กำแพงเบอร์ลิน (อังกฤษ: Berlin Wall; เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532
กำแพงเบอร์ลิน | |
---|---|
กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 | |
แผนที่ที่ตั้งของกำแพงเบอร์ลิน พร้อมกับแสดง | |
ข้อมูลทั่วไป | |
สถานะ | ถูกรื้อถอน |
ประเภท | กำแพง |
ประเทศ | |
พิกัด | 52°30′58″N 13°22′37″E / 52.516°N 13.377°E |
เริ่มสร้าง | 13 สิงหาคม 2504 |
รื้อถอน | 9 พฤศจิกายน 2532 – 2534 |
ขนาด | |
ด้านอื่น ๆ |
|
ข้อมูลทางเทคนิค | |
พื้นที่ | 155 กิโลเมตร (96.3 ไมล์) |
ในเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม มันถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "แนวป้องกันการต่อต้านฟาสซิตส์" แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ
นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 137 ถึง 206 คน
ก่อนกำแพงก่อตัว
ในปี ค.ศ. 1945 ภายหลังกองทัพนาซีเยอรมัน ภายใต้การนำของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้พ่ายในสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพสัมพันธมิตรได้เข้ายึดครองประเทศเยอรมัน และต่อมา 4 ประเทศมหาอำนาจที่เป็นแกนนำในสงครามครั้งนั้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหภาพโซเวียต ได้ทำสนธิสัญญาในการแบ่งการดูแลประเทศเยอรมันออกเป็น 4 ส่วนภายใต้การดูแลของแต่ละประเทศ และเช่นกัน กรุงเบอร์ลิน เมืองหลวงของประเทศ ได้ถูกแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ส่วนเช่นเดียวกัน
ปีต่อมา เยอรมนีภายใต้การปกครองของ 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝรั่งเศส รวมกันจัดตั้งเป็นประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันตก ในขณะที่เยอรมนีส่วนที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต ได้จัดตั้งเป็นประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี หรือ เยอรมนีตะวันออก ในช่วงแรก ประชาชนของทั้งสองประเทศสามารถเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กันได้เป็นปกติ แต่เมื่อเวลาผ่านไปนานขึ้น ความแตกต่างระหว่างการปกครองแบบประชาธิปไตยในเยอรมนีตะวันตก และการปกครองในระบบคอมมิวนิสต์ในเยอรมนีตะวันออก มีความแตกต่างที่เด่นชัดขึ้น ในขณะที่เยอรมนีตะวันตกได้รับการพัฒนา และฟื้นฟูประเทศ อาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ที่พังทลายในช่วงสงครามโลกได้รับการบูรณะ ส่วนเยอรมนีตะวันออกทุกอย่างกลับสวนทางกัน ยิ่งไปกว่านั้นธุรกิจทุกอย่างถูกเปลื่ยนมือไปเป็นของรัฐ เป็นเหตุให้ผู้คนพากันอพยพข้ามถิ่นจากเยอรมนีตะวันออกไปยังเยอรมนีตะวันตกกันมากขึ้น ทำให้เยอรมนีตะวันออกประสบปัญหาการขาดแรงงาน เฉพาะในปี ค.ศ. 1961 เพียงปีเดียว ซึ่งมีข่าวลือว่า ทางเยอรมนีตะวันออกจะปิดกั้นพรมแดนระหว่างสองประเทศ ทำให้ผู้คนกว่า 3 ล้านคน พากันอพยพไปยังเยอรมนีตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออก ภายใต้การควบคุมของสหภาพโซเวียตได้เร่งสร้างกำแพงกันแนวระหว่างสองประเทศ และรวมไปถึง แนวกำแพงที่ปิดล้อมกรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตกอีกด้วย
กำแพงเบอร์ลิน
ผลจากการย้ายออกของชาวเยอรมันตะวันออก ที่มีมากเกินการควบคุม รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกในขณะนั้น จึงได้สร้างกำแพงกั้นระหว่างประเทศเยอรมนีตะวันออกกับเยอรมนีตะวันตก ว่ากันว่า แนวกำแพงที่กั้นระหว่างสองประเทศนี้ยาวเป็นอันดับสองรองจากกำแพงเมืองจีนทีเดียว
ในส่วนของกรุงเบอร์ลิน นครหลวงของประเทศทั้งสอง มีที่ตั้งอยู่ใจกลางประเทศเยอรมนีตะวันออก ดังนั้น นครเบอร์ลินฝั่งตะวันตก จึงถูกปิดล้อมด้วยเยอรมนีตะวันออกรอบด้าน ในระยะแรก การเดินทางเข้าออกระหว่างเบอร์ลินตะวันออก และเบอร์ลินตะวันตก เป็นไปโดยเสรี กระทั่งเมื่อมีการอพยพของชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมาก เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกเร่งสร้างกำแพงเพื่อปิดกั้นการย้ายถิ่นของชาวเยอรมัน ในวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เป็นวันแรกที่มีการสร้างกำแพงเพื่อปิดล้อมกรุงเบอร์ลินตะวันตก และเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็นในยุคนั้น
กำแพงเบอร์ลิน ถูกใช้งานเป็นเวลา 28 ปี ในช่วงเวลานี้ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและรูปแบบของกำแพงถึง 4 ครั้ง แต่ละครั้งจะเพิ่มความแข็งแรง และความสูงของกำแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อป้องกันการหลบหนีของชาวเยอรมันตะวันออก เนื่องจากกำแพงกันระหว่างเยอรมนีตะวันออก และเยอรมนีตะวันตก มีจุดเปราะบางที่สุดที่กรุงเบอร์ลินนี่เอง กำแพงเบอร์ลินทั้ง 4 รุ่นมีพัฒนาการดังนี้
- กำแพงรุ่นที่ 1 เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1961 เป็นแนวรั้วลวดหนาม เป็นการสร้างชั่วคราวเพื่อป้องกันการอพยพของประชาชน เป็นกำแพงเบอร์ลินรุ่นที่มีอายุใช้งานสั้นที่สุด
- กำแพงรุ่นที่ 2 เป็นกำแพงก่ออิฐถือปูน ถูกสร้างขึ้นแทนกำแพงรั้วลวดหนามทันทีที่กำแพงรั้วลวดหนามเสร็จสมบูรณ์ แต่กำแพงก่ออิฐถือปูนนี้ก็ไม่แข็งแรงพอที่ปิดกั้นความปรารถนาในการแสวงหาเสรีภาพของประชาชน มีความพยายามในการหลบหนีด้วยการทำลายกำแพงเกิดขึ้นหลายครั้ง
- กำแพงรุ่นที่ 3 เป็นรั้วคอนกรีตสำเร็จรูป ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เกิดความแข็งแรง และความสูงเพิ่มขึ้น
- กำแพงรุ่นที่ 4 ถูกสร้างในปี ค.ศ. 1975 เป็นแผ่นคอนกรีตสำเร็จรูปขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 3.6 เมตร จำนวนกว่า 45,000 แผ่นถูกต่อเป็นแนวรอบกรุงเบอร์ลินตะวันตกเชื่อมต่อด้วยท่อคอนกรีตที่ด้านบนกำแพง กำแพงรุ่นนี้ถูกใช้งานจนกระทั่งถึงการล่มสลายในปี ค.ศ. 1989 และเป็นกำแพงเบอร์ลินรุ่นที่ถูกนำไปแสดงในพิพิธภัณฑ์ และสถานที่ต่าง ๆ ในปัจจุบัน ในการก่อสร้างกำแพงเบอร์ลินรุ่นที่ 4 ใช้งบประมาณสูงถึงกว่า 1,650 ล้านมาร์ก ณ ขณะนั้นทีเดียว
สำหรับประชาชนเยอรมันทั้งตะวันตก และตะวันออก และประชาคมโลกในระบบประชาธิปไตย กำแพงเบอร์ลิน เปรียบเสมือนการปิดกั้นเสรีภาพของประชาชน ว่ากันว่า กำแพงเบอร์ลิน เป็นกำแพงแห่งเดียวในโลกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปิดกั้นประชาชนในประเทศของตนจากโลกภายนอก ในขณะที่กำแพงเมืองอื่น ๆ ทั่วโลกนั้นมีไว้เพื่อป้องกันไม่ให้ศัตรูเข้ามารุกรานเสรีภาพของชาวเมือง ในทางกลับกัน สหภาพโซเวียต ผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างกำแพงเบอร์ลิน กลับมองว่า กำแพงเบอร์ลิน คือนวัตกรรมของชนชาติ
การลอบข้ามกำแพง
ในระหว่างที่กำแพงยังตั้งอยู่นั้น มีความพยายามหลบหนีข้ามเขตแดนราว 5,000 ครั้ง ในช่วงแรกนั้น การหลบหนีเป็นไปอย่างไม่ยากนัก เนื่องจากกำแพงในช่วงแรกเป็นเพียงรั้วลวดหนามเตี้ย ๆ และบางส่วนก็กระโดดออกมาทางหน้าต่างของตึกที่อยู่ติดกับกำแพง แต่ไม่นานนักกำแพงก็เปลี่ยนเป็นคอนกรีตที่แน่นหนา ส่วนหน้าต่างตึกต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้กับกำแพงก็ถูกก่ออิฐปิดตาย
หากการสร้างกำแพงเบอร์ลิน คือ นวัตกรรมของชนชาติ การลอบข้ามกำแพงเบอร์ลิน เป็นย่อมเป็นนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่กว่า มีการลอบข้ามกำแพงเบอร์ลินหลายต่อหลายครั้งที่แสดงถึงความสร้างสรรค์อันยิ่งใหญ่ เช่น การข้ามกำแพงด้วยบอลลูน การสร้างสลิงข้ามแนวกำแพงด้วยเวลาไม่ถึง 2 นาที การขุดอุโมงค์ลอดใต้กำแพง ซึ่งสามารถช่วยชาวเบอร์ลินตะวันออกหลบหนีได้มากถึงกว่าร้อยคน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีจุดข้ามแดนบางจุดที่ได้รับการช่วยเหลือจากกองทัพสัมพันธมิตร อาทิ จุดข้ามแดนโดยการว่ายข้ามแม่น้ำ กองทัพอังกฤษได้หย่อนบันไดลิงไว้ในฝั่งตรงข้ามเพื่อให้ผู้ที่ว่ายน้ำข้ามไปสามารถปีนขึ้นฝั่งได้
การเสียชีวิตในการลอบข้ามกำแพง
ในการลอบข้ามกำแพง เป็นความเสี่ยงที่ต้องแลกมาด้วยชีวิต ด้วยรัฐบาลเยอรมนีตะวันออกมีกฎที่ว่าผู้หลบหนีจะถูกยิงทิ้งทันทีที่พบเห็น จำนวนผู้เสียชีวิต และบาดเจ็บจากการลอบข้ามกำแพงเบอร์ลินนั้นยังไม่แน่ชัดนัก บางแหล่งระบุว่ามี 192 คนถูกฆ่าระหว่างการหลบหนี และอีกประมาณ 200 คนบาดเจ็บสาหัส ขณะที่บางแหล่งข้อมูลกลับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตเพียง 136 คน บางแหล่งข้อมูลกับมีตัวเลขผู้เสียชีวิตสูงถึง 246 คน และในวิกีพีเดียภาษาอังกฤษได้ระบุตัวเลขผู้เสียชีวิตไว้ 100 - 200 คน เหตุที่เป็นดังนี้ เนื่องจากทางรัฐบาลเยอรมนีตะวันออกไม่ได้ทำรายงานเรื่องนี้ และเมื่อมีผู้เสียชีวิตในการลอบข้ามกำแพง ทางการก็ไม่ได้แจ้งข่าวแก่ครอบครัวอีกด้วย
เหตุการณ์เสียชีวิต ณ กำแพงเบอร์ลิน ครั้งที่โด่งดังที่สุด เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) เมื่อนาย (Peter Fechter)เด็กหนุ่มที่ลอบข้ามกำแพงเบอร์ลินถูกยิง และปล่อยให้เลือดไหลจนตายต่อหน้าสื่อมวลชนตะวันตก เป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินการต่อต้านกำแพงเบอร์ลินอย่างเป็นรูปธรรม เมื่อวัน ผู้หลบหนีรายสุดท้ายที่ถูกยิงตายคือนาย Chris Gueffroy เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989)
การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน
ในปี ค.ศ. 1989 ตรงกับยุคที่ นายมีฮาอิล กอร์บาชอฟ เป็นประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ได้มีการทดลองการปฏิรูปการปกครองไปสู่ระบอบประชาธิปไตย ในเยอรมนีตะวันออก ได้มีการชุมนุมประท้วงใหญ่อย่างสงบขึ้นโดยเฉพาะในเมือง โพสต์ดัม ไลพ์ซิจ และเดรสเดน เริ่มต้นในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 1989 และดำเนินเรื่อยมา เป็นเหตุให้รัฐบาลเยอรมนีตะวันออกได้รับความกดดันเป็นอย่างมาก กระทั่งได้มีการประกาศว่า จะเปิดพรมแดนให้ชาวเยอรมันสามารถเดินทางผ่านแดนได้อย่างอิสระ ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ในวันดังกล่าวชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กำแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน
มีบางแหล่งข้อมูลอ้างว่า ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 นาย กึนเทอร์ ชาบ็อฟสกี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโฆษณาการ (Minister of Propaganda) ของเยอรมนีตะวันออกได้แถลงข่าว (ซึ่งภายหลังพบว่าเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนของเขาเอง) ว่าทางการจะอนุญาตให้ชาวเบอร์ลินตะวันออก ผ่านเข้าออกเขตแดนได้อย่างเสรีอีกครั้ง ทันใดนั้นเอง ผู้คนนับหมื่นที่ได้ทราบข่าวก็ได้หลั่งไหลไปยังด่านต่าง ๆ ของกำแพง. หลังจากความโกลาหลอยู่ช่วงหนึ่ง เนื่องจากทางเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยยังไม่ได้รับคำสั่งใด ๆ จากทางการ ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็ต้องยอมปล่อยให้ฝูงชนผ่านเขตแดนไปอย่างไม่มีทางเลือก ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศในเช้ามืดวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง
ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กำแพงเบอร์ลินได้ถูกทุบทำลายบางส่วนโดยชาวเยอรมัน และชาวยุโรป แต่การทำลายกำแพงเบอร์ลินอย่างเป็นทางการ เริ่มเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2533 แต่กระนั้นยังคงอนุรักษ์กำแพงบางช่วงไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์ นอกจากนี้ ยังมีการประมูลจำหน่ายชิ้นส่วนกำแพงเบอร์ลิน และได้มีการมอบชิ้นส่วนของกำแพงเบอร์ลินไปไว้ในพิพิธภัณฑ์ และสถานที่สำคัญ ๆ อีกหลายแห่ง อาทิ ด้านหน้าสภายุโรป ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม พิพิธภัณฑ์นิวเซียม กรุงวอชิงตันดีซี ประเทศสหรัฐอมริกา พิพิธภัณฑ์จอห์น เอฟ เคนเนดี และพิพิธภัณฑ์โรแนล เรแกน ในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
อ้างอิง
- . . 31 October 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-20. สืบค้นเมื่อ 1 November 2014.
- เป็นการศึกษาในปี ค.ศ. 1990 จาก vom 3. Oktober 1990 (Sonderausgabe), S. 113
- http://www.dailysoft.com/berlinwall/history/facts_02.htm
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-31. สืบค้นเมื่อ 2009-11-10.
- http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/8349742.stm
แหล่งข้อมูลอื่น
- www.wall-berlin.org นิทรรศการกำแพงเบอร์ลินออนไลน์
- กำแพงเบอร์ลินออนไลน์
- พิพิธภัณฑ์นิวเซียม สหรัฐอเมริกา ซึ่งจัดแสดงประวัติและเรื่องราว เกี่ยวกับกำแพงเบอร์ลิน 2007-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ประวัติกำแพงเบอร์ลิน 2010-02-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ภาพกำแพงเบอร์ลิน 2007-02-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ข่าว BBC เกี่ยวกับกำแพงเบอร์ลิน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kaaephngebxrlin xngkvs Berlin Wall eyxrmn Berliner Mauer epnkaaephngthisrangkhunchwngsngkhrameyn miwtthuprasngkhephuxpidknphrmaednrahwangebxrlintawntksungepnswnhnungkhxngeyxrmnitawntk kbeyxrmnitawnxxkthioxbxyuodyrxb mikhwamyawthngsin 155 kiolemtr erimsrangemuxwnthi 13 singhakhm ph s 2504 kh s 1961 aelapidknphrmaednniepnrayaewla 28 pi kxnthukthlayinwnthi 9 phvscikayn ph s 2532kaaephngebxrlinkaaephngebxrlin phaphthaycakfngebxrlintawntk emuxpi ph s 2529aephnthithitngkhxngkaaephngebxrlin phrxmkbaesdngkhxmulthwipsthanathukruxthxnpraephthkaaephngpraeths eyxrmnitawnxxk ebxrlintawnxxk phikd52 30 58 N 13 22 37 E 52 516 N 13 377 E 52 516 13 377erimsrang13 singhakhm 2504ruxthxn9 phvscikayn 2532 2534khnaddanxun khwamyawkhxngphrmaednrxbebxrlintawntk 155 kiolemtr 96 iml khwamyawkhxngphrmaednrahwangebxrlintawntkaelaeyxrmnitawnxxk 111 9 kiolemtr 69 5 iml khwamyawkhxngphrmaednrahwangebxrlintawntkaelatawnxxk 43 1 kiolemtr 26 8 iml khwamyawkhxngphrmaednemuxphanphunthiekhhasthaninebxrlintawnxxk 37 kiolemtr 23 iml khwamsungkhxngkaaephngkhxnkrit 3 6 emtr 11 8 fut khwamyawkhxngkaaephngkhxnkrit 106 kiolemtr 66 iml rwtakhaylwd 66 5 kiolemtr 41 3 iml khwamyawkhxngsnamephlaasahrbpxngknyanphahna 105 5 kiolemtr 65 6 iml khwamyawkhxngrwsyyan 127 5 kiolemtr 79 2 iml khwamkwangkhxngaenwthangedin 7 emtr 7 7 hla khwamyawkhxngaenwthangedin 124 3 kiolemtr 77 2 iml canwnhxsngektkarn 302 hxcanwnhlumhlbphy 20 aehngkhxmulthangethkhnikhphunthi155 kiolemtr 96 3 iml ineyxrmnitawnxxk kaaephngebxrlin khux aenwekhtaednthimnkhng aelasylksnkhxngkartxtanthunniym mnthukeriykxyangepnthangkarwa aenwpxngknkartxtanfassits aetsahrbolkesriaelw mnkhux sylksnkhxngkhwamkhdaeyngrahwangrabbthunniymkhxngyuorptawntk phayitkarnakhxngshrthxemrika kbrabbkhxmmiwnistkhxngyuorptawnxxk phayitkarpkkhrxngkhxngshphaphosewiyt hruxthieriykknwa sngkhrameyn nnexng kaaephngebxrlin thaihkrungebxrlinfngtawntk klayepnesmuxn hnatangsuesriphaph nbtngaetkarsrangkaaephngebxrlin karkhamphanaedncakeyxrmnitawnxxk ipyngeyxrmnitawntk klayepneruxngphidkdhmay hakmikarfafunaelathukphbehn miothssthanediyw khux karyingthing n briewnkaaephngnnexng tlxdrayaewla 28 pi khadwamiphuesiychiwitthikaaephngebxrlinkhnahlbhnirahwang 137 thung 206 khnkxnkaaephngkxtwaephnthiaenwkaaephngaeladantrwc phunthisikhawkhuxebxrlintawntk siehluxngthiehluxthnghmdkhuxeyxrmnitawnxxkaephnthikarpkkhrxngeyxrmniinchwnghlngsngkhramolkkhrngthisxng inpi kh s 1945 phayhlngkxngthphnasieyxrmn phayitkarnakhxngxdxlf hitelxr idphayinsngkhramolkkhrngthisxng kxngthphsmphnthmitridekhayudkhrxngpraethseyxrmn aelatxma 4 praethsmhaxanacthiepnaeknnainsngkhramkhrngnn idaek shrthxemrika xngkvs frngess aelashphaphosewiyt idthasnthisyyainkaraebngkarduaelpraethseyxrmnxxkepn 4 swnphayitkarduaelkhxngaetlapraeths aelaechnkn krungebxrlin emuxnghlwngkhxngpraeths idthukaebngekhtkarpkkhrxngxxkepn 4 swnechnediywkn pitxma eyxrmniphayitkarpkkhrxngkhxng 3 praeths idaek shrthxemrika xngkvs aelafrngess rwmkncdtngepnpraethsshphnthsatharnrtheyxrmni hrux eyxrmnitawntk inkhnathieyxrmniswnthixyuphayitkarpkkhrxngkhxngshphaphosewiyt idcdtngepnpraethssatharnrthprachathipityeyxrmni hrux eyxrmnitawnxxk inchwngaerk prachachnkhxngthngsxngpraethssamarthedinthangkhamaednipmahasuknidepnpkti aetemuxewlaphanipnankhun khwamaetktangrahwangkarpkkhrxngaebbprachathipityineyxrmnitawntk aelakarpkkhrxnginrabbkhxmmiwnistineyxrmnitawnxxk mikhwamaetktangthiednchdkhun inkhnathieyxrmnitawntkidrbkarphthna aelafunfupraeths xakharbaneruxntang thiphngthlayinchwngsngkhramolkidrbkarburna swneyxrmnitawnxxkthukxyangklbswnthangkn yingipkwannthurkicthukxyangthukepluynmuxipepnkhxngrth epnehtuihphukhnphaknxphyphkhamthincakeyxrmnitawnxxkipyngeyxrmnitawntkknmakkhun thaiheyxrmnitawnxxkprasbpyhakarkhadaerngngan echphaainpi kh s 1961 ephiyngpiediyw sungmikhawluxwa thangeyxrmnitawnxxkcapidknphrmaednrahwangsxngpraeths thaihphukhnkwa 3 lankhn phaknxphyphipyngeyxrmnitawntk epncuderimtnthithaihrthbaleyxrmnitawnxxk phayitkarkhwbkhumkhxngshphaphosewiytiderngsrangkaaephngknaenwrahwangsxngpraeths aelarwmipthung aenwkaaephngthipidlxmkrungebxrlinfngtawntkxikdwykaaephngebxrlinokhrngsrangkhxngkaaephngebxrlin caksayipkhwa phrmaednaethbphaynxkkaaephngkhxnkritphrxmthxklmkhunapxngknyanphahna aethbmrna tlingthraythnnefayamifsxngswanghxsngektkarnlwdhnamhruxkbdkrththngrwiffaphrxmsyyanetuxnphnngphayinekhthwngham phlcakkaryayxxkkhxngchaweyxrmntawnxxk thimimakekinkarkhwbkhum rthbaleyxrmnitawnxxkinkhnann cungidsrangkaaephngknrahwangpraethseyxrmnitawnxxkkbeyxrmnitawntk waknwa aenwkaaephngthiknrahwangsxngpraethsniyawepnxndbsxngrxngcakkaaephngemuxngcinthiediyw inswnkhxngkrungebxrlin nkhrhlwngkhxngpraethsthngsxng mithitngxyuicklangpraethseyxrmnitawnxxk dngnn nkhrebxrlinfngtawntk cungthukpidlxmdwyeyxrmnitawnxxkrxbdan inrayaaerk karedinthangekhaxxkrahwangebxrlintawnxxk aelaebxrlintawntk epnipodyesri krathngemuxmikarxphyphkhxngchaweyxrmntawnxxkcanwnmak epnehtuihrthbaleyxrmnitawnxxkerngsrangkaaephngephuxpidknkaryaythinkhxngchaweyxrmn inwnthi 13 singhakhm kh s 1961 epnwnaerkthimikarsrangkaaephngephuxpidlxmkrungebxrlintawntk aelaepncuderimtnkhxngsngkhrameyninyukhnn kaaephngebxrlin thukichnganepnewla 28 pi inchwngewlani mikarprbepliynokhrngsrangaelarupaebbkhxngkaaephngthung 4 khrng aetlakhrngcaephimkhwamaekhngaerng aelakhwamsungkhxngkaaephngephimkhuneruxy ephuxpxngknkarhlbhnikhxngchaweyxrmntawnxxk enuxngcakkaaephngknrahwangeyxrmnitawnxxk aelaeyxrmnitawntk micudepraabangthisudthikrungebxrlinniexng kaaephngebxrlinthng 4 runmiphthnakardngni kaaephngrunthi 1 erimsrangemuxwnthi 13 singhakhm kh s 1961 epnaenwrwlwdhnam epnkarsrangchwkhrawephuxpxngknkarxphyphkhxngprachachn epnkaaephngebxrlinrunthimixayuichngansnthisud kaaephngrunthi 2 epnkaaephngkxxiththuxpun thuksrangkhunaethnkaaephngrwlwdhnamthnthithikaaephngrwlwdhnamesrcsmburn aetkaaephngkxxiththuxpunnikimaekhngaerngphxthipidknkhwamprarthnainkaraeswnghaesriphaphkhxngprachachn mikhwamphyayaminkarhlbhnidwykarthalaykaaephngekidkhunhlaykhrng kaaephngrunthi 3 epnrwkhxnkritsaercrup thuksrangkhunephuxihekidkhwamaekhngaerng aelakhwamsungephimkhun kaaephngrunthi 4 thuksranginpi kh s 1975 epnaephnkhxnkritsaercrupkhnadkwang 1 2 emtr sung 3 6 emtr canwnkwa 45 000 aephnthuktxepnaenwrxbkrungebxrlintawntkechuxmtxdwythxkhxnkritthidanbnkaaephng kaaephngrunnithukichngancnkrathngthungkarlmslayinpi kh s 1989 aelaepnkaaephngebxrlinrunthithuknaipaesdnginphiphithphnth aelasthanthitang inpccubn inkarkxsrangkaaephngebxrlinrunthi 4 ichngbpramansungthungkwa 1 650 lanmark n khnannthiediyw sahrbprachachneyxrmnthngtawntk aelatawnxxk aelaprachakhmolkinrabbprachathipity kaaephngebxrlin epriybesmuxnkarpidknesriphaphkhxngprachachn waknwa kaaephngebxrlin epnkaaephngaehngediywinolkthithuksrangkhunephuxpidknprachachninpraethskhxngtncakolkphaynxk inkhnathikaaephngemuxngxun thwolknnmiiwephuxpxngknimihstruekhamarukranesriphaphkhxngchawemuxng inthangklbkn shphaphosewiyt phuxyuebuxnghlngkarsrangkaaephngebxrlin klbmxngwa kaaephngebxrlin khuxnwtkrrmkhxngchnchatikarlxbkhamkaaephnginrahwangthikaaephngyngtngxyunn mikhwamphyayamhlbhnikhamekhtaednraw 5 000 khrng inchwngaerknn karhlbhniepnipxyangimyaknk enuxngcakkaaephnginchwngaerkepnephiyngrwlwdhnametiy aelabangswnkkraoddxxkmathanghnatangkhxngtukthixyutidkbkaaephng aetimnannkkaaephngkepliynepnkhxnkritthiaennhna swnhnatangtuktang thixyuiklkbkaaephngkthukkxxithpidtay hakkarsrangkaaephngebxrlin khux nwtkrrmkhxngchnchati karlxbkhamkaaephngebxrlin epnyxmepnnwtkrrmthiyingihykwa mikarlxbkhamkaaephngebxrlinhlaytxhlaykhrngthiaesdngthungkhwamsrangsrrkhxnyingihy echn karkhamkaaephngdwybxllun karsrangslingkhamaenwkaaephngdwyewlaimthung 2 nathi karkhudxuomngkhlxditkaaephng sungsamarthchwychawebxrlintawnxxkhlbhniidmakthungkwarxykhn epntn nxkcakni yngmicudkhamaednbangcudthiidrbkarchwyehluxcakkxngthphsmphnthmitr xathi cudkhamaednodykarwaykhamaemna kxngthphxngkvsidhyxnbnidlingiwinfngtrngkhamephuxihphuthiwaynakhamipsamarthpinkhunfngidkaresiychiwitinkarlxbkhamkaaephnginkarlxbkhamkaaephng epnkhwamesiyngthitxngaelkmadwychiwit dwyrthbaleyxrmnitawnxxkmikdthiwaphuhlbhnicathukyingthingthnthithiphbehn canwnphuesiychiwit aelabadecbcakkarlxbkhamkaaephngebxrlinnnyngimaenchdnk bangaehlngrabuwami 192 khnthukkharahwangkarhlbhni aelaxikpraman 200 khnbadecbsahs khnathibangaehlngkhxmulklbmitwelkhphuesiychiwitephiyng 136 khn bangaehlngkhxmulkbmitwelkhphuesiychiwitsungthung 246 khn aelainwikiphiediyphasaxngkvsidrabutwelkhphuesiychiwitiw 100 200 khn ehtuthiepndngni enuxngcakthangrthbaleyxrmnitawnxxkimidtharaynganeruxngni aelaemuxmiphuesiychiwitinkarlxbkhamkaaephng thangkarkimidaecngkhawaekkhrxbkhrwxikdwy ehtukarnesiychiwit n kaaephngebxrlin khrngthiodngdngthisud ekidkhunemuxwnthi 17 singhakhm ph s 2505 kh s 1962 emuxnay Peter Fechter edkhnumthilxbkhamkaaephngebxrlinthukying aelaplxyiheluxdihlcntaytxhnasuxmwlchntawntk epncuderimtnkhxngkardaeninkartxtankaaephngebxrlinxyangepnrupthrrm emuxwn phuhlbhniraysudthaythithukyingtaykhuxnay Chris Gueffroy emuxwnthi 6 kumphaphnth ph s 2532 kh s 1989 karlmslaykhxngkaaephngebxrlininpi kh s 1989 trngkbyukhthi naymihaxil kxrbachxf epnprathanathibdikhxngshphaphosewiyt idmikarthdlxngkarptirupkarpkkhrxngipsurabxbprachathipity ineyxrmnitawnxxk idmikarchumnumprathwngihyxyangsngbkhunodyechphaainemuxng ophstdm ilphsic aelaedrsedn erimtninwnthi 8 tulakhm kh s 1989 aeladaenineruxyma epnehtuihrthbaleyxrmnitawnxxkidrbkhwamkddnepnxyangmak krathngidmikarprakaswa caepidphrmaednihchaweyxrmnsamarthedinthangphanaednidxyangxisra inwnthi 9 phvscikayn ph s 2532 kh s 1989 inwndngklawchaweyxrmntawnxxkcanwnmakidmarwmtwkn n kaaephngebxrlin ephuxkhamphanaednipyngebxrlintawntkkhrngaerkinrxb 28 pi cungthuxexawndngklaw epnwnlmslaykhxngkaaephngebxrlin mibangaehlngkhxmulxangwa inwnthi 9 phvscikayn ph s 2532 nay kunethxr chabxfski rthmntriwakarkrathrwngokhsnakar Minister of Propaganda khxngeyxrmnitawnxxkidaethlngkhaw sungphayhlngphbwaepnkhwamekhaicthikhladekhluxnkhxngekhaexng wathangkarcaxnuyatihchawebxrlintawnxxk phanekhaxxkekhtaednidxyangesrixikkhrng thnidnnexng phukhnnbhmunthiidthrabkhawkidhlngihlipyngdantang khxngkaaephng hlngcakkhwamoklahlxyuchwnghnung enuxngcakthangecahnathirksakhwamplxdphyyngimidrbkhasngid cakthangkar inthisudecahnathiktxngyxmplxyihfungchnphanekhtaednipxyangimmithangeluxk chawebxrlintawntkxxkmatxnrbchawebxrlintawnxxk brryakasinechamudwnnnehmuxnnganechlimchlxng tngaetwnthi 9 phvscikayn ph s 2532 kaaephngebxrlinidthukthubthalaybangswnodychaweyxrmn aelachawyuorp aetkarthalaykaaephngebxrlinxyangepnthangkar erimemuxwnthi 13 mithunayn ph s 2533 aetkrannyngkhngxnurkskaaephngbangchwngiwephuxepnxnusrn nxkcakni yngmikarpramulcahnaychinswnkaaephngebxrlin aelaidmikarmxbchinswnkhxngkaaephngebxrlinipiwinphiphithphnth aelasthanthisakhy xikhlayaehng xathi danhnasphayuorp n krungbrsesls praethsebleyiym phiphithphnthniwesiym krungwxchingtndisi praethsshrthxmrika phiphithphnthcxhn exf ekhnendi aelaphiphithphnthoraenl eraekn inpraethsshrthxemrika epntnxangxing 31 October 2014 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 04 20 subkhnemux 1 November 2014 epnkarsuksainpi kh s 1990 cak vom 3 Oktober 1990 Sonderausgabe S 113 http www dailysoft com berlinwall history facts 02 htm khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 08 31 subkhnemux 2009 11 10 http news bbc co uk 2 hi europe 8349742 stmaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kaaephngebxrlin www wall berlin org nithrrskarkaaephngebxrlinxxniln kaaephngebxrlinxxniln phiphithphnthniwesiym shrthxemrika sungcdaesdngprawtiaelaeruxngraw ekiywkbkaaephngebxrlin 2007 05 16 thi ewyaebkaemchchin prawtikaaephngebxrlin 2010 02 10 thi ewyaebkaemchchin phaphkaaephngebxrlin 2007 02 11 thi ewyaebkaemchchin khaw BBC ekiywkbkaaephngebxrlin