ภาษากะซอง (กะซอง: ปะซากะซ่อง) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ภาษาชองจังหวัดตราด" เป็นภาษาใกล้สูญภาษาหนึ่งในของตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ปัจจุบันมีผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ใน อำเภอบ่อไร่จังหวัดตราด ประเทศไทย ที่ผ่านมาภาษากะซองได้รับการจัดให้เป็นภาษาย่อยของภาษาชองกลางโดยประเมินจากความคล้ายคลึงกันของคำศัพท์ที่ได้รับการรวบรวมไว้ไม่มากนัก อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาเพิ่มเติมและจากการตรวจสอบคำศัพท์ที่รวบรวมได้มากขึ้นบ่งชี้ว่าภาษากะซองเป็นภาษาต่างหากที่มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับภาษาชองและภาษาซำเร ภาษากะซองอยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ เนื่องจากไม่เหลือผู้รู้ภาษานี้เพียงภาษาเดียวและผู้รู้ภาษานี้ทุกคนใช้ภาษาไทยเป็นภาษาหลัก
ภาษากะซอง | |
---|---|
ภาษาชองจังหวัดตราด | |
ปะซากะซ่อง | |
ออกเสียง | /pasaː kasɔ̤̀ːŋ/ |
ประเทศที่มีการพูด | ไทย |
ภูมิภาค | จังหวัดตราด |
ชาติพันธุ์ | ชาวกะซอง |
จำนวนผู้พูด | 50 คน (2551) |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
ระบบการเขียน | อักษรไทย |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | ไทย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | ไม่มี (mis ) |
จากวงศัพท์ที่มีการตรวจสอบ พบว่าร้อยละ 55.38 ของภาษานี้ประกอบด้วยคำยืมจากภาษาไทย คำยืมเหล่านี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ คำยืมจากภาษาไทยโดยตรงและคำยืมที่มาจากการประสมคำภาษาไทยกับคำที่มีอยู่แล้วในภาษากะซอง อัตราร้อยละที่สูงเช่นนี้บ่งบอกถึงเส้นทางสู่การสูญหายของภาษา โดยที่ภาษาไทยเข้ามาแทนที่ภาษานี้
เมื่อมากกว่า 50 ปีที่แล้ว[] ชาวกะซองทั้งหมดถูกห้ามไม่ให้พูดภาษากะซองทั้งในครอบครัวและกับผู้อื่น เนื่องจากผู้ว่าราชการจังหวัดเชื่อว่าการพูดภาษากะซองเป็นอุปสรรคต่อการพูดภาษาไทย ชาวกะซองค่อย ๆ เลิกสื่อสารกันเป็นภาษากะซองและหันมาสอนภาษาไทยแก่ลูกหลานแทน จนกระทั่งไม่นานมานี้ได้มีความพยายามอนุรักษ์และฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญากะซองผ่านระบบตัวเขียนอักษรไทยที่ชาวกะซองสร้างขึ้นโดยได้รับความช่วยเหลือจากนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดล ภาษาและกลุ่มชนกะซองเป็นตัวแทนของชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์ภาษาจำนวนมากของประเทศไทย
การจำแนก
กะซอง (หรือ กะซ่อง /kasɔ̤̀ːŋ/ ในภาษากะซอง) เป็นทั้งชื่อเรียกภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีถิ่นฐานอยู่ในอำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด สันนิษฐานกันว่าคำนี้มีความหมายดั้งเดิมว่า "คน" ภาษากะซองเป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกที่จัดอยู่ในร่วมกับภาษาชองในจังหวัดจันทบุรี แต่เดิมคนภายนอกรู้จักภาษานี้ในชื่อ "ภาษาชองจังหวัดตราด" เนื่องจากชื่อและตัวภาษาทั้งสองมีความคล้ายคลึงกัน และชาวกะซองหลายคนก็แปลคำว่า กะซ่อง เป็น ชอง เมื่อพูดภาษาไทย แต่จากการตรวจสอบเปรียบเทียบวงศัพท์ภาษากะซองกับวงศัพท์ภาษาชองพบว่าภาษาทั้งสองมีความแตกต่างกันมากพอที่จะถือว่าเป็นคนละภาษา
สัทวิทยา
พยัญชนะ
ลักษณะการออกเสียง | ตำแหน่งเกิดเสียง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | m | n | ɲ | ŋ | ||||
เสียงหยุด | ก้อง | b | d | |||||
ไม่ก้อง | ไม่พ่นลม | p | t | c | k | ʔ | ||
พ่นลม | pʰ | tʰ | cʰ | kʰ | ||||
(f) | s | h | ||||||
r | ||||||||
l | ||||||||
w | j |
- หน่วยเสียงที่อยู่ในวงเล็บคือหน่วยเสียงที่ปรากฏในคำยืมจากภาษาไทย
- หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งและมี 12 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ɲ/, /ŋ/, /p/, /t/, /c/, /k/, /h/, /l/, /w/ และ /j/
- หน่วยเสียงพยัญชนะต้นควบมี 12 หน่วยเสียง ได้แก่ /pr/, /pl/, /pʰr/, /pʰl/, /tr/, /cr/, /kr/, /kl/, /kw/, /kʰr/, /kʰl/ และ /sr/
- หน่วยเสียง /c/ เมื่ออยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์ออกเสียงเป็น [t͡ɕ] และเมื่ออยู่ในตำแหน่งท้ายพยางค์ออกเสียงเป็น [c]
- หน่วยเสียง /cʰ/ ออกเสียงเป็น [t͡ɕʰ]
- หน่วยเสียง /w/ และ /j/ เมื่ออยู่ในตำแหน่งท้ายพยางค์ออกเสียงเป็น [u] และ [i] ตามลำดับ
สระ
สระเดี่ยว
ระดับลิ้น | ตำแหน่งลิ้น | ||
---|---|---|---|
หน้า | กลาง | หลัง | |
สูง | i, iː | ɯ, ɯː | u, uː |
กลาง | e, eː | əː | o, oː |
ต่ำ | æ, æː | a, aː | ɔ, ɔː |
สระประสม
ภาษากะซองถิ่นคลองแสงมีหน่วยเสียง 1 หน่วยเสียง ได้แก่ /uə/ ซึ่งออกเสียงเป็น [uːə] นอกจากนี้ยังปรากฏหน่วยเสียง /iə/ [iːə] และ /ɯə/ [ɯːə] ในคำยืมจากภาษาไทยอีกด้วย
ลักษณะน้ำเสียง
ภาษากะซองในปัจจุบันจัดว่ามีลักษณะน้ำเสียงแบบผสมผสาน กล่าวคือ ใช้ลักษณะน้ำเสียงร่วมกับระดับเสียงในการจำแนกคำ จึงแตกต่างไปจากภาษาชองและภาษาซำเร ลักษณะน้ำเสียงแบบผสมผสานของภาษากะซองมี 4 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะน้ำเสียงปกติ ระดับเสียงกลาง [V̄] หรือสูง [V́], ลักษณะน้ำเสียงปกติ ระดับเสียงกึ่งสูง–สูง–ตก [V̂], ลักษณะน้ำเสียงพ่นลม ระดับเสียงกลาง–กึ่งสูง–ตก [V̤̂] และลักษณะน้ำเสียงพ่นลม ระดับเสียงกึ่งต่ำ [V̤̀] ลักษณะน้ำเสียงเหล่านี้อยู่ระหว่างการพัฒนาไปเป็นเสียงวรรณยุกต์เนื่องจากอิทธิพลของภาษาไทย
ระบบการเขียน
ใน พ.ศ. 2544 ชุมชนชาวกะซองที่จังหวัดตราดได้พยายามฟื้นฟูภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองผ่านการทำโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่นโดยมีหน่วยงานวิชาการคอยช่วยเหลือด้านกระบวนการวิจัย โครงการวิจัยแรกซึ่งดำเนินอยู่ระหว่าง พ.ศ. 2552–2554 คือ "แนวทางการพลิกฟื้นภาษากะซองเพื่อสืบทอดให้คนรุ่นหลังอย่างยั่งยืน บ้านคลองแสง ตำบลด่านชุมพล อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด" ทำให้เกิดผลงานสำคัญคือระบบเขียนภาษากะซองอักษรไทยเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบันทึกภาษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นรวมทั้งการจัดทำคู่มือการสอนภาษาต่อไป ระบบเขียนภาษากะซองอักษรไทยที่ชุมชนชาวกะซองที่บ้านคลองแสงได้กำหนดไว้มีดังนี้
|
|
|
สถานการณ์ในปัจจุบัน
ชาวกะซองส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 3 บ้านคลองแสง และส่วนน้อยอาศัยอยู่ในหมู่ที่ 1 บ้านด่านชุมพล และหมู่ที่ 6 บ้านปะเดา อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด พวกเขาสร้างครัวเรือนอยู่กระจัดกระจายปะปนกับกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ โดยประกอบอาชีพเกษตรกรรมรวมทั้งเก็บของป่าในฤดูแล้ง ชาวกะซองมีการแต่งงานกับคนนอกกลุ่มจึงเกิดการผสมผสานระหว่างเชื้อสายและวัฒนธรรมตามแบบไทย
ในปัจจุบันมีผู้พูดภาษากะซองที่ยังสื่อสารได้ดีไม่เกิน 10 คน และล้วนเป็นผู้สูงอายุ ในขณะที่ชาวกะซองในวัยกลางคนจนถึงวัยเยาว์สื่อสารกันผ่านภาษาไทยเป็นหลัก แม้จะเข้าใจภาษาของบรรพชนอยู่บ้างแต่ก็ไม่สามารถสื่อสารเป็นประโยคยาว ๆ ได้ จึงถือว่าภาษากะซองเป็นภาษาที่อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ ชาวกะซองเองก็ตระหนักดีถึงสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะอนุรักษ์ภาษาไว้ให้ได้นานที่สุดผ่านการเพิ่มจำนวนปราชญ์พื้นบ้านและผู้พูดภาษากะซองทั้งผู้ใหญ่และเยาวชน โดยมีการรณรงค์ให้ไปเรียนภาษากับครูภูมิปัญญาในวันหยุด ฝึกทักษะการฟังและการพูดอย่างเข้มข้นกับผู้สูงอายุที่ยังสามารถสื่อสารภาษากะซองได้ดี และพัฒนาไปสู่การใช้ภาษากะซองในชีวิตประจำวัน
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประกาศขึ้นทะเบียนภาษากะซองเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติไทย สาขาภาษา เมื่อ พ.ศ. 2557
อ้างอิง
- "UNESCO Atlas of the World's Languages in Danger". unesco.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-08-08.
- Sunee, Kamnuansin (2003). "Syntactic Characteristics of Kasong: An Endangered Language of Thailand" (PDF). Mon-Khmer Studies. 33: 167–182. (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-12-21.
- Sidwell, Paul (2009). (ภาษาอังกฤษ). Muenchen: Lincom Europa. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-24.
- Thongkham 2003, p. 1
- Thongkham 2003, p. 102
- Thongkham 2003, p. 105
- Thongkham 2003, p. 113
- Joll, Chris. "Language Loyalty and Loss in Malay South Thailand – From Ethno-Religious Rebellion to Ethno-Linguistic Angst?" (Draft) (ภาษาอังกฤษ) – โดยทาง ResearchGate.
- ณัฐมน โรจนกุล และรณกร รักษ์วงศ์ 2558, p. 67
- Thongkham 2003, p. 2
- Thongkham 2003, p. 69
- Thongkham 2003, p. 60
- Thongkham 2003, p. 61
- Thongkham 2003, p. 73
- Thongkham 2003, p. 74
- Thongkham 2003, p. 81–82
- Thongkham 2003, p. 70
- Thongkham 2003, p. 87
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2559, p. 4
- ณัฐมน โรจนกุล และรณกร รักษ์วงศ์ 2558, p. 70
- สันติ เกตุถึก และคณะ 2554, p. 46–48
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2559, p. 5
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2559, p. 7
บรรณานุกรม
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม (2559). ภาษา: มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
- ณัฐมน โรจนกุล และรณกร รักษ์วงศ์ (2558). "ภาษากะซอง: เสียงของคนกลุ่มสุดท้ายแห่งดินแดนตะวันออก". วัฒนธรรม. 54 (3): 66–73.
- สันติ เกตุถึก และคณะ (2554). โครงการวิจัย "แนวทางการพลิกฟื้นภาษากะซองเพื่อสืบทอดให้คนรุ่นหลังอย่างยั่งยืน บ้านคลองแสง ต.ด่านชุมชน อ.บ่อไร่ จ.ตราด". กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
- Thongkham, Noppawan (2003). The phonology of Kasong at Khlong Saeng Village, Danchumphon Sub-district, Bo Rai District, Trat Province (M.A. thesis). Mahidol University.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasakasxng kasxng pasakasxng edimruckkninchux phasachxngcnghwdtrad epnphasaiklsuyphasahnunginkhxngtrakulphasaxxsotrexechiytik pccubnmiphuphudswnihyxyuin xaephxbxircnghwdtrad praethsithy thiphanmaphasakasxngidrbkarcdihepnphasayxykhxngphasachxngklangodypraemincakkhwamkhlaykhlungknkhxngkhasphththiidrbkarrwbrwmiwimmaknk xyangirktam cakkarsuksaephimetimaelacakkartrwcsxbkhasphththirwbrwmidmakkhunbngchiwaphasakasxngepnphasatanghakthimikhwamekiywkhxngxyangiklchidkbphasachxngaelaphasasaer phasakasxngxyuinphawawikvtiklsuy enuxngcakimehluxphuruphasaniephiyngphasaediywaelaphuruphasanithukkhnichphasaithyepnphasahlkphasakasxngphasachxngcnghwdtradpasakasxngxxkesiyng pasaː kasɔ ːŋ praethsthimikarphudithyphumiphakhcnghwdtradchatiphnthuchawkasxngcanwnphuphud50 khn 2551 trakulphasaxxsotrexechiytik chxngchxngklangphasakasxngrabbkarekhiynxksrithysthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrhsphasaISO 639 3immi mis cakwngsphththimikartrwcsxb phbwarxyla 55 38 khxngphasaniprakxbdwykhayumcakphasaithy khayumehlaniaebngxxkepn 2 praephth khux khayumcakphasaithyodytrngaelakhayumthimacakkarprasmkhaphasaithykbkhathimixyuaelwinphasakasxng xtrarxylathisungechnnibngbxkthungesnthangsukarsuyhaykhxngphasa odythiphasaithyekhamaaethnthiphasani emuxmakkwa 50 pithiaelw chawkasxngthnghmdthukhamimihphudphasakasxngthnginkhrxbkhrwaelakbphuxun enuxngcakphuwarachkarcnghwdechuxwakarphudphasakasxngepnxupsrrkhtxkarphudphasaithy chawkasxngkhxy eliksuxsarknepnphasakasxngaelahnmasxnphasaithyaeklukhlanaethn cnkrathngimnanmaniidmikhwamphyayamxnurksaelafunfuphasaaelaphumipyyakasxngphanrabbtwekhiynxksrithythichawkasxngsrangkhunodyidrbkhwamchwyehluxcaknkwicycakmhawithyalymhidl phasaaelaklumchnkasxngepntwaethnkhxngchnklumnxythangchatiphnthuphasacanwnmakkhxngpraethsithykarcaaenkkasxng hrux kasxng kasɔ ːŋ inphasakasxng epnthngchuxeriykphasaaelaklumchatiphnthuthimithinthanxyuinxaephxbxir cnghwdtrad snnisthanknwakhanimikhwamhmaydngedimwa khn phasakasxngepnphasatrakulxxsotrexechiytikthicdxyuinrwmkbphasachxngincnghwdcnthburi aetedimkhnphaynxkruckphasaniinchux phasachxngcnghwdtrad enuxngcakchuxaelatwphasathngsxngmikhwamkhlaykhlungkn aelachawkasxnghlaykhnkaeplkhawa kasxng epn chxng emuxphudphasaithy aetcakkartrwcsxbepriybethiybwngsphthphasakasxngkbwngsphthphasachxngphbwaphasathngsxngmikhwamaetktangknmakphxthicathuxwaepnkhnlaphasasthwithyaphyychna hnwyesiyngphyychnaphasakasxngthinkhlxngaesng lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b dimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰ f s hrlw j hnwyesiyngthixyuinwngelbkhuxhnwyesiyngthipraktinkhayumcakphasaithy hnwyesiyngthiepnidthngaelami 12 hnwyesiyng idaek m n ɲ ŋ p t c k h l w aela j hnwyesiyngphyychnatnkhwbmi 12 hnwyesiyng idaek pr pl pʰr pʰl tr cr kr kl kw kʰr kʰl aela sr hnwyesiyng c emuxxyuintaaehnngtnphyangkhxxkesiyngepn t ɕ aelaemuxxyuintaaehnngthayphyangkhxxkesiyngepn c hnwyesiyng cʰ xxkesiyngepn t ɕʰ hnwyesiyng w aela j emuxxyuintaaehnngthayphyangkhxxkesiyngepn u aela i tamladbsra sraediyw hnwyesiyngsraediywphasakasxngthinkhlxngaesng radblin taaehnnglinhna klang hlngsung i iː ɯ ɯː u uːklang e eː eː o oːta ae aeː a aː ɔ ɔː sraprasm phasakasxngthinkhlxngaesngmihnwyesiyng 1 hnwyesiyng idaek ue sungxxkesiyngepn uːe nxkcakniyngprakthnwyesiyng ie iːe aela ɯe ɯːe inkhayumcakphasaithyxikdwy lksnanaesiyng phasakasxnginpccubncdwamilksnanaesiyngaebbphsmphsan klawkhux ichlksnanaesiyngrwmkbradbesiynginkarcaaenkkha cungaetktangipcakphasachxngaelaphasasaer lksnanaesiyngaebbphsmphsankhxngphasakasxngmi 4 lksna idaek lksnanaesiyngpkti radbesiyngklang V hruxsung V lksnanaesiyngpkti radbesiyngkungsung sung tk V lksnanaesiyngphnlm radbesiyngklang kungsung tk V aelalksnanaesiyngphnlm radbesiyngkungta V lksnanaesiyngehlanixyurahwangkarphthnaipepnesiyngwrrnyuktenuxngcakxiththiphlkhxngphasaithyrabbkarekhiynin ph s 2544 chumchnchawkasxngthicnghwdtradidphyayamfunfuphasaaelaphumipyyathxngthinkhxngtnexngphankarthaokhrngkarwicyephuxthxngthinodymihnwynganwichakarkhxychwyehluxdankrabwnkarwicy okhrngkarwicyaerksungdaeninxyurahwang ph s 2552 2554 khux aenwthangkarphlikfunphasakasxngephuxsubthxdihkhnrunhlngxyangyngyun bankhlxngaesng tabldanchumphl xaephxbxir cnghwdtrad thaihekidphlngansakhykhuxrabbekhiynphasakasxngxksrithyephuxichepnekhruxngmuxinkarbnthukphasaaelaphumipyyathxngthinrwmthngkarcdthakhumuxkarsxnphasatxip rabbekhiynphasakasxngxksrithythichumchnchawkasxngthibankhlxngaesngidkahndiwmidngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k aekah hmxmxk khangkhawkh kʰ khxn hnung ŋ ngal ibhnakang phracnthrc c ecw ipsuc mdch cʰ chx hmas s si nguy ɲ yay phudthiy hnximd d da epd t emuxepnphyychnathay engd echat t emuxepnphyychnatn tung ikhth tʰ tham pun n nxng phuekhakran khwanb b obc obsth p emuxepnphyychnathay trub maekhuxp p emuxepnphyychnatn epd midph pʰ eph samm m md nyntasum dawy j yul emkhlaway esuxr r rk khangkhkl l aelk iknil esuxw w wa lingkapaw khwayx ʔ oxl klxyh h hal khawepluxkxuh fun sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuximmiphyychnathay aelaxyuinkhahlayphyangkh hruxemuxmiphyychnathayepn h khaom hinkatah kratha a emuxmiphyychnathaythiimich h m j w ld khawfangkhrn nxng a aː cha kinray sib i i maric phrikithynih im i iː pri pachim nk u ɯ pan um cxmplwkxuh ih ux ɯː emuxepnphyangkhepid kac ux krabung u ɯː emuxepnphyangkhpid maruh hnwk u u luk ekluxphruh khaw hngxk u uː plu khakub kbe a e emuxmiphyychnathayepn h ecah kwange e emuxmiphyychnathayxun ecn ehyiyb eː em plaerh rakae a ae emuxmiphyychnathayepn h aeplah thxn eddae ae emuxmiphyychnathayxun aeyy hyik ngx aeː aekwk kxdaecrng aehwno a o emuxmiphyychnathayepn h paothah khawtxko a ldrup o emuxmiphyychnathayxun srk hmuo oː oph fnoth hwe aa ɔ emuxmiphyychnathayepn h elaah khlan x ɔ emuxmiphyychnathayxun mxngpi xair ɔː hx bintrxy wwe x eː emuxepnphyangkhepid el x epuxn elxae i eː emuxepnphyangkhpid epib phb ecxe iy ia sukepiy phmepiye ux ɯe ekuxk rxngetha w ue emuximmiphyychnathay makhw siw w ue emuxmiphyychnathay s wl eyb a am khana yai aj ic ice a aw kaepa fkthxng lksnanaesiyngaelaradbesiyng xksrithy lksna naesiyng aelaradbesiyng twxyangkha khwamhmayimmirup pkti klanghruxsung taeng fngkxng kailsid ehdopd okhn tnim pkti kungsung sung tk thangi phraxathitykxng ekhiydeplw maxukpud naeta phnlm klang kungsung tk c x epriywt ak epiyks id echdop d xxn phnlm kungta lawi phd kriya tak naeplw ifopd khawophdsthankarninpccubnchawkasxngswnihyxasyxyuinhmuthi 3 bankhlxngaesng aelaswnnxyxasyxyuinhmuthi 1 bandanchumphl aelahmuthi 6 banpaeda xaephxbxir cnghwdtrad phwkekhasrangkhrweruxnxyukracdkracaypapnkbklumchatiphnthuxun odyprakxbxachiphekstrkrrmrwmthngekbkhxngpainvduaelng chawkasxngmikaraetngngankbkhnnxkklumcungekidkarphsmphsanrahwangechuxsayaelawthnthrrmtamaebbithy inpccubnmiphuphudphasakasxngthiyngsuxsariddiimekin 10 khn aelalwnepnphusungxayu inkhnathichawkasxnginwyklangkhncnthungwyeyawsuxsarknphanphasaithyepnhlk aemcaekhaicphasakhxngbrrphchnxyubangaetkimsamarthsuxsarepnpraoykhyaw id cungthuxwaphasakasxngepnphasathixyuinphawawikvtiklsuy chawkasxngexngktrahnkdithungsthankarndngklaw cungmiaenwkhidthicaxnurksphasaiwihidnanthisudphankarephimcanwnprachyphunbanaelaphuphudphasakasxngthngphuihyaelaeyawchn odymikarrnrngkhihiperiynphasakbkhruphumipyyainwnhyud fukthksakarfngaelakarphudxyangekhmkhnkbphusungxayuthiyngsamarthsuxsarphasakasxngiddi aelaphthnaipsukarichphasakasxnginchiwitpracawn krmsngesrimwthnthrrm krathrwngwthnthrrm prakaskhunthaebiynphasakasxngepnmrdkphumipyyathangwthnthrrmkhxngchatiithy sakhaphasa emux ph s 2557xangxing UNESCO Atlas of the World s Languages in Danger unesco org phasaxngkvs subkhnemux 2018 08 08 Sunee Kamnuansin 2003 Syntactic Characteristics of Kasong An Endangered Language of Thailand PDF Mon Khmer Studies 33 167 182 PDF cakaehlngedimemux 2016 03 04 subkhnemux 2015 12 21 Sidwell Paul 2009 phasaxngkvs Muenchen Lincom Europa khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 03 24 Thongkham 2003 p 1 Thongkham 2003 p 102 Thongkham 2003 p 105 Thongkham 2003 p 113 Joll Chris Language Loyalty and Loss in Malay South Thailand From Ethno Religious Rebellion to Ethno Linguistic Angst Draft phasaxngkvs odythang ResearchGate nthmn orcnkul aelarnkr rkswngs 2558 p 67 Thongkham 2003 p 2 Thongkham 2003 p 69 Thongkham 2003 p 60 Thongkham 2003 p 61 Thongkham 2003 p 73 Thongkham 2003 p 74 Thongkham 2003 p 81 82 Thongkham 2003 p 70 Thongkham 2003 p 87 krmsngesrimwthnthrrm 2559 p 4 nthmn orcnkul aelarnkr rkswngs 2558 p 70 snti ektuthuk aelakhna 2554 p 46 48 krmsngesrimwthnthrrm 2559 p 5 krmsngesrimwthnthrrm 2559 p 7brrnanukrmkrmsngesrimwthnthrrm 2559 phasa mrdkphumipyyathangwthnthrrmkhxngchati krungethph krmsngesrimwthnthrrm nthmn orcnkul aelarnkr rkswngs 2558 phasakasxng esiyngkhxngkhnklumsudthayaehngdinaedntawnxxk wthnthrrm 54 3 66 73 snti ektuthuk aelakhna 2554 okhrngkarwicy aenwthangkarphlikfunphasakasxngephuxsubthxdihkhnrunhlngxyangyngyun bankhlxngaesng t danchumchn x bxir c trad krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy Thongkham Noppawan 2003 The phonology of Kasong at Khlong Saeng Village Danchumphon Sub district Bo Rai District Trat Province M A thesis Mahidol University bthkhwamphasaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk