การเรืองแสงของบรรยากาศ หรือ แสงเรืองบนท้องฟ้า (อังกฤษ: airglow; เรียกอีกอย่างว่า nightglow) เป็นปรากฏการณ์การเปล่งแสงจาง ๆ จากชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์เหมือนรุ้งกินน้ำขนาดยักษ์จำนวนมากซ้อนทับกัน ในกรณีของโลกโดยปกติแล้วชั้นบรรยากาศของโลกมีอยู่ตลอดเวลา แต่สังเกตเห็นได้ยากในเวลากลางวัน ปรากฏการณ์ทางแสงนี้ทำให้ท้องฟ้ายามค่ำคืนไม่เคยมืดสนิท แสงเรืองบนท้องฟ้านี้เห็นได้ชัดกว่าในเวลากลางคืนโดยเฉพาะเมื่อเกิดการรบกวนของชั้นบรรยากาศ เช่น พายุที่กำลังเคลื่อนตัวใกล้เข้ามา การกระเพื่อมของชั้นบรรยากาศโลกทำให้เกิดจากการสั่นในอากาศในลักษณะของคลื่น คล้ายกับเมื่อเราโยนหินลงในน้ำนิ่งและเกิดเป็นคลื่นกระจายออกไปโดยรอบ และทำให้เห็นแสงเรืองบนท้องฟ้าได้ชัดเจนขึ้นเป็นริ้ว ๆ
ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นจากแก๊สที่มีแสงสว่างในตัวเอง และไม่มีความสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของโลกและจุดมืดดวงอาทิตย์ รัศมีสีแดงที่มองเห็นเกิดขึ้นจากโมเลกุลไฮดรอกซิลในชั้นบรรยากาศ ที่อยู่สูงประมาณ 87 กิโลเมตร และถูกกระตุ้นด้วยแสงอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ ในขณะที่แสงสีส้มและสีเขียวนั้นเกิดจากโซเดียมและอะตอมของออกซิเจนที่อยู่สูงขึ้นไปอีกเล็กน้อย
ประวัติ
ปรากฏการณ์การเรืองแสงของบรรยากาศได้รับการระบุครั้งแรกในปี ค.ศ. 1868 โดยอันเดิช อ็องสเตริม (Anders Ångström) นักฟิสิกส์ชาวสวีเดน ตั้งแต่นั้นมามีการศึกษาในห้องปฏิบัติการและสังเกตปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ จากการปล่อยพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ นักวิทยาศาสตร์ได้ระบุกระบวนการบางอย่างที่อาจปรากฏในชั้นบรรยากาศของโลก และนักดาราศาสตร์ได้ตรวจสอบแล้วว่ามีการปลดปล่อยดังกล่าว ไซมอน นิวคอมบ์ (Simon Newcomb) เป็นคนแรกที่สังเกตการเรืองแสงในอากาศ ในปี ค.ศ. 1901
ลักษณะ
การเรืองแสงของบรรยากาศเกิดจากกระบวนการต่าง ๆ ในชั้นบรรยากาศชั้นบนของโลก เช่น การรวมตัวกันของอะตอมจากโดยแสงจากดวงอาทิตย์ในตอนกลางวัน, การเรืองแสงที่เกิดจากรังสีคอสมิกที่กระทบกับบรรยากาศชั้นบน และเคมีเรืองแสงซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากออกซิเจนและไนโตรเจนทำปฏิกิริยากับอนุมูลอิสระของไฮดรอกซิลที่ความสูงกว่าร้อยกิโลเมตร ซึ่งในช่วงกลางวันจะมองไม่เห็นการเรืองแสงเนื่องจากแสงจ้าและอาทิตย์
การเรืองแสงของบรรยากาศมีผลต่อการจำกัดของของหอสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน แม้ว่าจะมีขนาดและคุณภาพที่ดีที่สุดก็ตาม ด้วยเหตุนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้การสังเกตวัตถุที่มีความสว่างน้อยกว่า (ในช่วงความยาวคลื่นที่ตามองเห็น) จำเป็นต้องอาศัยกล้องโทรทรรศน์อวกาศอย่างฮับเบิล
การเรืองแสงในตอนกลางคืนอาจสว่างเพียงพอที่ผู้สังเกตการณ์ภาคพื้นดินจะสังเกตเห็น โดยทั่วไปแล้วจะปรากฏเป็นสีน้ำเงิน แม้ว่าการแผ่รังสีของการเรืองแสงของบรรยากาศจะค่อนข้างสม่ำเสมอทั่วทั้งบรรยากาศ แต่บริเวณที่สว่างที่สุดมักอยู่ในตำแหน่งเหนือขอบฟ้าของผู้สังเกตประมาณ 10° เนื่องจากมุมมองที่ยิ่งต่ำลง จะมองผ่านที่ยิ่งหนามากขึ้น แต่กระนั้นการมองมุมที่ต่ำมากเกินไปจะลดความสว่างของการเรืองแสงของบรรยากาศลง จากการสูญหายในบรรยากาศที่ระดับต่ำ
กลไกหนึ่งของการก่อตัวของการเรืองแสงในบรรยากาศ คือ เมื่ออะตอมของไนโตรเจนรวมกับอะตอมของออกซิเจนเพื่อสร้างโมเลกุลของไนตริกออกไซด์ (NO) ในกระบวนการนี้จะมีการปล่อยโฟตอน โฟตอนนี้อาจมีลักษณะความยาวคลื่นที่แตกต่างกันหลายแบบของโมเลกุลไนตริกออกไซด์ อะตอมอิสระของไนโตรเจน (N) และออกซิเจน (O) เหล่านี้ในกระบวนการสร้างโมเลกุลของไนตริกออกไซด์นี้ เกิดจากโมเลกุลของไนโตรเจน (N2) และออกซิเจน (O2) ที่แตกตัวโดยพลังงานแสงอาทิตย์ที่บริเวณชั้นนอกสุดของบรรยากาศ และจับรวมกันในรูปไนตริกออกไซด์ (NO) สารเคมีอื่น ๆ ที่สามารถทำให้อากาศเรืองแสงได้ในบรรยากาศ ได้แก่ ไฮดรอกซิล (OH), อะตอมของออกซิเจน (O), โซเดียม (Na) และลิเทียม (Li)
โดยทั่วไป ความสว่างของท้องฟ้าจะวัดเป็นหน่วยของความส่องสว่างปรากฏต่อตารางพิลิปดาของท้องฟ้า
การคำนวณ
ในการคำนวณความเข้มสัมพัทธ์ของการเรืองแสงของบรรยากาศ จำเป็นต้องแปลงความส่องสว่างปรากฏเป็นฟลักซ์ของโฟตอน ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับสเปกตรัมของแหล่งที่มาของแสง แต่ในการคำนวณจะละเว้นแหล่งที่มาของแสงในเบื้องต้น
ที่ช่วงความยาวคลื่นที่มนุษย์มองเห็นได้ เราต้องใช้พารามิเตอร์ S0(V) คือ กำลังต่อตารางเซนติเมตรของรูรับแสง และต่อไมโครเมตรของความยาวคลื่นที่เกิดจากดาวฤกษ์ขนาดศูนย์ เพื่อแปลงขนาดปรากฏเป็นฟลักซ์ – S0(V) = 4.0×10−12 W cm−2 µm−1. โดยหากเรายกตัวอย่างดาวที่มีค่า V = 28 ที่สังเกตได้ผ่านฟิลเตอร์ V band ปกติ (B = 0.2 µm bandpass, ความถี่ ν ≈ 6×1014 Hz) จำนวนโฟตอนที่ได้รับต่อตารางเซนติเมตรของรูรับแสงของกล้องโทรทรรศน์ต่อวินาทีจากแหล่งที่มา คือ Ns ดังนี้
(โดยที่ h คือค่าคงตัวของพลังค์; hν คือ พลังงานของโฟตอนเดี่ยว ที่ ความถี่ ν)
ที่ ความถี่ V การเปล่งแสงเรืองของบรรยากาศ คือ V = 22 ต่อตารางพิลิปดา ณ หอสังเกตการณ์ภาคพื้นดินที่อยู่สูงมากเหนือระดับน้ำทะเลและในคืนที่ไร้แสงจันทร์ ในสภาพการมองเห็นที่ดีเยี่ยมนี้ ภาพของดาวฤกษ์จะมีขนาดประมาณ 0.7 พิลิปดา ในพื้นที่ 0.4 ตารางพิลิปดา ดังนั้นการแผ่รังสีจากแสงเหนือพื้นที่ของภาพจะเท่ากับประมาณ V = 23 ซึ่งจะสามารถคำนวณจำนวนโฟตอนจากการเรืองแสงของบรรยากาศ คือ Na ดังนี้
ค่าอัตราส่วนระหว่างสัญญาณกับสัญญาณรบกวน (S/N) สำหรับการสังเกตการณ์ภาคพื้นดินในอุดมคติด้วยกล้องโทรทรรศน์พื้นที่ A (โดยละเว้นการสูญเสียและสัญญาณรบกวนของเครื่องตรวจจับ) ที่เกิดจากสถิติ คือ
หากเราใช้กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินในอุดมคติที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 เมตร เพื่อสังเกตดาวฤกษ์ที่ยังไม่ได้รับการระบุชื่อ ในพื้นที่ขนาดเท่ากับภาพขยายของดาวฤกษ์นั้น ในทุก ๆ วินาที จะพบว่ามีโฟตอน 35 ตัวมาจากดาวฤกษ์ และ 3500 ตัวมาจากการเรืองแสงในบรรยากาศ ดังนั้นในช่วงหนึ่งชั่วโมง ประมาณ 1.3×107 มาจากการเรืองแสงของบรรยากาศ และประมาณ 1.3×105 มาจากแหล่งกำเนิด (ดาวฤกษ์ที่สังเกต) ดังนั้นอัตราส่วน S/N จึงมีค่าประมาณ:
เราสามารถเปรียบเทียบการคำนวณนี้กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง จากเครื่องคำนวณเวลาเปิดรับแสง โดยสำหรับเวรีลาร์จเทลิสโกป ที่ขนาด 8 เมตร ตามเครื่องคำนวณเวลาเปิดรับแสงของ FORS ต้องใช้เวลาในการสังเกต 40 ชั่วโมงจึงจะถึงค่า V = 28 ในขณะที่ฮับเบิลที่มีเพียงขนาด 2.4 เมตร ใช้เวลาเพียง 4 ชั่วโมงตามเครื่องคำนวณเวลาเปิดรับแสง ACS และโดยสมมุติฐานหากกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลมีขนาด 8 เมตรจะใช้เวลาประมาณ 30 นาที
ควรเข้าใจให้ชัดเจนในการคำนวณนี้ว่า การลดขนาดช่องมองภาพของกล้องโทรทรรศน์สามารถทำให้วัตถุที่จางลงสามารถได้รับตรวจจับได้ง่ายขึ้นจากการหลีกเลี่ยงการเรืองแสงของบรรยากาศได้ดีกว่า แต่น่าเสียดายที่เทคนิค ที่ช่วยลดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของช่องมองภาพของกล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลกยังใช้งานได้เฉพาะในย่านความถี่อินฟราเรดในขณะที่ท้องฟ้าสว่างกว่ามาก กล้องโทรทรรศน์อวกาศไม่ได้ถูกจำกัดโดยขนาดช่องมอง เนื่องจากไม่ได้รับผลกระทบจากแสงจ้า
การเรืองแสงของบรรยากาศจากการเหนี่ยวนำ
มีการทดลองทางวิทยาศาสตร์เพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดการเรืองแสงของบรรยากาศ โดยการปล่อยคลื่นวิทยุกำลังสูงที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ของโลก โดยที่ความยาวคลื่นเฉพาะเจาะจงและภายใต้เงื่อนไขบางประการ คลื่นวิทยุเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กับไอโอโนสเฟียร์เพื่อเหนี่ยวนำแสงที่มองเห็นได้แต่จาง ๆ นอกจากนี้ยังสามารถสังเกตผลกระทบได้ในย่านความถี่วิทยุโดยใช้
การสังเกตการเรืองแสงของบรรยากาศบนดาวเคราะห์ดวงอื่น
ยานอวกาศวีนัสเอ็กซ์เพรส (Venus Express) มีเซ็นเซอร์อินฟราเรดซึ่งตรวจจับการปล่อยรังสีย่านอินฟราเรดจากชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ การปล่อยรังสีนี้ (การเรืองแสง) มาจากไนตริกออกไซด์ (NO) และจากโมเลกุลออกซิเจน ก่อนหน้านี้นักวิทยาศาสตร์ได้เคยพบจากการทดสอบในห้องปฏิบัติการว่าในระหว่างการผลิต NO จะเกิดการปล่อยรังสีอัลตราไวโอเลตและรังสีอินฟราเรดใกล้ มีการตรวจพบรังสีอัลตราไวโอเลตจริงในชั้นบรรยากาศ แต่จนถึงภารกิจการสำรวจดาวศุกร์นี้การปล่อยรังสีย่านอินฟราเรดใที่ผลิตโดยบรรยากาศนั้นยังคงเป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น
ระเบียงภาพ
- เฉดสีแดงและสีเขียวที่ส่องสว่างบนท้องฟ้าเกิดจากการเรืองแสงของบรรยากาศ
- การเรืองแสงของบรรยากาศเหนือหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ปารานัล (Paranal Observatory)
- การเรืองแสงของบรรยากาศที่แคว้นโอแวร์ญ (ฝรั่งเศส) เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2015
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "Austrian Software Tools Developed for ESO". www.eso.org. European Southern Observatory. สืบค้นเมื่อ 6 June 2014.
- "การเรืองแสงของบรรยากาศโลก". Dark Sky | เขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืด. 2019-08-13.
- "APOD: 2022 March 13 - Colorful Airglow Bands Surround Milky Way". apod.nasa.gov.
- M. G. J. Minnaert, De natuurkunde van 't vrije veld, Deel 2: Geluid, warmte, elektriciteit. § 248: Het ionosfeerlicht
- Meinel, A. B. (1950). "OH Emission Bands in the Spectrum of the Night Sky I". Astrophysical Journal. 111: 555. Bibcode:1950ApJ...111..555M. doi:10.1086/145296.
- A. B. Meinel (1950). "OH Emission Bands in the Spectrum of the Night Sky II". Astrophysical Journal. 112: 120. Bibcode:1950ApJ...112..120M. doi:10.1086/145321.
- High, F. W.; และคณะ (2010). "Sky Variability in the y Band at the LSST Site". The Publications of the Astronomical Society of the Pacific. 122 (892): 722–730. :1002.3637. Bibcode:2010PASP..122..722H. doi:10.1086/653715. S2CID 53638322.
- Donahue, T. M. (1959). "Origin of Sodium and Lithium in the Upper Atmosphere". Nature. 183 (4673): 1480–1481. Bibcode:1959Natur.183.1480D. doi:10.1038/1831480a0. S2CID 4276462.
- High Energy Astrophysics: Particles, Photons and Their Detection Vol 1, Malcolm S. Longair, ISBN
- . E.V. Mishin et al., Vol. 32, L23106, doi:10.1029/2005GL023864, 2005
- NRL HAARP Overview 5 มีนาคม 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. .
- Garcia Munoz, A.; Mills, F. P.; Piccioni, G.; Drossart, P. (2009). "The near-infrared nitric oxide nightglow in the upper atmosphere of Venus". Proceedings of the National Academy of Sciences. 106 (4): 985–988. Bibcode:2009PNAS..106..985G. doi:10.1073/pnas.0808091106. ISSN 0027-8424. PMC 2633570. PMID 19164595.
- Piccioni, G.; Zasova, L.; Migliorini, A.; Drossart, P.; Shakun, A.; García Muñoz, A.; Mills, F. P.; Cardesin-Moinelo, A. (1 May 2009). "Near-IR oxygen nightglow observed by VIRTIS in the Venus upper atmosphere". Journal of Geophysical Research: Planets. 114 (E5): E00B38. Bibcode:2009JGRE..114.0B38P. doi:10.1029/2008je003133. ISSN 2156-2202.
- Wilson, Elizabeth (2009). "PLANETARY SCIENCE Spectral band in Venus' 'nightglow' allows study of NO, O". Chemical & Engineering News. 87 (4): 11. doi:10.1021/cen-v087n004.p011a. ISSN 0009-2347.
- "La Silla's Great Dane". www.eso.org. สืบค้นเมื่อ 26 March 2018.
- "Anything But Black". www.eso.org. สืบค้นเมื่อ 20 September 2016.
ลิ้งค์ภายนอก
- ภาพและคำอธิบายอื่น ๆ
- คำสัมภาษณ์เกี่ยวการค้นพบการเรืองแสงของบรรยากาศของดาวอังคาร
- An improved signal-to-noise ratio of a cool imaging photon detector for Fabry - Perot interferometer measurements of low-intensity air glow by T P Davies and P L Dyson
- Space Telescope Imaging Spectrograph Instrument Handbook for Cycle 13
- SwissCube| The first Swiss Satellite
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kareruxngaesngkhxngbrryakas hrux aesngeruxngbnthxngfa xngkvs airglow eriykxikxyangwa nightglow epnpraktkarnkareplngaesngcang cakchnbrryakaskhxngdawekhraahehmuxnrungkinnakhnadykscanwnmaksxnthbkn inkrnikhxngolkodypktiaelwchnbrryakaskhxngolkmixyutlxdewla aetsngektehnidyakinewlaklangwn praktkarnthangaesngnithaihthxngfayamkhakhunimekhymudsnith aesngeruxngbnthxngfaniehnidchdkwainewlaklangkhunodyechphaaemuxekidkarrbkwnkhxngchnbrryakas echn phayuthikalngekhluxntwiklekhama karkraephuxmkhxngchnbrryakasolkthaihekidcakkarsninxakasinlksnakhxngkhlun khlaykbemuxeraoynhinlnginnaningaelaekidepnkhlunkracayxxkipodyrxb aelathaihehnaesngeruxngbnthxngfaidchdecnkhunepnriw kareruxngaesngkhxngbrryakas ehnuxaethnkhxngewrilarcethlisokpkareruxngaesngkhxngbrryakas emuxmxngodyichklxngsumrurbaesngsungcaksthanixwkasnanachati khnaokhcrxyuehnuxaexfrikait khwamsungkhxngaethbxxksiecnaelaosediyminaethbnixyuthipraman 110 140 kiolemtr iklaenwesnkharmn praktkarnniekidkhuncakaeksthimiaesngswangintwexng aelaimmikhwamsmphnthkbsnamaemehlkkhxngolkaelacudmuddwngxathity rsmisiaedngthimxngehnekidkhuncakomelkulihdrxksilinchnbrryakas thixyusungpraman 87 kiolemtr aelathukkratundwyaesngxltraiwoxeltcakdwngxathity inkhnathiaesngsismaelasiekhiywnnekidcakosediymaelaxatxmkhxngxxksiecnthixyusungkhunipxikelknxyprawtikareruxngaesngkhxngbrryakas thiaekhwnoxaewry frngess emuxwnthi 13 singhakhm kh s 2015 praktkarnkareruxngaesngkhxngbrryakasidrbkarrabukhrngaerkinpi kh s 1868 odyxnedich xxngsetrim Anders Angstrom nkfisikschawswiedn tngaetnnmamikarsuksainhxngptibtikaraelasngektptikiriyaekhmitang cakkarplxyphlngnganaemehlkiffasungsnnisthanwaepnswnhnungkhxngkrabwnkar nkwithyasastridrabukrabwnkarbangxyangthixacpraktinchnbrryakaskhxngolk aelankdarasastridtrwcsxbaelwwamikarpldplxydngklaw ismxn niwkhxmb Simon Newcomb epnkhnaerkthisngektkareruxngaesnginxakas inpi kh s 1901lksnaekhluxnphanhlngaesngeruxnginbrryakaskhxngolkemuxwnthi 22 thnwakhm kh s 2011 thaycaksthanixwkasnanachati ISS kareruxngaesngkhxngbrryakasekidcakkrabwnkartang inchnbrryakaschnbnkhxngolk echn karrwmtwknkhxngxatxmcakodyaesngcakdwngxathityintxnklangwn kareruxngaesngthiekidcakrngsikhxsmikthikrathbkbbrryakaschnbn aelaekhmieruxngaesngsungswnihyekidcakxxksiecnaelainotrecnthaptikiriyakbxnumulxisrakhxngihdrxksilthikhwamsungkwarxykiolemtr sunginchwngklangwncamxngimehnkareruxngaesngenuxngcakaesngcaaelaxathity kareruxngaesngkhxngbrryakasmiphltxkarcakdkhxngkhxnghxsngektkarnphakhphundin aemwacamikhnadaelakhunphaphthidithisudktam dwyehtuniepnswnhnungthithaihkarsngektwtthuthimikhwamswangnxykwa inchwngkhwamyawkhlunthitamxngehn caepntxngxasyklxngothrthrrsnxwkasxyanghbebil kareruxngaesngintxnklangkhunxacswangephiyngphxthiphusngektkarnphakhphundincasngektehn odythwipaelwcapraktepnsinaengin aemwakaraephrngsikhxngkareruxngaesngkhxngbrryakascakhxnkhangsmaesmxthwthngbrryakas aetbriewnthiswangthisudmkxyuintaaehnngehnuxkhxbfakhxngphusngektpraman 10 enuxngcakmummxngthiyingtalng camxngphanthiyinghnamakkhun aetkrannkarmxngmumthitamakekinipcaldkhwamswangkhxngkareruxngaesngkhxngbrryakaslng cakkarsuyhayinbrryakasthiradbta klikhnungkhxngkarkxtwkhxngkareruxngaesnginbrryakas khux emuxxatxmkhxnginotrecnrwmkbxatxmkhxngxxksiecnephuxsrangomelkulkhxngintrikxxkisd NO inkrabwnkarnicamikarplxyoftxn oftxnnixacmilksnakhwamyawkhlunthiaetktangknhlayaebbkhxngomelkulintrikxxkisd xatxmxisrakhxnginotrecn N aelaxxksiecn O ehlaniinkrabwnkarsrangomelkulkhxngintrikxxkisdni ekidcakomelkulkhxnginotrecn N2 aelaxxksiecn O2 thiaetktwodyphlngnganaesngxathitythibriewnchnnxksudkhxngbrryakas aelacbrwmkninrupintrikxxkisd NO sarekhmixun thisamarththaihxakaseruxngaesngidinbrryakas idaek ihdrxksil OH xatxmkhxngxxksiecn O osediym Na aelaliethiym Li odythwip khwamswangkhxngthxngfacawdepnhnwykhxngkhwamsxngswangprakttxtarangphilipdakhxngthxngfakarkhanwnkareruxngaesngkhxngbrryakas ehnuxesnkhxbfa thaycaksthanixwkasnanachati ISS source source source source source source source source aesngeruxngbnthxngfaphaphthxngfasxngphaphehnuxorngngan HAARP thikaokhna rthxaaelska odyichekhruxngsrangphaphcakxupkrnthayethpracu CCD thirabaykhwamrxndwy NRL thi 557 7 naonemtr rayakarmxngehnpraman 38 phaphthangsaymuxaesdngchxngdawphunhlngodypidekhruxngsngsyyan HF phaphthangkhwamuxthay 63 winathitxmaodyepidekhruxngsng HF okhrngsrangmikhwamchdecninbriewnthiplxymlphis inkarkhanwnkhwamekhmsmphththkhxngkareruxngaesngkhxngbrryakas caepntxngaeplngkhwamsxngswangpraktepnflkskhxngoftxn thngnitxngkhunxyukbsepktrmkhxngaehlngthimakhxngaesng aetinkarkhanwncalaewnaehlngthimakhxngaesnginebuxngtn thichwngkhwamyawkhlunthimnusymxngehnid eratxngichpharamietxr S0 V khux kalngtxtarangesntiemtrkhxngrurbaesng aelatximokhremtrkhxngkhwamyawkhlunthiekidcakdawvkskhnadsuny ephuxaeplngkhnadpraktepnflks S0 V 4 0 10 12 W cm 2 µm 1 odyhakerayktwxyangdawthimikha V 28 thisngektidphanfiletxr V band pkti B 0 2 µm bandpass khwamthi n 6 1014 Hz canwnoftxnthiidrbtxtarangesntiemtrkhxngrurbaesngkhxngklxngothrthrrsntxwinathicakaehlngthima khux Ns dngni Ns 10 28 2 5 S0 V Bhn displaystyle N s 10 28 2 5 times frac S 0 V times B h nu odythi h khuxkhakhngtwkhxngphlngkh hn khux phlngngankhxngoftxnediyw thi khwamthi n thi khwamthi V kareplngaesngeruxngkhxngbrryakas khux V 22 txtarangphilipda n hxsngektkarnphakhphundinthixyusungmakehnuxradbnathaelaelainkhunthiiraesngcnthr insphaphkarmxngehnthidieyiymni phaphkhxngdawvkscamikhnadpraman 0 7 philipda inphunthi 0 4 tarangphilipda dngnnkaraephrngsicakaesngehnuxphunthikhxngphaphcaethakbpraman V 23 sungcasamarthkhanwncanwnoftxncakkareruxngaesngkhxngbrryakas khux Na dngni Na 10 23 2 5 S0 V Bhn displaystyle N a 10 23 2 5 times frac S 0 V times B h nu khaxtraswnrahwangsyyankbsyyanrbkwn S N sahrbkarsngektkarnphakhphundininxudmkhtidwyklxngothrthrrsnphunthi A odylaewnkarsuyesiyaelasyyanrbkwnkhxngekhruxngtrwccb thiekidcaksthiti khux S N A NsNs Na displaystyle S N sqrt A times frac N s sqrt N s N a hakeraichklxngothrthrrsnphakhphundininxudmkhtithimiesnphansunyklang 10 emtr ephuxsngektdawvksthiyngimidrbkarrabuchux inphunthikhnadethakbphaphkhyaykhxngdawvksnn inthuk winathi caphbwamioftxn 35 twmacakdawvks aela 3500 twmacakkareruxngaesnginbrryakas dngnninchwnghnungchwomng praman 1 3 107 macakkareruxngaesngkhxngbrryakas aelapraman 1 3 105 macakaehlngkaenid dawvksthisngekt dngnnxtraswn S N cungmikhapraman 1 3 1051 3 107 36 displaystyle frac 1 3 times 10 5 sqrt 1 3 times 10 7 approx 36 erasamarthepriybethiybkarkhanwnnikbsingthiekidkhuncring cakekhruxngkhanwnewlaepidrbaesng odysahrbewrilarcethlisokp thikhnad 8 emtr tamekhruxngkhanwnewlaepidrbaesngkhxng FORS txngichewlainkarsngekt 40 chwomngcungcathungkha V 28 inkhnathihbebilthimiephiyngkhnad 2 4 emtr ichewlaephiyng 4 chwomngtamekhruxngkhanwnewlaepidrbaesng ACS aelaodysmmutithanhakklxngothrthrrsnhbebilmikhnad 8 emtrcaichewlapraman 30 nathi khwrekhaicihchdecninkarkhanwnniwa karldkhnadchxngmxngphaphkhxngklxngothrthrrsnsamarththaihwtthuthicanglngsamarthidrbtrwccbidngaykhuncakkarhlikeliyngkareruxngaesngkhxngbrryakasiddikwa aetnaesiydaythiethkhnikh thichwyldkhnadesnphansunyklangkhxngchxngmxngphaphkhxngklxngothrthrrsnbnphunolkyngichnganidechphaainyankhwamthixinfraerdinkhnathithxngfaswangkwamak klxngothrthrrsnxwkasimidthukcakdodykhnadchxngmxng enuxngcakimidrbphlkrathbcakaesngcakareruxngaesngkhxngbrryakascakkarehniywnaphaphthayeruxngaesngkhxngolkaerkkhxng SwissCube 1 epliyncakkhwamthiiklxinfraerdepnsiekhiyw emuxwnthi 3 minakhm kh s 2011 mikarthdlxngthangwithyasastrephuxehniywnaihekidkareruxngaesngkhxngbrryakas odykarplxykhlunwithyukalngsungthibrryakaschnixoxonsefiyrkhxngolk odythikhwamyawkhlunechphaaecaacngaelaphayitenguxnikhbangprakar khlunwithyuehlanimiptismphnthkbixoxonsefiyrephuxehniywnaaesngthimxngehnidaetcang nxkcakniyngsamarthsngektphlkrathbidinyankhwamthiwithyuodyichkarsngektkareruxngaesngkhxngbrryakasbndawekhraahdwngxunyanxwkaswinsexksephrs Venus Express miesnesxrxinfraerdsungtrwccbkarplxyrngsiyanxinfraerdcakchnbrryakaskhxngdawsukr karplxyrngsini kareruxngaesng macakintrikxxkisd NO aelacakomelkulxxksiecn kxnhnaninkwithyasastridekhyphbcakkarthdsxbinhxngptibtikarwainrahwangkarphlit NO caekidkarplxyrngsixltraiwoxeltaelarngsixinfraerdikl mikartrwcphbrngsixltraiwoxeltcringinchnbrryakas aetcnthungpharkickarsarwcdawsukrnikarplxyrngsiyanxinfraerdithiphlitodybrryakasnnyngkhngepnephiyngthvsdiethannraebiyngphaphechdsiaedngaelasiekhiywthisxngswangbnthxngfaekidcakkareruxngaesngkhxngbrryakas kareruxngaesngkhxngbrryakasehnuxhxsngektkarndarasastrparanl Paranal Observatory kareruxngaesngkhxngbrryakasthiaekhwnoxaewry frngess emuxwnthi 13 singhakhm kh s 2015duephimaesngolk xxorra aesngckrrasixangxing Austrian Software Tools Developed for ESO www eso org European Southern Observatory subkhnemux 6 June 2014 kareruxngaesngkhxngbrryakasolk Dark Sky ekhtxnurksthxngfamud 2019 08 13 APOD 2022 March 13 Colorful Airglow Bands Surround Milky Way apod nasa gov M G J Minnaert De natuurkunde van t vrije veld Deel 2 Geluid warmte elektriciteit 248 Het ionosfeerlicht Meinel A B 1950 OH Emission Bands in the Spectrum of the Night Sky I Astrophysical Journal 111 555 Bibcode 1950ApJ 111 555M doi 10 1086 145296 A B Meinel 1950 OH Emission Bands in the Spectrum of the Night Sky II Astrophysical Journal 112 120 Bibcode 1950ApJ 112 120M doi 10 1086 145321 High F W aelakhna 2010 Sky Variability in the y Band at the LSST Site The Publications of the Astronomical Society of the Pacific 122 892 722 730 1002 3637 Bibcode 2010PASP 122 722H doi 10 1086 653715 S2CID 53638322 Donahue T M 1959 Origin of Sodium and Lithium in the Upper Atmosphere Nature 183 4673 1480 1481 Bibcode 1959Natur 183 1480D doi 10 1038 1831480a0 S2CID 4276462 High Energy Astrophysics Particles Photons and Their Detection Vol 1 Malcolm S Longair ISBN 0 521 38773 6 E V Mishin et al Vol 32 L23106 doi 10 1029 2005GL023864 2005 NRL HAARP Overview 5 minakhm 2009 thi ewyaebkaemchchin Garcia Munoz A Mills F P Piccioni G Drossart P 2009 The near infrared nitric oxide nightglow in the upper atmosphere of Venus Proceedings of the National Academy of Sciences 106 4 985 988 Bibcode 2009PNAS 106 985G doi 10 1073 pnas 0808091106 ISSN 0027 8424 PMC 2633570 PMID 19164595 Piccioni G Zasova L Migliorini A Drossart P Shakun A Garcia Munoz A Mills F P Cardesin Moinelo A 1 May 2009 Near IR oxygen nightglow observed by VIRTIS in the Venus upper atmosphere Journal of Geophysical Research Planets 114 E5 E00B38 Bibcode 2009JGRE 114 0B38P doi 10 1029 2008je003133 ISSN 2156 2202 Wilson Elizabeth 2009 PLANETARY SCIENCE Spectral band in Venus nightglow allows study of NO O Chemical amp Engineering News 87 4 11 doi 10 1021 cen v087n004 p011a ISSN 0009 2347 La Silla s Great Dane www eso org subkhnemux 26 March 2018 Anything But Black www eso org subkhnemux 20 September 2016 lingkhphaynxkwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kareruxngaesngkhxngbrryakas phaphaelakhaxthibayxun khasmphasnekiywkarkhnphbkareruxngaesngkhxngbrryakaskhxngdawxngkhar An improved signal to noise ratio of a cool imaging photon detector for Fabry Perot interferometer measurements of low intensity air glow by T P Davies and P L Dyson Space Telescope Imaging Spectrograph Instrument Handbook for Cycle 13 SwissCube The first Swiss Satellite