ในวิชากลศาสตร์และฟิสิกส์ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (อังกฤษ: simple harmonic motion : SHM) หมายถึง การเคลื่อนที่โดยที่วัตถุจะเคลื่อนที่ตามเส้นทางเดิมกลับมาเริ่มต้นที่เดิมซ้ำแล้วซ้ำอีก ผ่านจุดสมดุล เป็นประเภทหนึ่ง โดยที่แรงดึงกลับแปรผันตรงกับการกระจัด และมีทิศทางตรงข้ามกับการกระจัด
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการเคลื่อนที่หลายอย่าง เช่น การสั่นของสปริง นอกจากนี้ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายยังประมาณปรากฏการณ์อื่นได้ ซึ่งรวมการเคลื่อนที่ของอย่างง่าย ตลอดจน การเคลื่อนที่ของมวลบนสปริงเมื่ออยู่ภายใต้แรงดึงกลับยืดหยุ่นเชิงเส้นตามกฎของฮุกเป็นตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย การเคลื่อนที่นี้มีความถี่พ้องเดียว ในการเกิดการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แรงลัพธ์ของวัตถุที่ปลายลูกตุ้มต้องเท่ากับการกระจัด
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
- แอมพลิจูด (Amplitude) คือ การกระจัดสูงสุดของการเคลื่อนที่วัดจากจุดสมดุลไปยังจุดปลาย หรือบางครั้งเรียกว่า ช่วงกว้างของคลื่น
- คาบ (Period) คือ ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ นับจากจุดปลายด้านหนึ่งไปยังจุดปลายอีกด้านหนึ่ง แล้วเคลื่อนที่กลับมายังจุดปลายเดิม โดยมีหน่วยเป็น วินาที / รอบ หรือ วินาที
- ความถี่ (Frequency) คือ จำนวนรอบบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น รอบ / วินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hz)
- การกระจัด (Displacement) คือ ระยะทางการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่โดยนับจากจุดสมดุล
- ความถี่เชิงมุม (Angular frequency) คือ การกระจัดเชิงมุมที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เรเดียน / วินาที หรือ rad/s
พลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
ในกลศาสตร์นิวตัน สมการการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายอยู่ในรูปของอันดับสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นค่าคงตัว ซึงหาได้จากและกฎของฮุกสำหรับมวลติดสปริง
เมื่อ m คือมวลของวัตถุที่มีการสั่น x คือการกระจัดจากตำแหน่งสมดุล และ k คือค่าคงตัวหรือ (สำหรับมวลติดสปริง)
ดังนั้น
ผลเฉลยของสมการอนุพันธ์นี้จะอยู่ในรูปของฟังก์ชันไซน์ ()
สามารถเขียนให้อยู่ในรูป
เมื่อ
จากผลเฉลยข้างต้น c1 และ c2 คือค่าคงตัวซึ่งกำหนดโดยเงื่อนไขเริ่มต้น และกำหนดให้จุดกำเนิดอยู่ที่ตำแหน่งสมดุล A คือแอมพลิจูด ω = 2πf คือ ความถี่เชิงมุม และ φ คือเฟสเริ่มต้น
ความเร็วและความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายมีค่าเท่ากับ
ความเร็ว:
ความเร็วสูงสุด: v=ωA (ที่จุดสมดุล)
ความเร่งสูงสุด: Aω2 (ที่จุดปลาย)
จากนิยามความเร่งและการกระจัด ถ้ามวล m เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ความเร่งของมวลนั้นจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการกระจัด
เมื่อ
เนื่องจาก ω = 2πf
และเนื่องจาก T = 1f เมื่อ T คือคาบ จะได้ว่า
สมการเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกไม่ขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดและเฟสเริ่มต้นของการเคลื่อนที่
พลังงาน
แทนค่า ω2 ด้วย km พลังงานจลน์ K ของระบบที่เวลา t มีค่าเท่ากับ
และพลังงานศักย์ของระบบมีค่าเท่ากับ
เมื่อไม่มีแรงเสียดทานและไม่มีการสูญเสียพลังงาน ผลรวมของพลังงานกล (mechanical energy) จะมีค่าคงตัว
ตัวอย่าง
ระบบทางฟิสิกส์ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
มวลติดสปริง
มวล m ก้อนหนึ่งติดอยู่กับสปริงที่มีค่าคงที่ของสปริง k อธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายใน
สมการข้างบนนี้แสดงให้เห็นว่าคาบของการแกว่ง T ไม่ขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดและ สมการข้างบนนี้ยังคงใช้ได้เมื่อมีแรงคงที่กระทำต่อมวล กล่าวคือ แรงคงที่ที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ทำให้คาบของการแกว่งเปลี่ยนไป
อ้างอิง
- Walker, Jearl (2011). Principles of Physics (9th ed.). Hoboken, N.J. : Wiley. ISBN .
- Thornton, Stephen T.; Marion, Jerry B. (2003). Classical Dynamics of Particles and Systems (5th ed.). Brooks Cole. ISBN .
- John R Taylor (2005). Classical Mechanics. University Science Books. ISBN .
- Grant R. Fowles; George L. Cassiday (2005). Analytical Mechanics (7th ed.). Thomson Brooks/Cole. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichaklsastraelafisiks karekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay xngkvs simple harmonic motion SHM hmaythung karekhluxnthiodythiwtthucaekhluxnthitamesnthangedimklbmaerimtnthiedimsaaelwsaxik phancudsmdul epnpraephthhnung odythiaerngdungklbaeprphntrngkbkarkracd aelamithisthangtrngkhamkbkarkracd karekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayepnaebbcalxngthangkhnitsastrsahrbkarekhluxnthihlayxyang echn karsnkhxngspring nxkcakni karekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayyngpramanpraktkarnxunid sungrwmkarekhluxnthikhxngxyangngay tlxdcn karekhluxnthikhxngmwlbnspringemuxxyuphayitaerngdungklbyudhyunechingesntamkdkhxnghukepntwxyangkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay karekhluxnthinimikhwamthiphxngediyw inkarekidkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay aernglphthkhxngwtthuthiplayluktumtxngethakbkarkracdprimantang thiekiywkhxngkbkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayaexmphlicud Amplitude khux karkracdsungsudkhxngkarekhluxnthiwdcakcudsmdulipyngcudplay hruxbangkhrngeriykwa chwngkwangkhxngkhlun khab Period khux chwngewlathiwtthuekhluxnthikhrbhnungrxb nbcakcudplaydanhnungipyngcudplayxikdanhnung aelwekhluxnthiklbmayngcudplayedim odymihnwyepn winathi rxb hrux winathi khwamthi Frequency khux canwnrxbbthiwtthuekhluxnthiidinhnunghnwyewla mihnwyepn rxb winathi hrux ehirts Hz karkracd Displacement khux rayathangkarkracdthiwtthuekhluxnthiodynbcakcudsmdul khwamthiechingmum Angular frequency khux karkracdechingmumthiepliynaeplngipinhnunghnwyewla mihnwyepn erediyn winathi hrux rad sphlsastrkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayinklsastrniwtn smkarkarekhluxnthikhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayxyuinrupkhxngxndbsxngthimismprasiththiepnkhakhngtw sunghaidcakaelakdkhxnghuksahrbmwltidspring Fnet md2xdt2 kx displaystyle F mathrm net m frac mathrm d 2 x mathrm d t 2 kx emux m khuxmwlkhxngwtthuthimikarsn x khuxkarkracdcaktaaehnngsmdul aela k khuxkhakhngtwhrux sahrbmwltidspring dngnn d2xdt2 kmx displaystyle frac mathrm d 2 x mathrm d t 2 frac k m x phlechlykhxngsmkarxnuphnthnicaxyuinrupkhxngfngkchnisn x t c1cos wt c2sin wt displaystyle x t c 1 cos left omega t right c 2 sin left omega t right samarthekhiynihxyuinrup x t Acos wt f displaystyle x t A cos left omega t varphi right emux w km A c12 c22 tan f c2c1 displaystyle omega sqrt frac k m qquad A sqrt c 1 2 c 2 2 qquad tan varphi frac c 2 c 1 cakphlechlykhangtn c1 aela c2 khuxkhakhngtwsungkahndodyenguxnikherimtn aelakahndihcudkaenidxyuthitaaehnngsmdul A khuxaexmphlicud w 2pf khux khwamthiechingmum aela f khuxefserimtn khwamerwaelakhwamerngkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngaymikhaethakb v t dxdt Awsin wt f displaystyle v t frac mathrm d x mathrm d t A omega sin omega t varphi khwamerw wA2 x2 displaystyle omega sqrt A 2 x 2 khwamerwsungsud v wA thicudsmdul a t d2xdt2 Aw2cos wt f displaystyle a t frac mathrm d 2 x mathrm d t 2 A omega 2 cos omega t varphi khwamerngsungsud Aw2 thicudplay cakniyamkhwamerngaelakarkracd thamwl m ekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay khwamerngkhxngmwlnncaepnsdswnodytrngkbkarkracd a x w2x displaystyle a x omega 2 x emux w2 km displaystyle omega 2 frac k m enuxngcak w 2pf f 12pkm displaystyle f frac 1 2 pi sqrt frac k m aelaenuxngcak T 1 f emux T khuxkhab caidwa T 2pmk displaystyle T 2 pi sqrt frac m k smkarehlaniaesdngihehnwakarekhluxnthiaebbharmxnikimkhunxyukbaexmphlicudaelaefserimtnkhxngkarekhluxnthiphlngnganaethnkha w2 dwy k m phlngngancln K khxngrabbthiewla t mikhaethakb K t 12mv2 t 12mw2A2sin2 wt f 12kA2sin2 wt f displaystyle K t tfrac 1 2 mv 2 t tfrac 1 2 m omega 2 A 2 sin 2 omega t varphi tfrac 1 2 kA 2 sin 2 omega t varphi aelaphlngnganskykhxngrabbmikhaethakb U t 12kx2 t 12kA2cos2 wt f displaystyle U t tfrac 1 2 kx 2 t tfrac 1 2 kA 2 cos 2 omega t varphi emuximmiaerngesiydthanaelaimmikarsuyesiyphlngngan phlrwmkhxngphlngngankl mechanical energy camikhakhngtw E K U 12kA2 displaystyle E K U tfrac 1 2 kA 2 twxyangrabbspring mwlthiimhnwngmikarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay rabbthangfisikstxipniepntwxyanghnungkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay mwltidspring mwl m kxnhnungtidxyukbspringthimikhakhngthikhxngspring k xthibaykarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayin T 2pmk displaystyle T 2 pi sqrt frac m k smkarkhangbnniaesdngihehnwakhabkhxngkaraekwng T imkhunxyukbaexmphlicudaela smkarkhangbnniyngkhngichidemuxmiaerngkhngthikrathatxmwl klawkhux aerngkhngthithiephimkhunimidthaihkhabkhxngkaraekwngepliynipxangxingWalker Jearl 2011 Principles of Physics 9th ed Hoboken N J Wiley ISBN 0 470 56158 0 Thornton Stephen T Marion Jerry B 2003 Classical Dynamics of Particles and Systems 5th ed Brooks Cole ISBN 0 534 40896 6 John R Taylor 2005 Classical Mechanics University Science Books ISBN 1 891389 22 X Grant R Fowles George L Cassiday 2005 Analytical Mechanics 7th ed Thomson Brooks Cole ISBN 0 534 49492 7