ห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติแฟร์มี หรือ แฟร์มีแล็บ (อังกฤษ: Fermi National Accelerator Laboratory - Fermilab) ตั้งอยู่ที่เมือง ใกล้นครชิคาโก รัฐอิลลินอย สหรัฐอเมริกา เป็นห้องทดลองในสังกัดกระทรวงพลังงานแห่งสหรัฐอเมริกา ทำการวิจัยเกี่ยวกับฟิสิกส์พลังงานสูง
ห้องปฏิบัติการแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1967 เดิมชื่อว่า "ห้องปฏิบัติการเครื่องเร่งอนุภาคแห่งชาติ" (National Accelerator Laboratory) และเปลี่ยนชื่อเป็น แฟร์มีแล็บ ในปี ค.ศ. 1974 เพื่อเป็นเกียรติแก่ เอนรีโก แฟร์มี นักฟิสิกส์ชาวอิตาลี ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี ค.ศ. 1938
ปัจจุบันแฟร์มีแล็บปฏิบัติงานโดยหน่วยงานที่ชื่อว่า Fermi Research Alliance (สหพันธ์เพื่อการวิจัยแฟร์มี) ซึ่งเป็นหน่วยงานความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยชิคาโก กับ Universities Research Association (URA) ซึ่งเป็นการรวมตัวของห้องวิจัยจาก 91 มหาวิทยาลัย ทั้งในสหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น อิตาลี
เครื่องมือชิ้นสำคัญที่สุดของแฟร์มีแล็บ คือ เครื่องเร่งอนุภาค (Tevatron) มีขนาดเส้นรอบวง 6.28 กิโลเมตร (3.90 ไมล์) สามารถเร่งพลังงานอนุภาคโปรตอนได้ถึง 1.96 TeV เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก รองจากเครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ของเซิร์น ที่กรุงเจนีวา (มีเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร)
ในปี ค.ศ. 1995 การทดลองด้วยเครื่องเร่งอนุภาคที่แฟร์มีแล็บ ได้พิสูจน์ยืนยันการมีอยู่จริงของ ควาร์ก และในปี ค.ศ. 2008 ได้มีการค้นพบอนุภาคใหม่ที่ประกอบด้วยควาร์ก 3 ตัว ให้ชื่อว่า "โอเมก้า ซับ บี" (Ωb)
อ้างอิง
- B. Carithers, P. Grannis. "Discovery of the Top Quark" (PDF). Beam Line. SLAC. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
- "Fermilab physicists discover "doubly strange" particle". 2008-09-09.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ทางการ
- Fermilab Virtual Tour
- เว็บไซต์แสดงสถานะปัจจุบันของเทวาตรอน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hxngptibtikarekhruxngerngxnuphakhaehngchatiaefrmi hrux aefrmiaelb xngkvs Fermi National Accelerator Laboratory Fermilab tngxyuthiemuxng iklnkhrchikhaok rthxillinxy shrthxemrika epnhxngthdlxnginsngkdkrathrwngphlngnganaehngshrthxemrika thakarwicyekiywkbfisiksphlngngansungekhruxngerngxnuphakhethwatrxn danhlng aelaekhruxngpxnxnuphakhhlk danhna thiaefrmiaelbxakharorebirkh aerthbn wilsn hxngptibtikaraehngnikxtngkhuninpi kh s 1967 edimchuxwa hxngptibtikarekhruxngerngxnuphakhaehngchati National Accelerator Laboratory aelaepliynchuxepn aefrmiaelb inpi kh s 1974 ephuxepnekiyrtiaek exnriok aefrmi nkfisikschawxitali phuidrbrangwloneblsakhafisiks pracapi kh s 1938 pccubnaefrmiaelbptibtinganodyhnwynganthichuxwa Fermi Research Alliance shphnthephuxkarwicyaefrmi sungepnhnwyngankhwamrwmmuxrahwang mhawithyalychikhaok kb Universities Research Association URA sungepnkarrwmtwkhxnghxngwicycak 91 mhawithyaly thnginshrthxemrika aekhnada yipun xitali ekhruxngmuxchinsakhythisudkhxngaefrmiaelb khux ekhruxngerngxnuphakh Tevatron mikhnadesnrxbwng 6 28 kiolemtr 3 90 iml samartherngphlngnganxnuphakhoprtxnidthung 1 96 TeV epnekhruxngerngxnuphakhthiihyepnxndbsxngkhxngolk rxngcakekhruxngchnxnuphakhkhnadihykhxngesirn thikrungecniwa miesnrxbwng 27 kiolemtr inpi kh s 1995 karthdlxngdwyekhruxngerngxnuphakhthiaefrmiaelb idphisucnyunynkarmixyucringkhxng khwark aelainpi kh s 2008 idmikarkhnphbxnuphakhihmthiprakxbdwykhwark 3 tw ihchuxwa oxemka sb bi Wb xangxingB Carithers P Grannis Discovery of the Top Quark PDF Beam Line SLAC subkhnemux 2008 09 23 Fermilab physicists discover doubly strange particle 2008 09 09 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb aefrmiaelb ewbistthangkar Fermilab Virtual Tour ewbistaesdngsthanapccubnkhxngethwatrxn 41 49 55 N 88 15 26 W 41 83194 N 88 25722 W 41 83194 88 25722 bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk