บทความนี้ไม่มีจาก |
ในเรื่องเมทริกซ์ การแยกแบบโชเลสกี (อังกฤษ: Cholesky decomposition) ซึ่งตั้งชื่อตาม นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เป็นวิธีของ (Symmetric positive-definite matrix) ไปเป็น (Lower triangular matrix) และ เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของเมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง
(Square Matrix) ใด ๆ A สามารถเขียนให้อยู่ในรูปผลคูณของ เมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง L และ (Upper triangular matrix) U หรือเรียกว่า (LU decomposition) ซึ่งหาก A เป็นเมทริกซ์สมมาตรที่เป็นบวกแน่นอนแล้ว เราสามารถหาเมทริกซ์ U ที่เป็นเมทริกซ์สลับเปลี่ยนของ L ได้ เรียกวิธีนี้ว่า การแยกแบบโชเลสกี
ทั้งวิธีการแยกแบบแอลยู และ แบบโชเลสกี ใช้ในการแก้ปัญหาเรื่องสมการเชิงเส้น โดยวิธีการแยกแบบโชเลสกีจะมีประสิทธิภาพมากกว่า
นิยาม
ให้ A เป็นเมทริกซ์สมมาตรที่เป็นบวกแน่นอนของจำนวนจริง ดังนั้น A สามารถแยกเป็น
โดยที่ L คือ เมทริกซ์สามเหลี่ยมล่างที่สมาชิกแนวทแยงมุมมีค่าเป็นบวก และ LT คือ เมทริกซ์สลับเปลี่ยนของ L
ส่วนขยายจำนวนเชิงซ้อน
จากนิยามข้างบนสามารถขยายไปยังเมทริกซ์ของจำนวนเชิงซ้อนได้โดย ถ้า A เป็น (Self-adjoint matix หรือ Hermitian matrix) และเป็นบวกแน่นอนแล้ว A สามารถแยกได้เป็น
โดยที่ L* คือ เมทริกซ์ (Conjugate transpose) ของ L
การแยกแบบโชเลสกีมีคุณสมบัติความเป็นหนึ่งเดียวกล่าวคือ ถ้า A เป็นเมทริกซ์ผูกพันในตัวและเป็นบวกแน่นอนแล้ว จะมีเมทริกซ์สามเหลี่ยมล่างที่มีสมาชิกแนวทแยงมุมเป็นบวก L เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่ทำให้ A = LL* ในทางกลับกัน ถ้า A สามารถแยกได้เป็น LL* โดยที่ L เป็นเมทริกซ์สามเหลี่ยมล่างที่มีสมาชิกแนวทแยงมุมเป็นบวกแล้ว A จะเป็นเมทริกซ์ผูกพันในตัวและเป็นบวกแน่นอน
การประยุกต์ใช้
การแยกแบบโชเลสกีส่วนใหญ่ใช้ในการแก้ปัญหาสมการเชิงเส้น Ax = b ถ้าเมทริกซ์ A สมมาตรและเป็นบวกแน่นอน เราสามารถแก้ปัญหา Ax = b โดยเริ่มแรกการคำนวณการแยกแบบโชเลสกี A = LLT จากนั้นหา y ที่ทำให้ Ly = b และสุดท้ายหา x ที่ทำให้ LTx = y
ระบบที่มีรูปแบบ Ax = b โดยที่ A สมมาตรและเป็นบวกแน่นอน เกิดขึ้นบ่อยครั้งในการประยุกต์ใช้ ยกตัวอย่างเช่น สมการทั่วไปในเรื่องเชิงเส้น (linear least square) หรืออาจพบในเรื่องเกี่ยวกับฟังก์ชันพลังงานซึ่งต้องเป็นบวกในทางฟิสิกส์ และเกิดขึ้นบ่อยครั้งในการแก้ปัญหาเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย (Partial differential equation)
การแยกแบบโชเลสกียังใช้ในเรื่อง (Monte Carlo method) ในการจำลองระบบที่มีหลายตัวแปรสัมพันธ์กัน โดยเมทริกซ์สหสัมพันธ์ (Correlation) ระหว่างตัวแปรจะถูกแยกเพื่อหาเมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง L เพื่อใช้กับเวกเตอร์ของช็อกจำลองที่ไม่สัมพันธ์กัน (Uncorrelated simulated shock) u ทำให้ได้ (Shock vector) Lu มี่มีคุณสมบัติความแปรปรวนร่วมเกี่ยว (Covariance) ของระบบที่เรากำลังจำลองอยู่
วิธีการคำนวณ
การแยกแบบโชเลสกีมีวิธีคำนวณหลายแบบ ขั้นตอนวิธีที่อธิบายข้างล่างทั้งหมดนั้นใช้ n3/3 ฟล็อปส์ (FLOPS) โดยที่ n คือขนาดของเมทริกซ์ A ดังนั้นการแยกแบบอจึงมีประสิทธิภาพมากกว่าถึงสองเท่าเทียบกับการแยกแบบแอลยูซึ่งใช้ 2n3/3 ฟล็อปส์
ขั้นตอนวิธีอ
ขั้นตอนวิธีโชเลสกี (Cholesky algorithm) เป็นวิธีการหาเมทริกซ์ L โดยปรับปรุงมาจาก
ขั้นตอนวิธีเรียกซ้ำเริ่มต้นโดยให้ i := 1 และ
ที่ขั้นตอน i, เมทริกซ์ A (i) มีรูปแบบดังนี้:
โดยที่ Ii−1 คือ เมทริกซ์เอกลักษณ์ ที่มีขนาด i − 1.
ถ้าเรากำหนดให้เมทริกซ์ Li โดยที่
แล้วเราสามารถเขียน A (i) เป็น
โดยที่
สังเกตว่า bibi* คือ ดังนั้นเราจึงเรียกวิธีนี้ว่า รูปแบบผลคูณภายนอก (Outer product version)
เราทำซ้ำตามวิธีการนี้ตั้งแต่ i เท่ากับ 1 จนถึง n โดยหลังจากจบขั้นตอนที่ n จะได้ A (n+1) = I ดังนั้น เมทริกซ์สามเหลี่ยมล่าง L ที่ต้องการคำนวณได้จาก
ดูเพิ่ม
- (Numerical method)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ineruxngemthriks karaeykaebbochelski xngkvs Cholesky decomposition sungtngchuxtam nkkhnitsastrchawfrngess epnwithikhxng Symmetric positive definite matrix ipepn Lower triangular matrix aela emthriksslbepliynkhxngemthrikssamehliymlang Square Matrix id A samarthekhiynihxyuinrupphlkhunkhxng emthrikssamehliymlang L aela Upper triangular matrix U hruxeriykwa LU decomposition sunghak A epnemthrikssmmatrthiepnbwkaennxnaelw erasamarthhaemthriks U thiepnemthriksslbepliynkhxng L id eriykwithiniwa karaeykaebbochelski thngwithikaraeykaebbaexlyu aela aebbochelski ichinkaraekpyhaeruxngsmkarechingesn odywithikaraeykaebbochelskicamiprasiththiphaphmakkwaniyamih A epnemthrikssmmatrthiepnbwkaennxnkhxngcanwncring dngnn A samarthaeykepn A LL displaystyle mathbf A mathbf L mathbf L top odythi L khux emthrikssamehliymlangthismachikaenwthaeyngmummikhaepnbwk aela LT khux emthriksslbepliynkhxng Lswnkhyaycanwnechingsxncakniyamkhangbnsamarthkhyayipyngemthrikskhxngcanwnechingsxnidody tha A epn Self adjoint matix hrux Hermitian matrix aelaepnbwkaennxnaelw A samarthaeykidepn A LL displaystyle mathbf A mathbf L mathbf L odythi L khux emthriks Conjugate transpose khxng L karaeykaebbochelskimikhunsmbtikhwamepnhnungediywklawkhux tha A epnemthriksphukphnintwaelaepnbwkaennxnaelw camiemthrikssamehliymlangthimismachikaenwthaeyngmumepnbwk L ephiyngtwediywethannthithaih A LL inthangklbkn tha A samarthaeykidepn LL odythi L epnemthrikssamehliymlangthimismachikaenwthaeyngmumepnbwkaelw A caepnemthriksphukphnintwaelaepnbwkaennxnkarprayuktichkaraeykaebbochelskiswnihyichinkaraekpyhasmkarechingesn Ax b thaemthriks A smmatraelaepnbwkaennxn erasamarthaekpyha Ax b odyerimaerkkarkhanwnkaraeykaebbochelski A LLT caknnha y thithaih Ly b aelasudthayha x thithaih LTx y rabbthimirupaebb Ax b odythi A smmatraelaepnbwkaennxn ekidkhunbxykhrnginkarprayuktich yktwxyangechn smkarthwipineruxngechingesn linear least square hruxxacphbineruxngekiywkbfngkchnphlngngansungtxngepnbwkinthangfisiks aelaekidkhunbxykhrnginkaraekpyhaechingtwelkhkhxngsmkarechingxnuphnthyxy Partial differential equation karaeykaebbochelskiyngichineruxng Monte Carlo method inkarcalxngrabbthimihlaytwaeprsmphnthkn odyemthriksshsmphnth Correlation rahwangtwaeprcathukaeykephuxhaemthrikssamehliymlang L ephuxichkbewketxrkhxngchxkcalxngthiimsmphnthkn Uncorrelated simulated shock u thaihid Shock vector Lu mimikhunsmbtikhwamaeprprwnrwmekiyw Covariance khxngrabbthierakalngcalxngxyuwithikarkhanwnkaraeykaebbochelskimiwithikhanwnhlayaebb khntxnwithithixthibaykhanglangthnghmdnnich n3 3 flxps FLOPS odythi n khuxkhnadkhxngemthriks A dngnnkaraeykaebbxcungmiprasiththiphaphmakkwathungsxngethaethiybkbkaraeykaebbaexlyusungich 2n3 3 flxps khntxnwithix khntxnwithiochelski Cholesky algorithm epnwithikarhaemthriks L odyprbprungmacak khntxnwithieriyksaerimtnodyih i 1 aela A 1 A displaystyle mathbf A 1 mathbf A thikhntxn i emthriks A i mirupaebbdngni A i Ii 1000ai ibi 0biB i displaystyle mathbf A i begin pmatrix mathbf I i 1 amp 0 amp 0 0 amp a i i amp mathbf b i 0 amp mathbf b i amp mathbf B i end pmatrix odythi Ii 1 khux emthriksexklksn thimikhnad i 1 thaerakahndihemthriks Liodythi Li Ii 1000ai i001ai ibiIn i displaystyle mathbf L i begin pmatrix mathbf I i 1 amp 0 amp 0 0 amp sqrt a i i amp 0 0 amp frac 1 sqrt a i i mathbf b i amp mathbf I n i end pmatrix aelwerasamarthekhiyn A i epn A i LiA i 1 Li displaystyle mathbf A i mathbf L i mathbf A i 1 mathbf L i odythi A i 1 Ii 10001000B i 1ai ibibi displaystyle mathbf A i 1 begin pmatrix mathbf I i 1 amp 0 amp 0 0 amp 1 amp 0 0 amp 0 amp mathbf B i frac 1 a i i mathbf b i mathbf b i end pmatrix sngektwa bibi khux dngnneracungeriykwithiniwa rupaebbphlkhunphaynxk Outer product version erathasatamwithikarnitngaet i ethakb 1 cnthung n odyhlngcakcbkhntxnthi n caid A n 1 I dngnn emthrikssamehliymlang L thitxngkarkhanwnidcak L L1L2 Ln displaystyle mathbf L mathbf L 1 mathbf L 2 dots mathbf L n duephim Numerical method