บทความนี้ไม่มีจาก |
ประลัย (อังกฤษ: Annihilation) มีนิยามว่า"การทำลายทั้งหมด"หรือ"การลบล้างเสร็จสมบูรณ์"ของวัตถุ มีรากศัพท์ในภาษาละตินว่า nihil (ไม่มี) แปลตามตัวอักษรเป็น "เพื่อให้กลายเป็นไม่มี"
ในฟิสิกส์ เป็นคำที่ใช้เพื่อแสดงกระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อมีการชนกันของอนุภาคย่อยของอะตอม กับ ปฏิยานุภาค เนื่องจากพลังงานและโมเมนตัมจะต้องมีการอนุรักษ์ จึงเป็นอนุภาคที่ไม่ได้ทำให้เกิดขึ้นจริงจนกลายเป็นความไม่มีอะไร แต่ค่อนข้างจะเป็นอนุภาคใหม่ ปฏิยานุภาคมีที่ตรงกันข้ามเป็นสิ่งที่เพิ่มเติมจากอนุภาค ดังนั้นผลบวกของเลขควอนตัมทั้งหมดของคู่อนุภาคต้นฉบับจึงเป็นศูนย์ ดังนั้นชุดของอนุภาคใด ๆ อาจมีการผลิตที่มีเลขควอนตัมรวมทั้งหมดยังมีค่าเป็นศูนย์ตราบใดที่ยังมีและตามที่เชื่อกัน เมื่ออนุภาคและแอนติอนุภาคของมันชนกัน พลังงานของพวกมันจะถูกแปลงเป็นอนุภาคพาหะแรงเช่น กลูออน, อนุภาคพาหะแรง W/Z, หรือโฟตอน อนุภาคเหล่านี้จะถูกเปลี่ยนแปลงในภายหลังเป็นอนุภาคอื่น ๆ ต่อไป
ในระหว่างประลัยพลังงานต่ำ, การผลิตโฟตอนมีความเป็นไปได้มากเนื่องจากอนุภาคเหล่านี้ไม่มีมวล อย่างไรก็ตามอนุภาคพลังงานสูงที่เป็นตัวเข้าปะทะเพื่อสร้างประลัยที่หลากหลายของอนุภาคหนักที่แปลกใหม่จะถูกสร้างขึ้น
ตัวอย่างของประลัย
นี้เป็นตัวอย่างของ ในทฤษฎีสนามควอนตัม (quantum field theory) — ทฤษฎีสนามเป็นกลายเป็นสิ่งจำเป็นเพราะจำนวนของอนุภาคเปลี่ยนจากจากหนึ่งเป็นสองและย้อนกลับมาอีกครั้ง
ประลัยอิเล็กตรอน-โพสิตรอน
+ → γ + γ
เมื่ออิเล็กตรอนพลังงานต่ำเข้าประลัยกับโพสิตรอนพลังงานต่ำ (ปฏิอิเล็กตรอน) พวกมันสามารถผลิตโฟตอนรังสีแกมมา (gamma ray photons) เป็นจำนวนสองตัวหรือมากกว่านั้นออกมา เนื่องจากอิเล็กตรอนและโพสิตรอนจะไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ อย่างเพียงพอกับความสมมูลระหว่างมวล-พลังงาน () ในการผลิตอนุภาคหนักและการอนุรักษ์พลังงานและโมเมนตัมเชิงเส้นที่ไม่อนุญาตให้สร้างโฟตอนเพียงหนึ่งอนุภาค เมื่ออิเล็กตรอนและโพสิตรอนเข้าชนกันเพื่อที่จะประลัยกันและสร้างรังสีแกมมา จะได้พลังงานออกมา อนุภาคทั้งสองมีพลังงานของมวลเมื่ออยู่นิ่งเป็น 0.511 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV) เมื่อมวลของอนุภาคทั้งสองถูกแปลงเป็นพลังงานทั้งหมดพลังงานของมวลนิ่งนี้คือสิ่งที่จะถูกปลดปล่อยออกมา พลังงานจะถูกปล่อยออกมาในรูปของรังสีแกมมาดังกล่าวข้างต้น แต่ละรังสีแกมมาจะมีพลังงานอยู่ที่ 0.511 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (MeV) เนื่องจากทั้งโพสิตรอนและอิเล็กตรอนมีช่วงเวลาสั้น ๆ ที่หยุดนิ่งในช่วงระหว่างประลัยนี้ระบบจะไม่มีโมเมนตัมในช่วงเวลาขณะนั้นเลย นี่คือเหตุผลที่ว่าทำไมรังสีแกมมาทั้งสองจึงได้ถูกสร้างขึ้น (เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมและพลังงาน) การอนุรักษ์โมเมนตัมจะไม่ประสบผลสำเร็จถ้ามีเพียงหนึ่งโฟตอนที่ถูกสร้างขึ้นในปฏิกิริยานี้โดยเฉพาะ โมเมนตัมและพลังงานจะถูกอนุรักษ์ด้วยพลังงานที่มีค่า 1.022 MeV ของรังสีแกมมา (พิจารณาสำหรับพลังงานนิ่งของอนุภาค) ที่เคลื่อนกำลังที่ในทิศทางตรงกันข้าม (พิจารณาสำหรับโมเมนตัมที่มีค่าเป็นศูนย์โดยรวมของระบบ) อย่างไรก็ตาม, ถ้าในหนึ่งหรืออนุภาคทั้งสองนำพาพลังงานจลน์ไปด้วยเป็นปริมาณจำนวนมาก, คู่อนุภาคอื่น ๆ จะสามารถผลิตขึ้นได้หลากหลายชนิด ประลัย หรือ การทำลายล้าง (หรือการสลายตัว) ของคู่อิเล็กตรอนโพซิตรอนเป็นโฟตอนเดี่ยวนั้น, จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในพื้นที่ว่าง (free space) เพราะโมเมนตัมจะไม่ได้รับการอนุรักษ์ในขั้นตอนนี้ การเกิดปฏิกิริยาแบบย้อนกลับ () จึงเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้เพราะเหตุนี้, ยกเว้นในการปรากฏตัวของอนุภาคอื่น ๆ ที่สามารถจะนำพาเอาโมเมนตัมส่วนเกินนี้ไปได้ด้วยเท่านั้น
อ้างอิง
- - Dictionary Definition 2009-05-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (2006) Dictionary.com.
- Nuclear Science Division ---- . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-23. สืบค้นเมื่อ 09-03-2008.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "The Standard Model – Particle decays and annihilations". The Particle Adventure: The Fundamentals of Matter and Force. berkeley Lab. สืบค้นเมื่อ 17 October 2011.
- Cossairt, D. (29 June 2001). "Radiation from particle annihilation". Fermilab. สืบค้นเมื่อ 17 October 2011.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir praly xngkvs Annihilation miniyamwa karthalaythnghmd hrux karlblangesrcsmburn khxngwtthu miraksphthinphasalatinwa nihil immi aepltamtwxksrepn ephuxihklayepnimmi aesdngpralysungknaelaknkhxngkhusthanaphnthaxielktrxnophsitrxnxxkepnsxngoftxn sthanaphnthaniepnthiruckknmakkwapktithiepn infisiks epnkhathiichephuxaesdngkrabwnkarthiekidkhunemuxmikarchnknkhxngxnuphakhyxykhxngxatxm kb ptiyanuphakh enuxngcakphlngnganaelaomemntmcatxngmikarxnurks cungepnxnuphakhthiimidthaihekidkhuncringcnklayepnkhwamimmixair aetkhxnkhangcaepnxnuphakhihm ptiyanuphakhmithitrngknkhamepnsingthiephimetimcakxnuphakh dngnnphlbwkkhxngelkhkhwxntmthnghmdkhxngkhuxnuphakhtnchbbcungepnsuny dngnnchudkhxngxnuphakhid xacmikarphlitthimielkhkhwxntmrwmthnghmdyngmikhaepnsunytrabidthiyngmiaelatamthiechuxkn emuxxnuphakhaelaaexntixnuphakhkhxngmnchnkn phlngngankhxngphwkmncathukaeplngepnxnuphakhphahaaerngechn kluxxn xnuphakhphahaaerng W Z hruxoftxn xnuphakhehlanicathukepliynaeplnginphayhlngepnxnuphakhxun txip inrahwangpralyphlngnganta karphlitoftxnmikhwamepnipidmakenuxngcakxnuphakhehlaniimmimwl xyangirktamxnuphakhphlngngansungthiepntwekhapathaephuxsrangpralythihlakhlaykhxngxnuphakhhnkthiaeplkihmcathuksrangkhuntwxyangkhxngpralyniepntwxyangkhxng inthvsdisnamkhwxntm quantum field theory thvsdisnamepnklayepnsingcaepnephraacanwnkhxngxnuphakhepliyncakcakhnungepnsxngaelayxnklbmaxikkhrng pralyxielktrxn ophsitrxn e displaystyle e e displaystyle e g g emuxxielktrxnphlngngantaekhapralykbophsitrxnphlngnganta ptixielktrxn phwkmnsamarthphlitoftxnrngsiaekmma gamma ray photons epncanwnsxngtwhruxmakkwannxxkma enuxngcakxielktrxnaelaophsitrxncaimmikhwamsmphnthid xyangephiyngphxkbkhwamsmmulrahwangmwl phlngngan inkarphlitxnuphakhhnkaelakarxnurksphlngnganaelaomemntmechingesnthiimxnuyatihsrangoftxnephiynghnungxnuphakh emuxxielktrxnaelaophsitrxnekhachnknephuxthicapralyknaelasrangrngsiaekmma caidphlngnganxxkma xnuphakhthngsxngmiphlngngankhxngmwlemuxxyuningepn 0 511 lanxielktrxnowlt MeV emuxmwlkhxngxnuphakhthngsxngthukaeplngepnphlngnganthnghmdphlngngankhxngmwlningnikhuxsingthicathukpldplxyxxkma phlngngancathukplxyxxkmainrupkhxngrngsiaekmmadngklawkhangtn aetlarngsiaekmmacamiphlngnganxyuthi 0 511 lanxielktrxnowlt MeV enuxngcakthngophsitrxnaelaxielktrxnmichwngewlasn thihyudninginchwngrahwangpralynirabbcaimmiomemntminchwngewlakhnannely nikhuxehtuphlthiwathaimrngsiaekmmathngsxngcungidthuksrangkhun epniptamkdkarxnurksomemntmaelaphlngngan karxnurksomemntmcaimprasbphlsaercthamiephiynghnungoftxnthithuksrangkhuninptikiriyaniodyechphaa omemntmaelaphlngngancathukxnurksdwyphlngnganthimikha 1 022 MeV khxngrngsiaekmma phicarnasahrbphlngnganningkhxngxnuphakh thiekhluxnkalngthiinthisthangtrngknkham phicarnasahrbomemntmthimikhaepnsunyodyrwmkhxngrabb xyangirktam thainhnunghruxxnuphakhthngsxngnaphaphlngnganclnipdwyepnprimancanwnmak khuxnuphakhxun casamarthphlitkhunidhlakhlaychnid praly hrux karthalaylang hruxkarslaytw khxngkhuxielktrxnophsitrxnepnoftxnediywnn caimsamarthekidkhunidinphunthiwang free space ephraaomemntmcaimidrbkarxnurksinkhntxnni karekidptikiriyaaebbyxnklb cungepnsingthiepnipimidephraaehtuni ykewninkarprakttwkhxngxnuphakhxun thisamarthcanaphaexaomemntmswnekinniipiddwyethannxangxing Dictionary Definition 2009 05 12 thi ewyaebkaemchchin 2006 Dictionary com Nuclear Science Division khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 23 subkhnemux 09 03 2008 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help The Standard Model Particle decays and annihilations The Particle Adventure The Fundamentals of Matter and Force berkeley Lab subkhnemux 17 October 2011 Cossairt D 29 June 2001 Radiation from particle annihilation Fermilab subkhnemux 17 October 2011