thaihoxkasinkarpkkhrxngkhxngxihranthukthalay aenwkhidinkarfunfurthxihranmiichsingthickrwrrdithngsxngnisanukely thngsxngidrbesthiyrphaphaelakarkhwbkhuminepxresiy aelawangaephnthicarksasphawaechnnitxip odyrwmaelw xnusyyadngklawidaesdngihehnthungthathisungidrbkarkhanwnxyangramdrawngkhxngmhaxanacaetlafayinswnthitneluxkinkartirakhakhxngphnthmitrxnthrngphlngmakkwakarkhwbkhumxyangebdesrcehnuxphunthihlayswnkhxngexechiyklangkhwamtklngxngkvs rsesiyin kh s 1907aephnthiexechiytawntkechiyngit aesdngbriewnthixngkvsaelarsesiyaebngekhtpkkhrxnghruxmixiththiphlwnlngnam31 singhakhm tampdithineka 18 singhakhm 1907thilngnamesntpietxrsebirk ckrwrrdirsesiyphulngnam shrachxanackr rsesiykarkahndphrmaedn dinaednepxresiy sinaengin xyuinkarkhwbkhumkhxngrsesiy dinaednthangtawnxxkechiyngit sichmphu epnkhxngxngkvsebuxnghlngedxaekrtekm rahwangkhriststwrrsthi 19 xngkvsmixanacpkkhrxngxinediyxyangmnkhngaelamxngwaxinediyepnxananikhmthisakhythisudkhxngtn xyangirktam rsesiyexngkidaesdngaesngyanuphaphodykarkhyaytwlngmathangitaelatawnxxksuexechiyklangaelarukkhubekhasuxinediy edxaekrtekm hmaykhwamthung karaekhngkhninkarkhwbkhumdnaednaelakarkhwbkhumthangkaremuxnginexechiyklangrahwangxngkvsaelarsesiy dinaednthixyurahwangxinediyaeladinaednswnthirsesiypkkhrxng idaek epxresiy xfkanisthan aelathiebt epnkhwamprarthnakhxngckrwrrdithngsxngxyangmak xngkvsekrngwa karephchiyhnakbrsesiyxacthaihchawxinediymikhwamhwngthicakxkarkbt xnepnkhwamthathaytxkarpkkhrxngxananikhmkhxngxngkvs inkhwamsakhy khux xngkvsmiepahmaythicakn xiththiphlkhxngrsesiycakchayaednxinediykhxngxngkvs inxikthanghnung rsesiyexngktxngkardinaednephimetimthangphrmaedntxnit khux xfkanisthan aelaklwkarkhyaydinaednkhxngxngkvsmayngxananikhmkhxngtn yingipkwann inkhriststwrrsthi 20 idekidpraednpyhaihmkhun aelaidsngphlkrathbxyangmaktxthangkarxngkvs emux kratunihrksakhwammnkhngkhxngnamnintawnxxkklangkhxngxngkvs niepnephiyngbangswnkhxngpraednethann aelathaihxngkvswangtwepnklangthangkarthuttxthukthathikhxngrsesiy karichyuththwithithikhlaykhlungkbkarrwmesrsthkickhxngtnekhakbxihran xngkvsidrwbrwmthiebtekhasukarpkkhrxngodykarrukrankhrngaerkinpi kh s 1903 caknnidthaihthiebtepnkhukha sungidthaihthiebtaebkpharahnimhasalaelaidthaihxngkvsmixanacephimkhunxyangmak thungaemwachatimhaxanacthngsxngtangkhlikeliyngsngkhramxyangepidephy edxaekrtekm kidsrangkhwamesiyhathangkaremuxngaekxngkvsaelarsesiyimmakknxy xyangirktam cakkhwamrungeruxngkhxngeyxrmniinchwngtnstwrrsthi 20 thaihmhaxanacthngsxngphbwacaepnpraoychnaektnthicatklngprxngdxngaelathaihekidkhunxyangepnthangkar khwamkhdaeyngxntungekhriydxyangechn edxaekrtekm idkidkhwangfayitrphakhiinkarephchiyhnakbeyxrmniaelahlngidrbchychnainsngkhramolkkhrngthihnung khwamrungeruxngkhxngeyxrmni emuxwnthi 20 phvsphakhm kh s 1882 eyxrmnilngnamekhaepnitrphnthmitrkbxitaliaelaxxsetriy hngkari thaiheyxrmnikawekhasuewthiolkcakkarphthnaxutsahkrrm sngkhmaelakaremuxng yingipkwann eyxrmniephimraycaythangthharxyangmaknbtngaetchwngtnkhristthswrrs 1900 cnkrathngkarpathukhxngsngkhramolkkhrngthihnung phayitckrwrrdi prsesiy eyxrmn ihmni rthbaleyxrmnidthanganephuxephimkhwammngkhngkhxngchatiaelabrrlucudsungsudkhxngxanaceyxrmn inkhnathixngkvsaelarsesiykalngekhluxbaekhlngkbcudprasngkhinkaraephxanackhxngeyxrmni smachikkhxngitrphnthmitrthilachatiexngkidthukkhukkhamcakyuththwithinoybaytangpraethsechingrukkhxngxngkvsaelarsesiy aelakhwammngkhngcakxananikhmkhxngtn dwyehtuni karkhyaydinaednaelathharkhxngcungepnkuyaeckhxngeyxrmnithicathaihtnexngmibthbathhlkinewthixanacrahwangpraeths tawnxxkklangkhxngeyxrmnitkxyuinsthanaepnrxng sungmikhwamsakhynxykwasahrbnoybayhlkkhxngeyxrmnitxyuorpaelaxemrika tlxdchwngplaykhriststwrrsthi 19 aelatnkhriststwrrsthi 20 inkhnathimikhwamsakhyepnrxng aetmnidepnekhruxngmuxthithukichcdkarkhwamphyayamkhxngtawnxxkklangthicaihxanactawntktxsuknexng ebxrlinidaethrksumckrwrrdixxtotmnxyangsnti aelamikhwamprarthnaxananikhminphumiphakhninxy pyhainxihran inpi kh s 1905 kickrrmkarptiwtiidaephrkhyaytwxihran odymikarbibbngkhbihchahyxmrbrththrrmnuy xnuyatihcdtng smchchyarthspha aelacdkareluxktng hwickhxngkarptiwtimiepahmaytlxdkal sungidsrangkhwamaetkrawinhmunkbwchinkhxidepriybkhxngrachathipity thngxngkvsaelarsesiytangkimrbrxngkarcdkarthangkaremuxngesrixnimmiesthiyrphaphni thngsxngtangkar hunechid thimiesthiyrphaph xyangechnrthbalthiidrbkhwamyinyxmcaktangchatiaelathanganiddikbepahmayinkarkhyayxanackhxngphwkekha ephuxthicathaihsthankarninxihransadwkkhun rsesiyaelaxngkvsidphudkhuyknthicaaebngaeykxihranxxkepnsamswn khxtklngthiphwkekhatxngkarnncaaebngxihranxxkepnthangehnux rwmipthungexsfahan ihaekrsesiy thangtawnxxkechiyngit odyechphaaxyangying aela ihaekxngkvs swndinaednthiehluxihpkekhtihepn ekhtepnklang khxngthngsxng karaebngxihrankhrngniidthaihkarkhwbkhumphlpraoychnthangdinaednaelathangesrsthkicinxihrankhxngthngsxngmnkhngyingkhun echnediywkbkarekhaaethrkaesngrabbkaremuxngxihran cakxiththiphlcaktangchati karptiwtithukbibcaknkekhluxnihwyuorpaelafayniymrachathipityxnusyyaxnusyyaxngkvs rsesiyidkahndenguxnikhdngtxipni epxresiycathukaebngxxkepnsamswn swnkhxngrsesiythangtxnehnux swnkhxngxngvsthangtawnxxkechiyngit aeladinaednthiehluxihepnekhtknchnthiepnklang xngkvscatxngimaeswnghadinaednephimetim rsesiycatxngthatamaenwptibtikhx 2 inthangklbkn xfkanisthanepnrthinxarkkhakhxngxngkvsaelaihrsesiyyutikarsuxsarid kbecakhrxngnkhrxangxingAnglo French Entente Entente Cordiale 1904 thung Ausgleichhnngsuxxanephimetim The Recent Anglo Russian Convention The American Journal of International Law 1907 pp 979 984 online Abrahamiam Ervand A History of Modern Iran 2008 Adelson Roger London and the Invention of the Middle East Money Power and War 1902 1922 St Edmundsbury Press 1995 Churchill Platt Rogers The Anglo Russian Convention of 1907 1939 Habberton William Anglo Russian Relations Concerning Afghanistan 1837 1907 U of Illinois 1937 Klein Ira 1971 The Anglo Russian Convention and the Problem of Central Asia 1907 1914 Journal of British Studies 11 1 126 147 doi 10 1086 385621 JSTOR 175041 Langer William L 1929 Russia the Straits Question and the European Powers 1904 8 The English Historical Review 44 173 59 85 doi 10 1093 ehr XLIV CLXXIII 59 JSTOR 552495 Mahajan Sneh British foreign policy 1874 1914 The role of India Routledge 2003 Palmer A W The Anglo Russian Entente History Today Nov 1957 7 11 pp 748 754 Sicker Martin The Bear and the Lion Soviet Imperialism and Iran Praeger Publishers 1988 Siegel Jennifer Endgame Britain Russia and the Final Struggle for Central Asia New York I B Tauris 2002 Soroka Marina Britain Russia and the Road to the First World War The Fateful Embassy of Count Aleksandr Benckendorff 1903 16 Routledge 2016 Tomaszewski Fiona K A Great Russia Russia and the Triple Entente Greenwood Publishing Group 2002 Williams Beryl J The Strategic Background to the Anglo Russian Entente of August 1907 Historical Journal 9 3 1966 360 73 online aehlngkhxmulxunlibrary website The Anglo Russian Entente