กระดูก เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างแข็งภายใน (endoskeleton) ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง หน้าที่หลักของกระดูกคือการค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย การเคลื่อนไหว การสะสมแร่ธาตุและการสร้าง
กระดูกเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วย (osseous tissue) ที่มีความแข็งแรงแต่มีน้ำหนักเบา การเจริญพัฒนาของเนื้อเยื่อกระดูกในรูปแบบที่แตกต่างกัน ทำให้กระดูกเป็นอวัยวะที่มีหลายรูปร่างลักษณะ เพื่อให้สอดคล้องกันกับการทำงานของกระดูกในแต่ละส่วน เช่นกะโหลกศีรษะ (skull) ที่มีลักษณะแบนแต่แข็งแรงมาก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนของสมอง หรือกระดูกต้นขา (femur) ที่มีลักษณะยาวเพื่อเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของรยางค์ล่าง เป็นต้น
ลักษณะทั่วไปของกระดูก
โครงสร้างของกระดูก
กระดูกไม่ได้เป็นโครงสร้างที่แข็งทึบเพียงอย่างเดียว หากแต่มีช่องว่างที่อยู่ระหว่างโครงสร้างแข็ง ในกระดูกแบบยาว จะพบว่าด้านนอกของกระดูกจะมีเนื้อกระดูกที่แข็งมาก ๆ ซึ่งเรียกส่วนนี้ว่า กระดูกเนื้อแน่น (compact bone) ซึ่งมีช่องว่างของเนื้อกระดูกน้อยมาก และคิดเป็นประมาณ 80% ของเนื้อกระดูกในผู้ใหญ่ ส่วนชั้นในของกระดูกจะมีลักษณะที่โปร่งคล้ายเส้นใยสานกัน เรียกว่า กระดูกเนื้อโปร่ง (spongy/cancellous bone) ซึ่งทำให้กระดูกมีความเบา และเป็นที่อยู่ของหลอดเลือดและไขกระดูก (marrow) นอกสุดของกระดูกจะมี (periosteum) หุ้มอยู่โดยรอบ และมีหลอดเลือดและเส้นประสาทมาเลี้ยงเนื้อกระดูก ยกเว้นที่บริเวณข้อต่อ จะไม่มีเยื่อหุ้มกระดูกอยู่
จุลกายวิภาคศาสตร์
เนื้อเยื่อพื้นฐานของกระดูกคือเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ เรียกว่า (osseous tissue) ประกอบขึ้นจากที่มีความแข็งแรงแต่มีน้ำหนักน้อย ซึ่งส่วนใหญ่จะประกอบด้วย (calcium phosphate) ในรูปของ (calcium hydroxyapatite) ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีความแข็งเกร็ง (rigidity) สูง และต่อต้านแรงกดได้มาก นอกจากนี้ยังมีคอลลาเจน (collagen) เป็นโปรตีนเส้นใยที่ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นของกระดูก
เมื่อดูโครงสร้างของกระดูกเนื้อแน่นใต้กล้องจุลทรรศน์ จะพบว่าเนื้อเยื่อกระดูกมีลักษณะที่เป็นวงซ้อน ๆ กัน โดยที่มีศูนย์กลางเป็นช่องขนาดใหญ่ที่เรียกว่า (Haversian canal) ซึ่งเป็นที่อยู่ของหลอดเลือดที่มาเลี้ยงเนื้อเยื่อกระดูก และวงรอบ ๆ จะเป็นที่อยู่ของเซลล์กระดูกที่โตเต็มที่แล้ว ในเนื้อเยื่อกระดูกจะประกอบด้วย (bone cells) ที่มีส่วนสำคัญในการสร้างและการก่อรูปของกระดูกอีกด้วย เซลล์กระดูกมีสามชนิด ได้แก่
- (Osteoblast) เป็นเซลล์สร้างเนื้อกระดูกที่เจริญพัฒนามาจาก (osteoprogenitor cells) เซลล์นี้จะอยู่ตามขอบของเนื้อกระดูก และสร้างโปรตีนที่เรียกว่า (osteoid) ซึ่งโปรตีนดังกล่าวนี้จะมีสารอนินทรีย์มาสะสมและกลายเป็นเนื้อกระดูก นอกจากนี้ออสติโอบลาสต์ยังสร้างเอนไซม์ (alkaline phosphatase) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างเนื้อกระดูก รวมทั้งสารนอกเซลล์อื่นๆอีกด้วย
- (Osteocyte) เป็นเซลล์ที่เจริญต่อมาจากออสติโอบลาสต์ที่ได้สร้างเนื้อกระดูกจนล้อมรอบตัวเซลล์ และเป็นเซลล์กระดูกที่เจริญเต็มที่แล้ว รอบ ๆ เซลล์จะเป็นช่องที่เรียกว่า ลากูนา (lacuna) และแต่ละลากูนาจะติดต่อกันด้วยช่องทางผ่านเล็ก ๆ ที่เรียกว่า คานาลิคูไล (canaliculi) ซึ่งทำให้แต่ละออสติโอไซต์มีการติดต่อสื่อสารกันได้ ออกซิเจนและสารอาหารก็จะถูกส่งจากหลอดเลือดภายในช่องฮาเวอร์เชียนเข้ามายังแต่ละเซลล์ผ่านทางช่องดังกล่าวนี้ แม้ออสติโอไซต์จะเป็นเซลล์กระดูกที่โตเต็มที่ แต่มันยังมีหน้าที่ในการควบคุมระดับแคลเซียมและสารนอกเซลล์อื่นๆด้วย
- (Osteoclast) เป็นเซลล์ขนาดใหญ่ที่มีหลายนิวเคลียส และเจริญมาจาก (monocyte stem cells) เซลล์นี้มีหน้าที่สำคัญใน (bone remodeling) โดยอาศัยการผลิตเอนไซม์ (acid phosphatase) ในการกร่อนเนื้อกระดูก และทำให้กระดูกมีลักษณะที่เหมาะสม นอกจากนี้ กระบวนการดังกล่าวยังทำให้มีการนำแคลเซียมออกสู่กระแสเลือดอีกด้วย
การเจริญพัฒนาของกระดูก
การเจริญพัฒนาของกระดูกจะเริ่มตั้งแต่ช่วงที่อยู่ในครรภ์ โดยกระบวนการสร้างเนื้อกระดูก (ossification) สามารถแบ่งออกได้เป็นสองรูปแบบ ได้แก่
- Intramembranous ossification เป็นการสร้างเนื้อกระดูกจากการรวมตัวของกลุ่มเซลล์ชนิด (mesenchymal cells) ซึ่งเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดต่าง ๆ การรวมตัวของเซลล์ดังกล่าวจะทำให้เกิด (primary ossification center) และตามด้วยการสะสมแคลเซียมในบริเวณดังกล่าว กระบวนการนี้จะดำเนินต่อไปจนเสร็จสมบูรณ์ การสร้างเนื้อกระดูกในลักษณะนี้มักพบใน (flat bone) เช่นกะโหลกศีรษะ
- Endochondral ossification เป็นการสร้างเนื้อกระดูกที่มีแบบมาจากกระดูกอ่อน (cartilage) ที่มีการเจริญมาก่อนแล้ว โดยที่กลุ่มเซลล์มีเซนไคม์จะเข้าไปแทนที่เซลล์กระดูกอ่อนผ่านทางหลอดเลือด เริ่มจากส่วนกลางของกระดูกซึ่งเป็นจุดการสร้างกระดูกปฐมภูมิ เมื่อเซลล์มีเซนไคม์มีการพัฒนาไปเป็นเซลล์ต้นกำเนิดเซลล์กระดูก จึงมีการสะสมของเนื้อกระดูกมากขึ้น นอกจากนี้ มักพบว่าจะมี (secondary ossification center) ที่บริเวณปลายกระดูก โดยการสร้างกระดูกในจุดนี้จะเริ่มหลังจากคลอด การสร้างกระดูกในทั้งสองจุดจะดำเนินต่อไปจนกระทั่งมาบรรจบกันที่แนว (epiphysial plate) ซึ่งเป็นแนวของกระดูกอ่อนที่ยังสามารถทำให้เกิดการยืดของกระดูกได้ จนกระทั่งเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ แนวดังกล่าวนี้จะถูกแทนที่ด้วยกระดูกทั้งหมด
สำหรับในผู้ใหญ่ แม้กระบวนการเจริญพัฒนาของกระดูกจะหยุดไปแล้ว แต่ยังคงมีกระบวนการก่อรูปของกระดูกอย่างต่อเนื่อง เพื่อซ่อมแซมความเสียหายเล็ก ๆ น้อย ๆ ของกระดูก และเป็นการรักษาระดับแคลเซียมในกระแสเลือดอีกด้วย
ชนิดของกระดูก
เราสามารถจำแนกรูปร่างของกระดูกในมนุษย์ได้เป็นห้าแบบด้วยกัน ได้แก่
- กระดูกแบบยาว (Long bone) เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้าง และประกอบด้วยส่วนกลางกระดูก หรือ (diaphysis) และส่วนปลายกระดูก หรือ (epiphyses) กระดูกชนิดนี้เป็นชนิดที่พบได้ทั่วไปในกระดูกรยางค์
- กระดูกแบบสั้น (Short bone) เป็นกระดูกที่มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ เช่นกระดูกของและ
- (Flat bone) เป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นระนาบหรือโค้ง แต่จะมีชั้นของกระดูกเนื้อแน่นขนานไปกับกระดูกเนื้อโปร่ง ตัวอย่างเช่นกระดูกของกะโหลกศีรษะ และกระดูกอก
- กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (Irregular bone) เป็นกระดูกที่มีรูปร่างพิเศษ เช่นที่พบในกระดูกสันหลัง และกระดูกเชิงกราน
- กระดูกเซซามอยด์ (Sesamoid bone) จัดเป็นกระดูกแบบสั้นรูปแบบหนึ่ง แต่เป็นกระดูกที่ฝังตัวอยู่ในเอ็น ตัวอย่างที่เห็นชัดคือกระดูกสะบ้า (patella) ที่ฝังอยู่ในเอ็นของบริเวณเข่า
หน้าที่ของกระดูก
หน้าที่หลักของกระดูก ได้แก่
- การป้องกันอวัยวะภายในที่สำคัญ เช่น กะโหลกศีรษะที่ป้องกันสมอง หรือกระดูกซี่โครงที่ป้องกันอวัยวะในทรวงอกจากอันตรายและการกระทบกระเทือน
- การค้ำจุนโครงร่างของร่างกาย
- การเคลื่อนไหว โดยกระดูกทำหน้าที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่าง ๆ และยังประกอบเข้าด้วยกันเป็นข้อต่อที่ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ได้
- การผลิตเม็ดเลือด โดยไขกระดูกที่อยู่ภายใน เป็นแหล่งผลิตเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวที่สำคัญ
- การเก็บสะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส นอกจากนี้ยังดึงเอาโลหะหนักบางชนิดที่อยู่ในกระแสเลือดมาเก็บไว้ เพื่อลดความเป็นพิษลง
อ้างอิง
- Marieb, E.N. (1998). Human Anatomy & Physiology, 4th ed. Menlo Park, California: Benjamin/Cummings Science Publishing.
- Netter, Frank H. (1987) , Musculoskeletal system: anatomy, physiology, and metabolic disorders, Summit, New Jersey: Ciba-Geigy Corporation.
- Tortora, G. J. (1989) , Principles of Human Anatomy, 5th ed. New York: Harper & Row, Publishers.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kraduk epnxwywathiprakxbkhunepnokhrngrangaekhngphayin endoskeleton khxngstwmikraduksnhlng hnathihlkkhxngkradukkhuxkarkhacunokhrngsrangkhxngrangkay karekhluxnihw karsasmaerthatuaelakarsrangkraduktnkhakhxngmnusy kradukepnxwywathiprakxbdwy osseous tissue thimikhwamaekhngaerngaetminahnkeba karecriyphthnakhxngenuxeyuxkradukinrupaebbthiaetktangkn thaihkradukepnxwywathimihlayrupranglksna ephuxihsxdkhlxngknkbkarthangankhxngkradukinaetlaswn echnkaohlksirsa skull thimilksnaaebnaetaekhngaerngmak ephuxpxngknkarkrathbkraethuxnkhxngsmxng hruxkraduktnkha femur thimilksnayawephuxepncudekaakhxngklamenuxtang thiekiywkhxngkbkarekhluxnihwkhxngryangkhlang epntnlksnathwipkhxngkradukokhrngsrangkhxngkraduk phaphaesdngphakhtdkhwangkhxngkradukaebbyaw aesdngokhrngsrangphayinkhxngkradukswnhwkhxngkraduktnkhatdtamyaw aesdnglksnakhxngkradukenuxaenn danlang aelakradukenuxoprng danbn kradukimidepnokhrngsrangthiaekhngthubephiyngxyangediyw hakaetmichxngwangthixyurahwangokhrngsrangaekhng inkradukaebbyaw caphbwadannxkkhxngkradukcamienuxkradukthiaekhngmak sungeriykswnniwa kradukenuxaenn compact bone sungmichxngwangkhxngenuxkraduknxymak aelakhidepnpraman 80 khxngenuxkradukinphuihy swnchninkhxngkradukcamilksnathioprngkhlayesniysankn eriykwa kradukenuxoprng spongy cancellous bone sungthaihkradukmikhwameba aelaepnthixyukhxnghlxdeluxdaelaikhkraduk marrow nxksudkhxngkradukcami periosteum humxyuodyrxb aelamihlxdeluxdaelaesnprasathmaeliyngenuxkraduk ykewnthibriewnkhxtx caimmieyuxhumkradukxyu culkaywiphakhsastr enuxeyuxphunthankhxngkradukkhuxenuxeyuxekiywphnchnidphiess eriykwa osseous tissue prakxbkhuncakthimikhwamaekhngaerngaetminahnknxy sungswnihycaprakxbdwy calcium phosphate inrupkhxng calcium hydroxyapatite sungepnsarprakxbthimikhwamaekhngekrng rigidity sung aelatxtanaerngkdidmak nxkcakniyngmikhxllaecn collagen epnoprtinesniythichwyephimkhwamyudhyunkhxngkraduk emuxduokhrngsrangkhxngkradukenuxaennitklxngculthrrsn caphbwaenuxeyuxkradukmilksnathiepnwngsxn kn odythimisunyklangepnchxngkhnadihythieriykwa Haversian canal sungepnthixyukhxnghlxdeluxdthimaeliyngenuxeyuxkraduk aelawngrxb caepnthixyukhxngesllkradukthiotetmthiaelw inenuxeyuxkradukcaprakxbdwy bone cells thimiswnsakhyinkarsrangaelakarkxrupkhxngkradukxikdwy esllkradukmisamchnid idaek phaphwadaesdngphakhtdkhwangkhxngenuxeyuxkradukkhxngkradukenuxaenn aesdngkareriyngtwkhxngchxnghaewxrechiynaelaesllkradukodyrxb Osteoblast epnesllsrangenuxkradukthiecriyphthnamacak osteoprogenitor cells esllnicaxyutamkhxbkhxngenuxkraduk aelasrangoprtinthieriykwa osteoid sungoprtindngklawnicamisarxninthriymasasmaelaklayepnenuxkraduk nxkcaknixxstioxblastyngsrangexnism alkaline phosphatase sungekiywkhxngkbkarsrangenuxkraduk rwmthngsarnxkesllxunxikdwy Osteocyte epnesllthiecriytxmacakxxstioxblastthiidsrangenuxkradukcnlxmrxbtwesll aelaepnesllkradukthiecriyetmthiaelw rxb esllcaepnchxngthieriykwa lakuna lacuna aelaaetlalakunacatidtxkndwychxngthangphanelk thieriykwa khanalikhuil canaliculi sungthaihaetlaxxstioxistmikartidtxsuxsarknid xxksiecnaelasarxaharkcathuksngcakhlxdeluxdphayinchxnghaewxrechiynekhamayngaetlaesllphanthangchxngdngklawni aemxxstioxistcaepnesllkradukthiotetmthi aetmnyngmihnathiinkarkhwbkhumradbaekhlesiymaelasarnxkesllxundwy Osteoclast epnesllkhnadihythimihlayniwekhliys aelaecriymacak monocyte stem cells esllnimihnathisakhyin bone remodeling odyxasykarphlitexnism acid phosphatase inkarkrxnenuxkraduk aelathaihkradukmilksnathiehmaasm nxkcakni krabwnkardngklawyngthaihmikarnaaekhlesiymxxksukraaeseluxdxikdwykarecriyphthnakhxngkradukkhntxnkarecriyphthnakhxngkraduk aebb Endochondral ossification karecriyphthnakhxngkradukcaerimtngaetchwngthixyuinkhrrph odykrabwnkarsrangenuxkraduk ossification samarthaebngxxkidepnsxngrupaebb idaek Intramembranous ossification epnkarsrangenuxkradukcakkarrwmtwkhxngklumesllchnid mesenchymal cells sungepnesllthiekiywkhxngkbkarsrangenuxeyuxekiywphnchnidtang karrwmtwkhxngeslldngklawcathaihekid primary ossification center aelatamdwykarsasmaekhlesiyminbriewndngklaw krabwnkarnicadaenintxipcnesrcsmburn karsrangenuxkradukinlksnanimkphbin flat bone echnkaohlksirsa Endochondral ossification epnkarsrangenuxkradukthimiaebbmacakkradukxxn cartilage thimikarecriymakxnaelw odythiklumesllmiesnikhmcaekhaipaethnthiesllkradukxxnphanthanghlxdeluxd erimcakswnklangkhxngkraduksungepncudkarsrangkradukpthmphumi emuxesllmiesnikhmmikarphthnaipepneslltnkaenidesllkraduk cungmikarsasmkhxngenuxkradukmakkhun nxkcakni mkphbwacami secondary ossification center thibriewnplaykraduk odykarsrangkradukincudnicaerimhlngcakkhlxd karsrangkradukinthngsxngcudcadaenintxipcnkrathngmabrrcbknthiaenw epiphysial plate sungepnaenwkhxngkradukxxnthiyngsamarththaihekidkaryudkhxngkradukid cnkrathngekhasuwyphuihy aenwdngklawnicathukaethnthidwykradukthnghmd sahrbinphuihy aemkrabwnkarecriyphthnakhxngkradukcahyudipaelw aetyngkhngmikrabwnkarkxrupkhxngkradukxyangtxenuxng ephuxsxmaesmkhwamesiyhayelk nxy khxngkraduk aelaepnkarrksaradbaekhlesiyminkraaeseluxdxikdwychnidkhxngkradukswnprakxbaelaokhrngsrangkhxngkradukaebbyaw erasamarthcaaenkruprangkhxngkradukinmnusyidepnhaaebbdwykn idaek kradukaebbyaw Long bone epnkradukthimikhwamyawmakkwakhwamkwang aelaprakxbdwyswnklangkraduk hrux diaphysis aelaswnplaykraduk hrux epiphyses kradukchnidniepnchnidthiphbidthwipinkradukryangkh kradukaebbsn Short bone epnkradukthimilksnakhlaylukbask echnkradukkhxngaela Flat bone epnkradukthimilksnaepnranabhruxokhng aetcamichnkhxngkradukenuxaennkhnanipkbkradukenuxoprng twxyangechnkradukkhxngkaohlksirsa aelakradukxk kradukruprangimaennxn Irregular bone epnkradukthimiruprangphiess echnthiphbinkraduksnhlng aelakradukechingkran kradukessamxyd Sesamoid bone cdepnkradukaebbsnrupaebbhnung aetepnkradukthifngtwxyuinexn twxyangthiehnchdkhuxkraduksaba patella thifngxyuinexnkhxngbriewnekhahnathikhxngkradukhnathihlkkhxngkraduk idaek karpxngknxwywaphayinthisakhy echn kaohlksirsathipxngknsmxng hruxkraduksiokhrngthipxngknxwywainthrwngxkcakxntrayaelakarkrathbkraethuxn karkhacunokhrngrangkhxngrangkay karekhluxnihw odykradukthahnathiepncudekaakhxngklamenuxaelaexntang aelayngprakxbekhadwyknepnkhxtxthithaihrangkayekhluxnihwinrupaebbtang id karphlitemdeluxd odyikhkradukthixyuphayin epnaehlngphlitemdeluxdaedngaelaemdeluxdkhawthisakhy karekbsasmaerthatu odyechphaaaekhlesiymaelafxsfxrs nxkcakniyngdungexaolhahnkbangchnidthixyuinkraaeseluxdmaekbiw ephuxldkhwamepnphislngxangxingMarieb E N 1998 Human Anatomy amp Physiology 4th ed Menlo Park California Benjamin Cummings Science Publishing Netter Frank H 1987 Musculoskeletal system anatomy physiology and metabolic disorders Summit New Jersey Ciba Geigy Corporation Tortora G J 1989 Principles of Human Anatomy 5th ed New York Harper amp Row Publishers duephimokhrngkradukmnusy raychuxkradukinrangkaymnusy