ประเพณีชักพระ ประเพณีลากพระ หรือ ประเพณีแห่พระ เป็นประเพณีทางพระพุทธศาสนาซึ่งพบมากในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นประเพณีที่มีการอัญเชิญพระพุทธรูปออกแห่รอบเมืองในวันหลังวันออกพรรษา ถือเป็นการจำลองเหตุการณ์ครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ โดยการอัญเชิญพระพุทธรูป ขึ้นประดิษฐานบนเรือพระแล้วชักลากไปในพื้นที่ต่าง ๆ ให้ชาวบ้านได้ร่วมทำบุญ มีการแห่เรือพระ ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือ เรือพระบก สำหรับแห่ทางบก และเรือพระน้ำ สำหรับแห่ทางน้ำ โดยเรือจะมีการประดับตกแต่งอย่างสวยงาม
ประเพณีชักพระ | |
---|---|
ซ้าย : ประเพณีชักพระที่คลองชักพระ บริเวณวัดช่างเหล็ก ขวา : เรือพนมพระในประเพณีชักพระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี | |
จัดขึ้นโดย | พบมากในภาคใต้ของประเทศไทย |
การถือปฏิบัติ | อัญเชิญพระพุทธรูปออกแห่รอบเมือง |
วันที่ | วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 |
ความถี่ | เทศกาลประจำปี |
ประวัติ
สันนิษฐานว่า ประเพณีชักพระน่าจะได้รับอิทธิพลมาจากประเทศอินเดียตามศาสนาพราหมณ์ ซึ่งนิยมนำเอาเทวรูปออกแห่แหนในโอกาสต่าง ๆ เช่น การแห่เทวรูปพระอิศวร เทวรูปพระนารายณ์ เป็นต้น พุทธศาสนิกชนจึงนำแนวคิดนี้มาดัดแปลงให้สอดคล้องกับความเชื่อทางพุทธศาสนา ที่เล่ากันว่า หลังจากพระพุทธองค์ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์ปราบเดียรถีย์ ณ ป่ามะม่วง กรุงสาวัตถี แล้วได้เสร็จไปจำพรรษา ณ ดาวดึงส์เพื่อโปรดพุทธมารดา พระพุทธองค์ได้เสด็จกลับมนุษยโลกทางบันไดทิพย์ที่พระอินทร์นิมิตถวาย ประกอบด้วยบันไดทอง บันไดเงินและบันไดแก้ว
พระพุทธองค์เสด็จมาถึงประตูนครสังกัสสะตอนเช้าตรู่ของวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ซึ่งเป็นวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนได้ราบกำหนดการเสด็จกลับของพระพุทธองค์จากพระโมคคัลลาน์ ต่างมารอรับเสด็จพร้อมกับเตรียมภัตตาหารไปถวายด้วย แต่เนื่องจากไม่สามารถเข้าไปถวายภัตตาหารถึงพระพุทธองค์ได้ทุกคน จึงจำเป็นที่ต้องเอาภัตตาหารห่อใบไม้ส่งต่อ ๆ แต่ก็ไม่สามารถส่งได้ทันใจจึงต้องโยนบ้าง ปาบ้าง เหตุการณ์นี้จึงเกิดประเพณี ห่อต้ม หรือ ห่อปัด จากนั้นได้อัญเชิญพระพุทธองค์ขึ้นประทับบนบุษบก แห่ไปยังที่ประทับของพระองค์ ภายหลังจึงมีประเพณีเช่นนี้สืบต่อกันมาในทุกวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11
จากบันทึกของอี้จิง ภิกษุชาวจีน ซึ่งจาริกผ่านคาบสมุทรมลายู เมื่อ พ.ศ. 1214–1238 ได้เห็นประเพณีนี้ที่เมืองโฮลิง (ตันมาลิงหรือตามพรลิงค์) จึงเชื่อว่าประเพณีชักพระน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยศรีวิชัย โดยบันทึกไว้ว่า
พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งมีคนแห่แหนนำมาจากวัดโดยประดิษฐานบนรถหรือบนแคร่มีพระสงฆ์และฆราวาสหมู่ใหญ่แวดล้อมมา มีการตีกลองและบรรเลงดนตรีต่าง ๆ มีการถวายของหอมดอกไม้และถือธงชนิดต่าง ๆ ที่ทอแสงในกลางแดด พระพุทธรูปเสด็จไปสู่หมู่บ้านด้วยวิธีดังกล่าวนี้ภายใต้เพดานกว้างขวาง
ในสมัยอยุธยาปรากฏในเรื่องประทวนตราให้แก่พระครูอินทโมฬี คณะป่าแก้ว หัวเมืองพัทลุงใน พ.ศ. 2242 ว่า "แลราชการเมืองซึ่งเป็นพำนัดแก่ขุนหมื่นกรมคณะป่าแก้ว มีหน้าที่เมืองเส้นหนึ่งพระราชพิธีตรุศสารท แลงานลากพระ เจ้าเมืองจะได้เบียดเสียดเอาข้าพระไปใช้ราชการนอกนั้นหามิได้" ส่วนในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีระบุถึงผู้ตีกลอง ว่า "ขุนรันไภรีถือศักดินา 200 พนักงานตีกลองแห่พระ" ตำแหน่งนี้มีมาจนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งปรากฏอยู่ในทำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราชครั้งรัชกาลที่ 2 ว่า "ขุนรันไภรีถือศักดินา 200 พนักงาน ตีกลอง แห่พระ"
ขั้นตอน
ก่อนถึงวันชักพระจะมี การคุมพระ ที่วัด คือ จะตีตะโพนหรือกลองเพลก่อนจะถึงวันชักพระประมาณ 10–15 วัน เพื่อเป็นการเตือนชาวบ้านว่าจะมีการชักพระ หลังจากนั้นพระสงฆ์และชาวบ้านจะช่วยกันเตรียมเรือ ถ้าเป็นการชักพระทางบก จะมีการจัดเตรียมขบวนผู้คนที่จะชักพระ ชุดแต่งตัวสำหรับการลากเรือพระ หรือมีการฟ้อนรำหน้าเรือพระ หากเป็นการชักพระทางน้ำ ชาวบ้านจะเตรียมตัวตกแต่งเรือพาย สรรหาฝีพาย และเตรียมเครื่องแต่งตัว
การชักพระจะเริ่มตอนเช้าตรู่ของวันออกพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 11 และเริ่มชักพระเป็นวันแรก ประชาชนจะเดินทางไปวัด เพื่อนำภัตตาหารไปใส่บาตร หลังจากที่พระฉันภัตตาหารเสร็จ ชาวบ้านจะนิมนต์พระภิกษุในวัดขึ้นนั่งประจำเรือพระ แล้วชาวบ้านจะช่วยกันลากเรือพระ ออกจากวัดตั้งแต่เช้าตรู่ หากเป็นทางน้ำจะใช้เรือพายลาก ถ้าเป็นการชักพระทางบก จะใช้คนเดินลาก ซึ่งก่อนถึงช่วงเวลาเพล เรือพระที่ลาก จะมาถึงที่ชุมนุมเรือพระ ทั้งการชักพระทางบกและการชักพระทางน้ำ เพื่อให้ประชาชนถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุสามเณร ที่ชุมนุมเรือพระจึงคับคั่งไปด้วยประชาชน
สถานที่จัด
การชักพระทางน้ำที่โด่งดังและมีชื่อเสียงอยู่ที่อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร อำเภอพุนพินและอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นต้น งานที่อำเภอเบตง จังหวัดยะลา มีชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย จากรัฐเปรัก ร่วมกันชักลากเรือพระรวมถึงส่งเรือร่วมงาน
ประเพณีชักพระของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจุบันยังคงมีในหลายพื้นที่ ได้แก่ อำเภอไชยา อำเภอท่าฉาง อำเภอพุนพิน อำเภอกาญจนดิษฐ์ อำเภอเกาะสมุย อำเภอเกาะพะงัน อำเภอเวียงสระ อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี ส่วนอำเภออื่น ๆ แม้ไม่ได้มีการจัดงานประเพณีชักพระในอำเภอ แต่ล้วนมีส่วนร่วมในงานประเพณีชักพระทั้งสิ้น เช่น ส่งเรือพระเข้าร่วมงานประเพณีชักพระที่ทางอำเภอเมืองจัดขึ้น
ในกรุงเทพมหานครมีการจัดงานประเพณีชักพระหรือในปัจจุบันเรียกว่า งานแห่พระบรมสารีริกธาตุ จัดในช่วงวันแรม 2 ค่ำ เดือน 12 มีพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุสู่พระมณฑป ณ วัดนางชี เขตภาษีเจริญ ใช้เส้นทางคลองด่าน ผ่านคลองบางกอกใหญ่ เข้าคลองชักพระ และสิ้นสุดที่สำนักงานเขตตลิ่งชัน
เรือพระ
เรือพระมีวิวัฒนาการมาจากหนวน ซึ่งมีไม้ท่อนสองท่อนใหญ่ ส่วนหัวและท้ายมีรูปลักษณ์คล้ายเรือ วางเคียงกันมีระยะห่างประมาณ 15 เมตร สำหรับวางกระบะไม้เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้ไม้แผ่นเรียบด้านล่างและตีกั้นรอบ ๆ ทั้งสี่ด้านเพื่อบรรทุกสิ่งของต่าง ๆ ใช้สัตว์ชักลาก ต่อมามีการใช้ล้อเลื่อน ทำรถสำหรับบุษบกซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปเพื่อชักลาก
ทางบกบุษบกจะตั้งอยู่บนพาหนะ ทำเป็นรูปเรือหรือพญานาคเรียกกันว่า นมพระ (พนมพระ) หากเป็นทางน้ำเรียก เรือพระ คือการเอาเรือหลายลำมาเทียบเรียงขนานผูกติดกันเป็นแพขนาดใหญ่ ประดับตกแต่งอย่างปราสาทมณฑปวิจิตรงดงาม แห่แหนมีเครื่องดนตรีประโคมไปตามทางน้ำ ทำให้เกิดประเพณีการละเล่นตามมา เช่น การเล่นเพลงเรือ การประชันปืด (ตะโพน) การประชันโพน(กลอง) การแข่งเรือ และการประกวดประชันอื่น ๆ ตลอดจนการสร้างพระพุทธรูปขึ้นใหม่ เพื่อใช้ในงานประเพณีเป็นต้น
ปัจจุบันเรือพระส่วนใหญ่นิยมใช้รถกระบะ ตกแต่งด้วยโฟมแกะสลักเป็นลวดลายไทย สีสันสวยงามมาก
อ้างอิง
- . สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพังงา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-21. สืบค้นเมื่อ 2021-11-21.
- พงศ์ไพบูลย์, สุธิวงศ์ (2529). สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม 8. p. 3153.
- "ประเพณีลากพระ (Traditional Lak Phra)". ฐานข้อมูลท้องถิ่นภาคใต้-มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
- "แห่ทำบุญคึกคักทั่วไทย วันออกพรรษา มาเลย์ร่วมชักพระเบตง". แนวหน้า.
- พระมหาฐิติพงศ์ชูจิตต. "บทบาทของพระสงฆ์ต่อการมีส่วนร่วมในการสงวนรักษา ประเพณีชักพระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี" (PDF). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. p. 17.
- "กทม.สืบสาน "ประเพณีชักพระ" เก่าแก่แต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์". สยามรัฐออนไลน์.
- ในชีวิตไทยปักษ์ใต้. วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช. 2519. p. 16.
- สถาพร คงขุนทศ. (2536). ประเพณีชักพระ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
praephnichkphra praephnilakphra hrux praephniaehphra epnpraephnithangphraphuththsasnasungphbmakinphakhitkhxngpraethsithy epnpraephnithimikarxyechiyphraphuththrupxxkaehrxbemuxnginwnhlngwnxxkphrrsa thuxepnkarcalxngehtukarnkhrngthiphraphuththecaesdcklbcakswrrkhchndawdungs odykarxyechiyphraphuththrup khunpradisthanbneruxphraaelwchklakipinphunthitang ihchawbanidrwmthabuy mikaraeheruxphra sungmixyu 2 praephth khux eruxphrabk sahrbaehthangbk aelaeruxphrana sahrbaehthangna odyeruxcamikarpradbtkaetngxyangswyngampraephnichkphraifl Chak Phra Festival jpgsay praephnichkphrathikhlxngchkphra briewnwdchangehlk khwa eruxphnmphrainpraephnichkphra cnghwdsurasdrthanicdkhunodyphbmakinphakhitkhxngpraethsithykarthuxptibtixyechiyphraphuththrupxxkaehrxbemuxngwnthiwnaerm 1 kha eduxn 11khwamthiethskalpracapiprawtisnnisthanwa praephnichkphranacaidrbxiththiphlmacakpraethsxinediytamsasnaphrahmn sungniymnaexaethwrupxxkaehaehninoxkastang echn karaehethwrupphraxiswr ethwrupphranarayn epntn phuththsasnikchncungnaaenwkhidnimaddaeplngihsxdkhlxngkbkhwamechuxthangphuththsasna thielaknwa hlngcakphraphuththxngkhthrngkrathaymkpatihariyprabediyrthiy n pamamwng krungsawtthi aelwidesrcipcaphrrsa n dawdungsephuxoprdphuththmarda phraphuththxngkhidesdcklbmnusyolkthangbnidthiphythiphraxinthrnimitthway prakxbdwybnidthxng bnidenginaelabnidaekw phraphuththxngkhesdcmathungpratunkhrsngkssatxnechatrukhxngwnaerm 1 kha eduxn 11 sungepnwnxxkphrrsa phuththsasnikchnidrabkahndkaresdcklbkhxngphraphuththxngkhcakphraomkhkhllan tangmarxrbesdcphrxmkbetriymphttaharipthwaydwy aetenuxngcakimsamarthekhaipthwayphttaharthungphraphuththxngkhidthukkhn cungcaepnthitxngexaphttaharhxibimsngtx aetkimsamarthsngidthniccungtxngoynbang pabang ehtukarnnicungekidpraephni hxtm hrux hxpd caknnidxyechiyphraphuththxngkhkhunprathbbnbusbk aehipyngthiprathbkhxngphraxngkh phayhlngcungmipraephniechnnisubtxknmainthukwnaerm 1 kha eduxn 11 cakbnthukkhxngxicing phiksuchawcin sungcarikphankhabsmuthrmlayu emux ph s 1214 1238 idehnpraephninithiemuxngohling tnmalinghruxtamphrlingkh cungechuxwapraephnichkphranacamimatngaetsmysriwichy odybnthukiwwa phraphuththrupskdisiththixngkhhnungmikhnaehaehnnamacakwdodypradisthanbnrthhruxbnaekhrmiphrasngkhaelakhrawashmuihyaewdlxmma mikartiklxngaelabrrelngdntritang mikarthwaykhxnghxmdxkimaelathuxthngchnidtang thithxaesnginklangaedd phraphuththrupesdcipsuhmubandwywithidngklawniphayitephdankwangkhwang insmyxyuthyapraktineruxngprathwntraihaekphrakhruxinthomli khnapaaekw hwemuxngphthlungin ph s 2242 wa aelrachkaremuxngsungepnphandaekkhunhmunkrmkhnapaaekw mihnathiemuxngesnhnungphrarachphithitrussarth aelnganlakphra ecaemuxngcaidebiydesiydexakhaphraipichrachkarnxknnhamiid swninsmyphraecaxyuhwbrmoks mirabuthungphutiklxng wa khunrniphrithuxskdina 200 phnkngantiklxngaehphra taaehnngnimimacnsmykrungrtnoksinthr sungpraktxyuinthaeniybkharachkaremuxngnkhrsrithrrmrachkhrngrchkalthi 2 wa khunrniphrithuxskdina 200 phnkngan tiklxng aehphra khntxnchudaetngtwsahrbkarlakeruxphra inpraephnichkphrathikhlxngchkphra krungethphmhankhr kxnthungwnchkphracami karkhumphra thiwd khux catitaophnhruxklxngephlkxncathungwnchkphrapraman 10 15 wn ephuxepnkaretuxnchawbanwacamikarchkphra hlngcaknnphrasngkhaelachawbancachwyknetriymerux thaepnkarchkphrathangbk camikarcdetriymkhbwnphukhnthicachkphra chudaetngtwsahrbkarlakeruxphra hruxmikarfxnrahnaeruxphra hakepnkarchkphrathangna chawbancaetriymtwtkaetngeruxphay srrhafiphay aelaetriymekhruxngaetngtw karchkphracaerimtxnechatrukhxngwnxxkphrrsa aerm 1 kha eduxn 11 aelaerimchkphraepnwnaerk prachachncaedinthangipwd ephuxnaphttaharipisbatr hlngcakthiphrachnphttaharesrc chawbancanimntphraphiksuinwdkhunnngpracaeruxphra aelwchawbancachwyknlakeruxphra xxkcakwdtngaetechatru hakepnthangnacaicheruxphaylak thaepnkarchkphrathangbk caichkhnedinlak sungkxnthungchwngewlaephl eruxphrathilak camathungthichumnumeruxphra thngkarchkphrathangbkaelakarchkphrathangna ephuxihprachachnthwayphttaharaekphraphiksusamenr thichumnumeruxphracungkhbkhngipdwyprachachnsthanthicdkarchkphrathangnathiodngdngaelamichuxesiyngxyuthixaephxkraburi cnghwdranxng xaephxhlngswn cnghwdchumphr xaephxphunphinaelaxaephxemuxngsurasdrthani cnghwdsurasdrthani xaephxpakphnng cnghwdnkhrsrithrrmrach aelaxaephxraond cnghwdsngkhla epntn nganthixaephxebtng cnghwdyala michawmaelesiyechuxsayithy cakrtheprk rwmknchklakeruxphrarwmthungsngeruxrwmngan praephnichkphrakhxngcnghwdsurasdrthani pccubnyngkhngmiinhlayphunthi idaek xaephxichya xaephxthachang xaephxphunphin xaephxkaycndisth xaephxekaasmuy xaephxekaaphangn xaephxewiyngsra xaephxemuxngsurasdrthani swnxaephxxun aemimidmikarcdnganpraephnichkphrainxaephx aetlwnmiswnrwminnganpraephnichkphrathngsin echn sngeruxphraekharwmnganpraephnichkphrathithangxaephxemuxngcdkhun inkrungethphmhankhrmikarcdnganpraephnichkphrahruxinpccubneriykwa nganaehphrabrmsaririkthatu cdinchwngwnaerm 2 kha eduxn 12 miphithixyechiyphrabrmsaririkthatusuphramnthp n wdnangchi ekhtphasiecriy ichesnthangkhlxngdan phankhlxngbangkxkihy ekhakhlxngchkphra aelasinsudthisanknganekhttlingchneruxphraeruxphra eruxphramiwiwthnakarmacakhnwn sungmiimthxnsxngthxnihy swnhwaelathaymiruplksnkhlayerux wangekhiyngknmirayahangpraman 15 emtr sahrbwangkrabaimepnsiehliymphunpha ichimaephneriybdanlangaelatiknrxb thngsidanephuxbrrthuksingkhxngtang ichstwchklak txmamikarichlxeluxn tharthsahrbbusbksungpradisthanphraphuththrupephuxchklak thangbkbusbkcatngxyubnphahna thaepnruperuxhruxphyanakheriykknwa nmphra phnmphra hakepnthangnaeriyk eruxphra khuxkarexaeruxhlaylamaethiyberiyngkhnanphuktidknepnaephkhnadihy pradbtkaetngxyangprasathmnthpwicitrngdngam aehaehnmiekhruxngdntripraokhmiptamthangna thaihekidpraephnikarlaelntamma echn karelnephlngerux karprachnpud taophn karprachnophn klxng karaekhngerux aelakarprakwdprachnxun tlxdcnkarsrangphraphuththrupkhunihm ephuxichinnganpraephniepntn pccubneruxphraswnihyniymichrthkraba tkaetngdwyofmaekaslkepnlwdlayithy sisnswyngammakxangxing sanknganwthnthrrmcnghwdphngnga khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 11 21 subkhnemux 2021 11 21 phngsiphbuly suthiwngs 2529 saranukrmwthnthrrmphakhit elm 8 p 3153 praephnilakphra Traditional Lak Phra thankhxmulthxngthinphakhit mhawithyalysngkhlankhrinthr aehthabuykhukkhkthwithy wnxxkphrrsa maelyrwmchkphraebtng aenwhna phramhathitiphngschucitt bthbathkhxngphrasngkhtxkarmiswnrwminkarsngwnrksa praephnichkphra cnghwdsurasdrthani PDF mhawithyalythrrmsastr p 17 kthm subsan praephnichkphra ekaaekaettnkrungrtnoksinthr syamrthxxniln inchiwitithypksit withyalykhrunkhrsrithrrmrach 2519 p 16 sthaphr khngkhunths 2536 praephnichkphra krungethph krmsilpakr