วงโคจรเค็พเพลอร์ (Keplerbahn) ในทางกลศาสตร์ท้องฟ้า ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ในวงโคจรของวัตถุที่เคลื่อนที่บนวงโคจรวงรี พาราโบลา หรือ ไฮเพอร์โบลา ในปริภูมิสามมิติบนสองมิติ (นอกจากนี้ วงโคจรเค็พเพลอร์อาจสามารถเป็นเส้นตรงได้เช่นกัน) โดยจะพิจารณาเฉพาะปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงโน้มถ่วงระหว่างวัตถุที่มีลักษณะเป็นจุด 2 ชิ้น โดยไม่สนใจการรบกวนของปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงโน้มถ่วงกับ วัตถุ อื่น ๆ เช่นของชั้นบรรยากาศ ความดันรังสีจากดวงอาทิตย์ วัตถุ ความไม่เป็นทรงกลม และอื่น ๆ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเป็นวิธีแก้ปัญหากรณีพิเศษของ หรือที่เรียกว่า ในกลศาสตร์ดั้งเดิมจะไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปด้วย วงโคจรของเค็พเพลอร์สามารถแสดงวงโคจรประเภทต่าง ๆ ได้โดยใช้องค์ประกอบวงโคจร 6 ตัว
ในการใช้งานส่วนใหญ่ มวลที่จุดศูนย์กลางจะถือว่าเป็นจุดศูนย์กลางมวลของระบบทั้งหมด เมื่อผ่านการจากวิเคราะห์แล้ว วัตถุสองชิ้นที่มีมวลใกล้เคียงกันสามารถใช้วงโคจรเค็พเพลอร์เพื่ออธิบายการเคลื่อนที่รอบจุดศูนย์กลางมวล (คือศูนย์กลางความโน้มถ่วง) ของระบบ
ประวัติศาสตร์
ก่อนศตวรรษที่ 16 และ 17 เป็นที่เชื่อกันโดยทั่วไปว่าการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์เป็นไปตามแนวคิดโลกเป็นศูนย์กลางที่สอนโดยนักปรัชญาชาวกรีกโบราณ อาริสโตเติล และ ปโตเลไมโอส โดยวงโคจรเป็นวงกลมในอุดมคติ ความผันแปรในการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์อธิบายได้โดยเส้นทางของวงกลมขนาดเล็กที่ซ้อนทับบนเส้นทางของวงกลมขนาดใหญ่ เมื่อการวัดตำแหน่งของดาวเคราะห์มีความแม่นยำมากขึ้น การแก้ไขเพื่อสนับสนุนทฤษฎีนั้นก็ยิ่งเพิ่มวงกลมมากขึ้น ในปี ค.ศ. 1543 นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัสได้เผยแพร่แบบจำลองระบบสุริยะด้วยแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง แต่เขาก็ยังเชื่อว่าดาวเคราะห์เคลื่อนที่ในเส้นทางการโคจรเป็นวงกลมในอุดมคติโดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ดวงอาทิตย์
หลังจากนั้นในปี 1609 โยฮันเนิส เค็พเพลอร์จึงได้เสนอกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์ขึ้น โดยตามกฎข้อแรกของเค็พเพลอร์แล้ววงโคจรของดาวเคราะห์ทั้งหมดเป็นวงรี โดยดวงอาทิตย์ไม่ได้อยู่ที่ศูนย์กลางของวงโคจร แต่อยู่ที่จุดโฟกัสจุดหนึ่งของวงรี นอกจากนี้แล้วรูปแบบการโคจรแบบอื่นเช่นพาราโบลาและไฮเพอร์โบลาก็ได้ถูกทำนายไว้เช่นกัน วงโคจรของการเคลื่อนที่ซึ่งอธิบายโดยเค็พเพลอร์นี้ถูกเรียกว่า วงโคจรเค็พเพลอร์
วงโคจรแบบต่าง ๆ
วงโคจรเค็พเพลอร์อาจแบ่งโดยขึ้นอยู่กับความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร ได้เป็น
อนึ่ง กรณีของพาราโบลาและไฮเพอร์โบลานั้นเนื่องจากการเคลื่อนที่ไม่ได้มีลักษณะเป็นวงปิดจึงมักใช้คำว่า "วิถีโคจร" (trajectory) แทนที่ "วงโคจร" (orbit)
อ้างอิง
- Copernicus. pp 513–514
- El'Yasberg "Theory of flight of artificial earth satellites", Israel program for Scientific Translations (1967)
- Bate, Roger; Mueller, Donald; White, Jerry (1971). Fundamentals of Astrodynamics. Dover Publications, Inc., New York. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wngokhcrekhphephlxr Keplerbahn inthangklsastrthxngfa ichxthibaykarekhluxnthiinwngokhcrkhxngwtthuthiekhluxnthibnwngokhcrwngri pharaobla hrux ihephxrobla inpriphumisammitibnsxngmiti nxkcakni wngokhcrekhphephlxrxacsamarthepnesntrngidechnkn odycaphicarnaechphaaptismphnthrahwangaerngonmthwngrahwangwtthuthimilksnaepncud 2 chin odyimsnickarrbkwnkhxngptismphnthrahwangaerngonmthwngkb wtthu xun echnkhxngchnbrryakas khwamdnrngsicakdwngxathity wtthu khwamimepnthrngklm aelaxun dngnncungklawidwaepnwithiaekpyhakrniphiesskhxng hruxthieriykwa inklsastrdngedimcaimidkhanungthungphlkrathbkhxngthvsdismphththphaphthwipdwy wngokhcrkhxngekhphephlxrsamarthaesdngwngokhcrpraephthtang idodyichxngkhprakxbwngokhcr 6 twwngokhcrekhphephlxrsungmikhakhwameyuxngsunyklangkhatang sinaengin e gt 1 khuxwithiokhcrihephxrobla siekhiyw e 1 khuxwithiokhcrpharaobla siaedng 0 lt e lt 1 khux aela sietha e 0 khux inkarichnganswnihy mwlthicudsunyklangcathuxwaepncudsunyklangmwlkhxngrabbthnghmd emuxphankarcakwiekhraahaelw wtthusxngchinthimimwliklekhiyngknsamarthichwngokhcrekhphephlxrephuxxthibaykarekhluxnthirxbcudsunyklangmwl khuxsunyklangkhwamonmthwng khxngrabbprawtisastrkxnstwrrsthi 16 aela 17 epnthiechuxknodythwipwakarekhluxnthikhxngdawekhraahepniptamaenwkhidolkepnsunyklangthisxnodynkprchyachawkrikobran xarisotetil aela potelimoxs odywngokhcrepnwngklminxudmkhti khwamphnaeprinkarekhluxnthikhxngdawekhraahxthibayidodyesnthangkhxngwngklmkhnadelkthisxnthbbnesnthangkhxngwngklmkhnadihy emuxkarwdtaaehnngkhxngdawekhraahmikhwamaemnyamakkhun karaekikhephuxsnbsnunthvsdinnkyingephimwngklmmakkhun inpi kh s 1543 niokhelas okhepxrnikhsidephyaephraebbcalxngrabbsuriyadwyaenwkhiddwngxathityepnsunyklang aetekhakyngechuxwadawekhraahekhluxnthiinesnthangkarokhcrepnwngklminxudmkhtiodymicudsunyklangxyuthidwngxathity hlngcaknninpi 1609 oyhnenis ekhphephlxrcungidesnxkdkarekhluxnthikhxngdawekhraahkhxngekhphephlxrkhun odytamkdkhxaerkkhxngekhphephlxraelwwngokhcrkhxngdawekhraahthnghmdepnwngri odydwngxathityimidxyuthisunyklangkhxngwngokhcr aetxyuthicudofkscudhnungkhxngwngri nxkcakniaelwrupaebbkarokhcraebbxunechnpharaoblaaelaihephxroblakidthukthanayiwechnkn wngokhcrkhxngkarekhluxnthisungxthibayodyekhphephlxrnithukeriykwa wngokhcrekhphephlxrwngokhcraebbtang wngokhcrekhphephlxrxacaebngodykhunxyukbkhwameyuxngsunyklangkhxngwngokhcr e displaystyle e idepn e 0 displaystyle e 0 0 lt e lt 1 displaystyle 0 lt e lt 1 withiokhcrpharaobla e 1 displaystyle e 1 withiokhcrihephxrobla e gt 1 displaystyle e gt 1 xnung krnikhxngpharaoblaaelaihephxroblannenuxngcakkarekhluxnthiimidmilksnaepnwngpidcungmkichkhawa withiokhcr trajectory aethnthi wngokhcr orbit xangxingCopernicus pp 513 514 El Yasberg Theory of flight of artificial earth satellites Israel program for Scientific Translations 1967 Bate Roger Mueller Donald White Jerry 1971 Fundamentals of Astrodynamics Dover Publications Inc New York ISBN 0 486 60061 0