คตินิยมนักวิชาการ (อังกฤษ: technocracy) เป็นระบอบการปกครองซึ่งวิทยาศาสตร์จะมีอยู่ในการควบคุมการตัดสินใจทั้งหมด นักวิทยาศาสตร์ วิศวกรและนักเทคโนโลยีผู้มีความรู้ ความชำนาญหรือทักษะจะก่อตัวเป็นองค์การปกครอง แทนนักการเมือง นักธุรกิจและนักเศรษฐศาสตร์ ในคตินิยมนักวิชาการ ผู้ตัดสินใจจะถูกเลือกโดยดูจากความรู้และทักษะที่พวกเขามีในสาขาของตน
คำว่า "คตินิยมนักวิชาการ" นี้ เดิมทีใช้เรียกการใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาสังคม ซึ่งต่างไปจากการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีทางเศรษฐกิจ การเมืองหรือปรัชญาแบบเก่า ตามผู้เสนอมโนทัศน์นี้ บทบาทของเงินและคุณค่าทางเศรษฐกิจ ความเห็นทางการเมืองและกลไกการควบคุมซึ่งยึดมั่นในศีลธรรมจะถูกตัดทิ้งไปทั้งหมด หากเมื่อรูปแบบการควบคุมทางสังคมนี้ได้ถูกนำไปใช้ในพื้นที่แห่งทวีป ซึ่งมีทรัพยากรธรรมชาติเพียงพอ บุคลากรซึ่งถูกฝึกทางเทคนิค และสินค้าอุตสาหกรรมที่ติดตั้งแล้ว เพื่อที่จะเปิดให้การผลิตและการแจกจ่ายสินค้าและบริการทางภายภาพแก่พลเมืองแห่งทวีปทั้งหมดในปริมาณที่เกินความสามารถทางกายของปัจเจกบุคคลจะบริโภคได้ ในการจัดเตรียมเช่นนัน ความกังวลจะเป็นเรื่องความยั่งยืนภายในฐานทรัพยากร แทนที่จะเป็นการได้ประโยชน์ทางการเงิน เพื่อที่จะรับประกันให้หน้าที่ทางสังคม-อุตสาหกรรมทั้งหมดดำเนินต่อไปในอนาคตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทักษะทางเทคนิคและความเป็นผู้นำจะถูกเลือกบนพื้นฐานของความรู้และสมรรถนะทางวิชาการ มากกว่าการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย โดยผู้ไม่มีความรู้หรือทักษะเช่นนั้นซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็น
บางคนใช้คำว่า คตินิยมนักวิชาการ หมายถึงรูปแบบหนึ่งของคุณธรรมนิยม (meritocracy) ซึ่งเป็นระบบที่ "ผู้มีคุณวุฒิสูงสุด" และผู้ซึ่งตัดสินความสมบูรณ์ของคุณสมบัตินั้นคือคน ๆ เดียวกัน การนำไปใช้อื่นได้ถูกอธิบายว่าไม่เป็นกลุ่มผู้ควบคุมที่เป็นมนุษย์แบบคณาธิปไตย (oligarchy) แต่เป็นเหมือนการบริหารจัดการโดยวิทยาศาสตร์เฉพาะสาขา อย่างเห็นได้ชัดโดยปราศจากอิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์พิเศษ ปัจจุบัน ความหมายของคำว่า คตินิยมนักวิชาการ ได้ขยายไปบ่งชี้การจัดการหรือการบริหารทุกประเภทโดยผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการ ("นักวิชาการ") ในสาขาใด ๆ ไม่เพียงแต่วิทยาศาสตร์กายภาพเท่านั้น และมีการใช้อธิบายรัฐบาลที่รวมผู้เชี่ยวชาญที่ไม่ได้ถูกเลือกตั้งขึ้นที่ระดับรัฐมนตรี
อ้างอิง
- Ernst R. Berndt, (1982).“From Technocracy To Net Energy Analysis: Engineers, Economists And Recurring Energy Theories Of Value”, Studies in Energy and the American Economy, Discussion Paper No. 11, Massachusetts Institute of Technology, Revised September 1982
- (PDF). 1943-04-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-03-31. สืบค้นเมื่อ 2008-05-04.p.35 (p.44 of PDF), p.35 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "BEW8" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-22. สืบค้นเมื่อ 2021-08-14.
- "Who, what, why: what can technocrats achieve that politicians can't?". BBC News. 14 November 2011. สืบค้นเมื่อ 19 February 2012.
- "Technocrats—Minds like machines: Government by experts sounds tempting, especially in a crisis. It can work. But brief stints have the best chances". The Economist. 19 November 2011. สืบค้นเมื่อ 21 February 2012.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khtiniymnkwichakar xngkvs technocracy epnrabxbkarpkkhrxngsungwithyasastrcamixyuinkarkhwbkhumkartdsinicthnghmd nkwithyasastr wiswkraelankethkhonolyiphumikhwamru khwamchanayhruxthksacakxtwepnxngkhkarpkkhrxng aethnnkkaremuxng nkthurkicaelankesrsthsastr inkhtiniymnkwichakar phutdsiniccathukeluxkodyducakkhwamruaelathksathiphwkekhamiinsakhakhxngtn khawa khtiniymnkwichakar ni edimthiicheriykkarichraebiybwithithangwithyasastrinkaraekikhpyhasngkhm sungtangipcakkaraekikhpyhadwywithithangesrsthkic karemuxnghruxprchyaaebbeka tamphuesnxmonthsnni bthbathkhxngenginaelakhunkhathangesrsthkic khwamehnthangkaremuxngaelaklikkarkhwbkhumsungyudmninsilthrrmcathuktdthingipthnghmd hakemuxrupaebbkarkhwbkhumthangsngkhmniidthuknaipichinphunthiaehngthwip sungmithrphyakrthrrmchatiephiyngphx bukhlakrsungthukfukthangethkhnikh aelasinkhaxutsahkrrmthitidtngaelw ephuxthicaepidihkarphlitaelakaraeckcaysinkhaaelabrikarthangphayphaphaekphlemuxngaehngthwipthnghmdinprimanthiekinkhwamsamarththangkaykhxngpceckbukhkhlcabriophkhid inkarcdetriymechnnn khwamkngwlcaepneruxngkhwamyngyunphayinthanthrphyakr aethnthicaepnkaridpraoychnthangkarengin ephuxthicarbpraknihhnathithangsngkhm xutsahkrrmthnghmddaenintxipinxnakhtxyangimmithisinsud thksathangethkhnikhaelakhwamepnphunacathukeluxkbnphunthankhxngkhwamruaelasmrrthnathangwichakar makkwakareluxktngaebbprachathipity odyphuimmikhwamruhruxthksaechnnnsungthuxwaepnsingcaepn bangkhnichkhawa khtiniymnkwichakar hmaythungrupaebbhnungkhxngkhunthrrmniym meritocracy sungepnrabbthi phumikhunwuthisungsud aelaphusungtdsinkhwamsmburnkhxngkhunsmbtinnkhuxkhn ediywkn karnaipichxunidthukxthibaywaimepnklumphukhwbkhumthiepnmnusyaebbkhnathipity oligarchy aetepnehmuxnkarbriharcdkarodywithyasastrechphaasakha xyangehnidchdodyprascakxiththiphlkhxngklumphlpraoychnphiess pccubn khwamhmaykhxngkhawa khtiniymnkwichakar idkhyayipbngchikarcdkarhruxkarbriharthukpraephthodyphuechiywchaythangwichakar nkwichakar insakhaid imephiyngaetwithyasastrkayphaphethann aelamikarichxthibayrthbalthirwmphuechiywchaythiimidthukeluxktngkhunthiradbrthmntrixangxingErnst R Berndt 1982 From Technocracy To Net Energy Analysis Engineers Economists And Recurring Energy Theories Of Value Studies in Energy and the American Economy Discussion Paper No 11 Massachusetts Institute of Technology Revised September 1982 PDF 1943 04 14 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2019 03 31 subkhnemux 2008 05 04 p 35 p 44 of PDF p 35 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux BEW8 hlaykhrngdwyenuxhatangkn khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 04 22 subkhnemux 2021 08 14 Who what why what can technocrats achieve that politicians can t BBC News 14 November 2011 subkhnemux 19 February 2012 Technocrats Minds like machines Government by experts sounds tempting especially in a crisis It can work But brief stints have the best chances The Economist 19 November 2011 subkhnemux 21 February 2012