ภาษาชอง (ชอง: พะซา ช์อง) เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร สาขาย่อยปอร์ตะวันตก ใช้พูดกันในหมู่ชาวชองในจังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด และจังหวัดระยอง (ในอดีตมีในจังหวัดฉะเชิงเทรา เรียกว่า ภาษาป่า) ในปัจจุบันภาษาชองเป็นจุดสนใจของโครงการฟื้นฟูภาษาโครงการหนึ่งในประเทศไทย
ภาษาชอง | |
---|---|
พะซา ช์อง | |
ออกเสียง | /pʰəsaː cʰɔ̤ːˀŋ/ [pʰasaː t͡ɕʰɔ̤̀ːˀŋ] |
ประเทศที่มีการพูด | ไทย |
ภูมิภาค | จังหวัดจันทบุรี, จังหวัดตราด, จังหวัดระยอง |
ชาติพันธุ์ | ชาวชอง 2,000 คน (2550) |
จำนวนผู้พูด | 500 คน (2550) |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
ระบบการเขียน | อักษรไทย, อักษรเขมร, (ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2553) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | ไทย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | cog |
ลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของภาษาชองคือการจำแนกความต่างระหว่างลักษณะน้ำเสียง 4 ลักษณะ ระบบไวยากรณ์ยังไม่ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง ภาษาชองเป็นภาษาที่ไม่มีตัวเขียนจนกระทั่ง พ.ศ. 2543 เมื่อเจ้าของภาษาได้ร่วมกับนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลสร้างระบบการเขียนภาษาชองด้วยอักษรไทย หลังจากนั้นจึงมีการจัดทำสื่อการเรียนการสอนเป็นภาษาชองขึ้น
ในขณะที่ภาษาชองในประเทศไทยได้รับการศึกษาเรื่อยมา แต่ภาษาชองในประเทศกัมพูชายังไม่ได้รับการค้นคว้าวิจัยมากนัก เดวิด แบรดลีย์ นักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกัน รายงานว่าไม่มีผู้พูดภาษานี้เหลืออยู่แล้วในประเทศกัมพูชา
การจำแนก
ภาษาจำนวนหนึ่งในถูกเรียกว่า "ภาษาชอง" แต่ทั้งหมดไม่ได้ประกอบกันเป็นภาษาเดียว ภาษาชองแท้ประกอบด้วยวิธภาษาส่วนใหญ่ที่พอล ซิดเวลล์ จัดอยู่ในกลุ่ม "ชองตะวันตก" ซึ่งรวมถึงภาษาถิ่นภาษาหลักในจังหวัดจันทบุรี (ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนใต้ของอำเภอเขาคิชฌกูฏและทางด้านตะวันตกของอำเภอโป่งน้ำร้อน) วิธภาษาในกลุ่มดังกล่าวเป็นคนละกลุ่มกับวิธภาษาที่เรียกว่า "กะซอง" หรือ "ชองจังหวัดตราด" ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม "ชองกลาง" ร่วมกับภาษาซำเร ในทำนองเดียวกัน บรรดาภาษาและวิธภาษาที่เรียกว่า "ชอุง" หรือ "สโอจ" ในจังหวัดกาญจนบุรีและในประเทศกัมพูชาเป็นภาษาย่อยของภาษาเดียวกันคือภาษาชอุง และจัดอยู่ในกลุ่ม "ชองใต้" ร่วมกับภาษาซูโอย
ภาษาหรือวิธภาษาในกลุ่มภาษาชองตะวันตก (ชองแท้) ตามการจำแนกของซิดเวลล์มีดังนี้
- ชองจันทบุรี (Baradat ms.)
- (สาขา)
- ชองเฮิบ (Martin, 1974)
- ชองคลองพลู (Siripen Ungsitibonporn, 2001)
- (สาขา)
- ชองลอ (Martin, 1974)
- ชองวังกระแพร (Siripen Ungsitibonporn, 2001)
- ชอง (Huffman, 1983)
มารี อา. มาร์แต็ง ได้แบ่งภาษาชอง (ในจังหวัดจันทบุรี) ออกเป็น 2 ภาษาถิ่นตามคำลงท้ายประโยค โดยเรียกภาษาชองที่พูดในอำเภอเขาคิชฌกูฏว่า ชองลอ และเรียกภาษาชองที่พูดในอำเภอโป่งน้ำร้อนว่า ชองเฮิบ ต่อมาอิสระ ชูศรี ได้ศึกษาภูมิศาสตร์ภาษาถิ่นของภาษาชองในจังหวัดจันทบุรีแล้วเสนอให้แบ่งภาษาชองออกเป็น 3 ภาษาถิ่นตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ดังนี้
- ภาษาชองถิ่นเหนือ อยู่บริเวณบ้านคลองพลู บ้านน้ำขุ่น ตำบลคลองพลู และบ้านตะเคียนทอง บ้านชำเคราะห์ ตำบลตะเคียนทอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ เป็นภาษาถิ่นที่มีจำนวนผู้พูดมากที่สุดและเป็นส่วนหนึ่งของภาษาชองถิ่นตะวันตกหรือ ชองลอ ตามการแบ่งของมาร์แต็ง
- ภาษาชองถิ่นใต้ อยู่บริเวณบ้านพังคะแลง บ้านทุ่งตาอิน บ้านกระทิง ตำบลพลวง และบ้านทุ่งสะพาน ตำบลชากไทย อำเภอเขาคิชฌกูฏ เป็นส่วนหนึ่งของภาษาชองถิ่นตะวันตกหรือ ชองลอ ตามการแบ่งของมาร์แต็ง
- ภาษาชองถิ่นตะวันออก อยู่บริเวณบ้านวังกระแพร ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน ในปัจจุบันมีผู้พูดอยู่เพียงจำนวนน้อยและส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ภาษาถิ่นนี้ยังมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า ชองเฮิบ ตามการแบ่งของมาร์แต็ง
จากการสัมภาษณ์ผู้พูดภาษาถิ่นเหนือและผู้พูดภาษาถิ่นใต้ของอิสระ ชูศรี ทำให้ทราบว่าผู้พูดภาษาถิ่นทั้งสองสามารถเข้าใจภาษาของอีกฝ่ายได้ดีแม้จะมีความแตกต่างด้านการออกเสียงและด้านวงศัพท์อยู่บ้าง แต่พวกเขาไม่ทราบเกี่ยวกับภาษาถิ่นตะวันออก (ซึ่งอยู่อีกด้านหนึ่งของเขาสอยดาว) มากนัก
สัทวิทยา
พยัญชนะ
ลักษณะการออกเสียง | ตำแหน่งเกิดเสียง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | m | n | ɲ | ŋ | ||||
เสียงหยุด | ก้อง | b | d | |||||
ไม่ก้อง | ไม่พ่นลม | p | t | c | k | ʔ | ||
พ่นลม | pʰ | tʰ | cʰ | kʰ | ||||
(f) | s | h | ||||||
r | ||||||||
l | ||||||||
w | j |
- หน่วยเสียงที่อยู่ในวงเล็บคือหน่วยเสียงที่ปรากฏในคำยืมจากภาษาไทย
- หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งและมี 12 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ɲ/, /ŋ/, /p/, /t/, /c/, /k/, /ʔ/, /h/, /w/ และ /j/
- หน่วยเสียงพยัญชนะต้นควบในภาษาชองถิ่นตะเคียนทองและคลองพลูมี 12 หน่วยเสียง ได้แก่ /mr/, /ml/, /pr/, /pl/, /pʰr/, /pʰl/, /kr/, /kl/, /kw/, /kʰr/, /kʰl/ และ /kʰw/ ทั้งนี้ ในภาษาชองถิ่นวังกระแพรออกเสียง /kʰw/ เป็น [f]
สระ
สระเดี่ยว
ระดับลิ้น | ตำแหน่งลิ้น | ||
---|---|---|---|
หน้า | กลาง | หลัง | |
สูง | i, iː | ɨ, ɨː | u, uː |
กลาง | e, eː | ə, əː | o, oː |
ต่ำ | ɛ, ɛː | a, aː | ɔ, ɔː |
สระประสม
ภาษาชองถิ่นตะเคียนทองและคลองพลูมีหน่วยเสียง 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /iə/, /ɨə/ และ /uə/ สองหน่วยเสียงแรกปรากฏเฉพาะในคำยืมจากภาษาไทย
ลักษณะน้ำเสียง
ภาษาชองถิ่นตะเคียนทองและคลองพลูมีลักษณะน้ำเสียง 4 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะน้ำเสียงปกติ (เสียงกลางปกติ) [V], ลักษณะน้ำเสียงก้องมีลม (เสียงต่ำใหญ่) [V̤̀], ลักษณะน้ำเสียงปกติตามด้วยการกักของเส้นเสียง (เสียงสูงบีบ) [V̂ˀ] และลักษณะน้ำเสียงก้องมีลมตามด้วยการกักของเส้นเสียง (เสียงต่ำกระตุก) [V̤̀ˀ]
ระบบการเขียน
เดิมทีภาษาชองไม่มีตัวอักษรสำหรับเขียน เนื่องจากเป็นภาษาที่ใช้พูดเท่านั้น ต่อมาเฉิน ผันผาย อดีตกำนันตำบลคลองพลู อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ที่มีความพยายามในการรักษาอัตลักษณ์ชอง ได้คิดค้นระบบการเขียนใหม่ โดยศึกษาจากอักษรไทย อักษรมอญ อักษรเขมร และอักษรโรมัน และได้รับคำแนะนำจากนักภาษาศาสตร์แคนาดาที่ออกแบบอักษรให้ใช้งานง่าย มีระบบการเขียนบรรทัดเดียวแบบภาษาอังกฤษ ไม่มีสระและวรรณยุกต์อยู่เหนือหรือใต้บรรทัด และมีความพยายามที่จะทำเป็นชุดแบบอักษร ใน พ.ศ. 2553 มีผู้สามารถใช้อักษรนี้ได้ระดับคล่องแคล่ว 20 คน
ตัวเขียนภาษาชองอักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทยแห่งราชบัณฑิตยสถาน (ปัจจุบันคือสำนักงานราชบัณฑิตยสภา) ได้กำหนดไว้ มีดังนี้
|
|
|
สถานการณ์ในปัจจุบัน
ปัจจุบันภาษาชองอยู่ภาวะวิกฤตใกล้สูญ คนเฒ่าคนแก่เสียดายที่ภาษาชองจะสูญหายไป โดยปัจจุบันมีชาวชองอยู่อาศัยถิ่นฐานเดิมบริเวณตำบลคลองพลู อำเภอเขาคิชฌกูฏ (แต่แหล่งที่พูดกันมากที่สุดอยู่ที่ตำบลตะเคียนทอง) จังหวัดจันทบุรี ประมาณ 6,000 คน แต่ที่พูดได้มีเพียงประมาณ 500 คน โดยส่วนใหญ่เป็นคนสูงอายุที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ส่วนวัยรุ่นชาวชองนั้นอายที่จะพูดภาษาดั้งเดิมประจำชาติพันธุ์ของตน
ขณะนี้มหาวิทยาลัยมหิดลพยายามจะฟื้นฟูโดยให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการบันทึกเสียงและถอดภาษาพูดเป็นภาษาเขียน ให้โรงเรียนบ้านคลองพลูสอนภาษาชองให้กับลูกหลานชอง แทรกเป็นหลักสูตรท้องถิ่นในช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
จากการศึกษาของอิสระ ชูศรี พบว่า ผู้พูดภาษาชองถิ่นเหนือ (ตะเคียนทอง–คลองพลู) มองว่าตนเองเป็นกลุ่มผู้พูดภาษาถิ่นแยกต่างหากจากผู้พูดภาษาชองถิ่นใต้ (พลวง–ชากไทย) ความตระหนักนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผู้พูดภาษาถิ่นเหนือเลือกที่จะเปิดโครงการฟื้นฟูภาษาชองในถิ่นตนเองแทนที่จะเป็นภาษาชองของทั้งอำเภอเขาคิชฌกูฏ อิสระ ชูศรี ยังให้ความเห็นว่า จากมุมมองทางภาษาศาสตร์สังคม ภาษาชองถิ่นเหนือมีอนาคตที่สดใสกว่าภาษาชองถิ่นใต้ในแง่การคงจำนวนผู้พูดไว้ ในขณะที่ภาษาชองถิ่นตะวันออก (วังกระแพร) ในอำเภอโป่งน้ำร้อนนั้นอยู่ในภาวะใกล้สูญเต็มที
อ้างอิง
- ภาษาชอง ที่ Ethnologue (21st ed., 2018) อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "e21" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - แบบเรียนภาษาชอง = Chong language
- Hammarström, Harald; Forke, Robert; Haspelmath, Martin; Bank, Sebastian, บ.ก. (2020). "Chong of Chanthaburi". Glottolog 4.3.
- วิบูลย์ เข็มเฉลิม. วิถีคนป่าตะวันออกผืนสุดท้าย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, หน้า 69–71.
- Premsrirat, Suwilai. "Chong Language Revitalization Project" (PDF). Mekong Watch. Mahidol University. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- Choosri, Isara. (2002). Mapping dialects of Chong in Chanthaburi province, Thailand: an application of Geographical Information System (GIS) (M.A. dissertation, Mahidol University).
- Sidwell, Paul. (2009). Classifying Austro Asiatic languages: history and state of the art. LINCOM studies in Asian linguistics, 76. Munich: Lincom Europa.
- * Martin, Marie A. (1975). "Les dialectes Pears dans leurs rapports avec les langues nationales." Journal of the Siam Society, 63(2), 86.
- Choosri, Isara. (2002). "Dialects of Chong." Mon-Khmer Studies, 32, 67.
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). คู่มือระบบเขียนภาษาชองอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 33.
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). คู่มือระบบเขียนภาษาชองอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 38.
- ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). คู่มือระบบเขียนภาษาชองอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, หน้า 39.
- องค์ บรรจุน. (2553). สยาม หลากเผ่าหลายพันธุ์. กรุงเทพฯ: มติชน, หน้า 132.
อ่านเพิ่ม
- เจตน์จรรย์ อาจไธสง, พระอธิการธวัชชัย จนฺทโชโต, พระอาจารย์สี เตชพโล, เฉิน ผันผาย, และคำรณ วังศรี. (2556). แบบเรียนภาษาชอง. พิมพ์ครั้งที่ 3. จันทบุรี: [ต้นฉบับ].
- พระครูธรรมสรคุณ (เขียน ขนฺธสโร), และธรรม พันธุศิริสด. (2541). "อารยธรรมชอง จันทบุรี." ใน อารยธรรม ชอง จันทบุรี และอาณาจักรจันทบูร เมืองเพนียต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยรายวัน.
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.). (2005). Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.
- DiCanio, C.T. (2009) The Phonetics of Register in Takhian Thong Chong, Journal of the International. Phonetic Association, 39(2): 162–188
- Huffman, Franklin E. (1985). "The phonology of Chong, a Mon-Khmer language of Thailand".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Isarangura, N. N. (1935). Vocubulary of Chawng words collected in Krat Province. [S.l: s.n.].
- Premsrirat, Suwilai; Rojanakul, Nattamon (2015). Chong. In Paul Sidwell and Mathias Jenny (eds.), The Handbook of Austroasiatic Languages, 603-642. Leiden: Brill.
- Suphanphaiboon, Surekha (1982). The Phonology of Chong (Takianthong, Makham District Chantaburi) (วิทยานิพนธ์).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasachxng chxng phasa chxng epnphasahnungintrakulphasaxxsotrexechiytik sakhamxy ekhmr sakhayxypxrtawntk ichphudkninhmuchawchxngincnghwdcnthburi cnghwdtrad aelacnghwdrayxng inxditmiincnghwdchaechingethra eriykwa phasapa inpccubnphasachxngepncudsnickhxngokhrngkarfunfuphasaokhrngkarhnunginpraethsithyphasachxngphasa chxngxxkesiyng pʰesaː cʰɔ ːˀŋ pʰasaː t ɕʰɔ ːˀŋ praethsthimikarphudithyphumiphakhcnghwdcnthburi cnghwdtrad cnghwdrayxngchatiphnthuchawchxng 2 000 khn 2550 canwnphuphud500 khn 2550 trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmrphasachxngrabbkarekhiynxksrithy xksrekhmr pradisthemux ph s 2553 sthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrhsphasaISO 639 3cog lksnaednxyanghnungkhxngphasachxngkhuxkarcaaenkkhwamtangrahwanglksnanaesiyng 4 lksna rabbiwyakrnyngimidrbkarsuksaxyangkwangkhwang phasachxngepnphasathiimmitwekhiyncnkrathng ph s 2543 emuxecakhxngphasaidrwmkbnkwicycakmhawithyalymhidlsrangrabbkarekhiynphasachxngdwyxksrithy hlngcaknncungmikarcdthasuxkareriynkarsxnepnphasachxngkhun inkhnathiphasachxnginpraethsithyidrbkarsuksaeruxyma aetphasachxnginpraethskmphuchayngimidrbkarkhnkhwawicymaknk edwid aebrdliy nkphasasastrchawxemrikn raynganwaimmiphuphudphasaniehluxxyuaelwinpraethskmphuchakarcaaenkphasacanwnhnunginthukeriykwa phasachxng aetthnghmdimidprakxbknepnphasaediyw phasachxngaethprakxbdwywithphasaswnihythiphxl sidewll cdxyuinklum chxngtawntk sungrwmthungphasathinphasahlkincnghwdcnthburi swnihyxyuthangtxnitkhxngxaephxekhakhichchkutaelathangdantawntkkhxngxaephxopngnarxn withphasainklumdngklawepnkhnlaklumkbwithphasathieriykwa kasxng hrux chxngcnghwdtrad sungcdxyuinklum chxngklang rwmkbphasasaer inthanxngediywkn brrdaphasaaelawithphasathieriykwa chxung hrux soxc incnghwdkaycnburiaelainpraethskmphuchaepnphasayxykhxngphasaediywknkhuxphasachxung aelacdxyuinklum chxngit rwmkbphasasuoxy phasahruxwithphasainklumphasachxngtawntk chxngaeth tamkarcaaenkkhxngsidewllmidngni chxngcnthburi Baradat ms sakha chxngehib Martin 1974 chxngkhlxngphlu Siripen Ungsitibonporn 2001 sakha chxnglx Martin 1974 chxngwngkraaephr Siripen Ungsitibonporn 2001 chxng Huffman 1983 mari xa maraetng idaebngphasachxng incnghwdcnthburi xxkepn 2 phasathintamkhalngthaypraoykh odyeriykphasachxngthiphudinxaephxekhakhichchkutwa chxnglx aelaeriykphasachxngthiphudinxaephxopngnarxnwa chxngehib txmaxisra chusri idsuksaphumisastrphasathinkhxngphasachxngincnghwdcnthburiaelwesnxihaebngphasachxngxxkepn 3 phasathintamthitngthangphumisastr dngni phasachxngthinehnux xyubriewnbankhlxngphlu bannakhun tablkhlxngphlu aelabantaekhiynthxng banchaekhraah tabltaekhiynthxng xaephxekhakhichchkut epnphasathinthimicanwnphuphudmakthisudaelaepnswnhnungkhxngphasachxngthintawntkhrux chxnglx tamkaraebngkhxngmaraetng phasachxngthinit xyubriewnbanphngkhaaelng banthungtaxin bankrathing tablphlwng aelabanthungsaphan tablchakithy xaephxekhakhichchkut epnswnhnungkhxngphasachxngthintawntkhrux chxnglx tamkaraebngkhxngmaraetng phasachxngthintawnxxk xyubriewnbanwngkraaephr tablthbithr xaephxopngnarxn inpccubnmiphuphudxyuephiyngcanwnnxyaelaswnihyepnphusungxayu phasathinniyngmichuxeriykxikchuxwa chxngehib tamkaraebngkhxngmaraetng cakkarsmphasnphuphudphasathinehnuxaelaphuphudphasathinitkhxngxisra chusri thaihthrabwaphuphudphasathinthngsxngsamarthekhaicphasakhxngxikfayiddiaemcamikhwamaetktangdankarxxkesiyngaeladanwngsphthxyubang aetphwkekhaimthrabekiywkbphasathintawnxxk sungxyuxikdanhnungkhxngekhasxydaw maknksthwithyaphyychna hnwyesiyngphyychnaphasachxngthintaekhiynthxngaelakhlxngphlu cnghwdcnthburi lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b dimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰ f s hrlw j hnwyesiyngthixyuinwngelbkhuxhnwyesiyngthipraktinkhayumcakphasaithy hnwyesiyngthiepnidthngaelami 12 hnwyesiyng idaek m n ɲ ŋ p t c k ʔ h w aela j hnwyesiyngphyychnatnkhwbinphasachxngthintaekhiynthxngaelakhlxngphlumi 12 hnwyesiyng idaek mr ml pr pl pʰr pʰl kr kl kw kʰr kʰl aela kʰw thngni inphasachxngthinwngkraaephrxxkesiyng kʰw epn f sra sraediyw hnwyesiyngsraediywphasachxngthintaekhiynthxngaelakhlxngphlu cnghwdcnthburi radblin taaehnnglinhna klang hlngsung i iː ɨ ɨː u uːklang e eː e eː o oːta ɛ ɛː a aː ɔ ɔː sraprasm phasachxngthintaekhiynthxngaelakhlxngphlumihnwyesiyng 3 hnwyesiyng idaek ie ɨe aela ue sxnghnwyesiyngaerkpraktechphaainkhayumcakphasaithy lksnanaesiyng phasachxngthintaekhiynthxngaelakhlxngphlumilksnanaesiyng 4 lksna idaek lksnanaesiyngpkti esiyngklangpkti V lksnanaesiyngkxngmilm esiyngtaihy V lksnanaesiyngpktitamdwykarkkkhxngesnesiyng esiyngsungbib V ˀ aelalksnanaesiyngkxngmilmtamdwykarkkkhxngesnesiyng esiyngtakratuk V ˀ rabbkarekhiynedimthiphasachxngimmitwxksrsahrbekhiyn enuxngcakepnphasathiichphudethann txmaechin phnphay xditkanntablkhlxngphlu xaephxekhakhichchkut cnghwdcnthburi thimikhwamphyayaminkarrksaxtlksnchxng idkhidkhnrabbkarekhiynihm odysuksacakxksrithy xksrmxy xksrekhmr aelaxksrormn aelaidrbkhaaenanacaknkphasasastraekhnadathixxkaebbxksrihichnganngay mirabbkarekhiynbrrthdediywaebbphasaxngkvs immisraaelawrrnyuktxyuehnuxhruxitbrrthd aelamikhwamphyayamthicathaepnchudaebbxksr in ph s 2553 miphusamarthichxksrniidradbkhlxngaekhlw 20 khn twekhiynphasachxngxksrithytamthikhnakrrmkarcdtharabbekhiynphasathxngthinkhxngklumchatiphnthudwyxksrithyaehngrachbnthitysthan pccubnkhuxsanknganrachbnthityspha idkahndiw midngni phyychna xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmayk k chkub kbekuxk rxngethakh kʰ khxn hnung ŋ ngw wwpang dxkimc c ecd kwangkamuc taikhrch cʰ chx hmas s si nguy ɲ yam niwkhany aehd d dung maphraw t emuxepnphyychnathay kamad aerdt t emuxepnphyychnatn tung ikhth tʰ tham pun n nxng phuekhakhin naetab b buy hlngkha p emuxepnphyychnathay krub maekhuxepraap p emuxepnphyychnatn kapaw khwayph pʰ ophn klxngf f fung fung lksnnam m m emw plamangam phungy j kayang etaomy hnungr r rxng takhabl l aelk ikw w wa lingephlw ifx ʔ emuxepnphyychnatn xud thxnimh h hay tnkhaw khawepluxkkathuh khawtxkimmirup ʔ emuxepnphyychnathay ekhla xay sra xksrithy esiyng twxyangkha khwamhmay a a emuxmiphyychnathayepn ʔ kala ibim e emuxxyuinphyangkhthiimennhnk kaway krawan a emuxmiphyychnathaythiimich ʔ m j w hc kraoddphh aehng a aː kata epdngay ikl i i mdtangi phraxathityphic nxn i iː phri paping suk u ɨ kuy xyuchumkhun phuhying ux ɨː emuxepnphyangkhepid kaphux maefuxng u ɨː emuxepnphyangkhpid thud khi u u kachu krachukamruy lin u uː kaphu xxykhuy phngphxne a e emuxmiphyychnathayepn ʔ ela hmwkkhlayngxbe e emuxmiphyychnathayxun aelaimmiekhruxnghmaylksnanaesiyng elng elngexn esnexne e emuxmiphyychnathayxun aelamiekhruxnghmaylksnanaesiyng eyy okhlngekhlngelc nidhnxy eː epl epletw khwaae a ɛ emuxmiphyychnathayepn ʔ aepha aephaae ɛ emuxmiphyychnathayxun aelaimmiekhruxnghmaylksnanaesiyng kaaethh faphaaepn epnae ɛ emuxmiphyychnathayxun aelamiekhruxnghmaylksnanaesiyng kaaethh ekwiynaesc hnaw ɛː aes nakaaemlng bao a o emuxmiphyychnathayepn ʔ khaoma kxnhino a ldrup o emuxmiphyychnathayxun kathng kratayo oː kaokh khrkophlm khiphung cakrngphung e aa ɔ emuxmiphyychnathayepn ʔ engaa engaa x ɔ emuxmiphyychnathayxun aelaimmiekhruxnghmaylksnanaesiyng txng banthxm lung x ɔ emuxmiphyychnathayxun aelamiekhruxnghmaylksnanaesiyng khamxk ixmxng kb dwy ɔː kakhx craekhphrxk krarxke xa e emuxmiphyychnathayepn ʔ elxa elxa skprke x eː emuxepnphyangkhepid kaechx krabungaetngngane i e emuxmiphyychnathayxun kaethin nxng eː emuxepnphyangkhpid eying sunge iy ia sukepiy phmepiye ux ɨe ekuxk rxngetha w ue emuximmiphyychnathay bw bw w ue emuxmiphyychnathay hwc phiwpak a am kati kamuxi aj ih ihe a aw exa esux lksnanaesiyng xksrithy lksna naesiyng twxyangkha khwamhmayimmirup klangpkti katak thwsab cudsuc esn taihy kalang huchk chkluy aehlm sungbib katak linsab swangsuc md takratuk kalang thraychk hmuluy iseduxnsthankarninpccubnpccubnphasachxngxyuphawawikvtiklsuy khnethakhnaekesiydaythiphasachxngcasuyhayip odypccubnmichawchxngxyuxasythinthanedimbriewntablkhlxngphlu xaephxekhakhichchkut aetaehlngthiphudknmakthisudxyuthitabltaekhiynthxng cnghwdcnthburi praman 6 000 khn aetthiphudidmiephiyngpraman 500 khn odyswnihyepnkhnsungxayuthimixayu 50 pikhunip swnwyrunchawchxngnnxaythicaphudphasadngedimpracachatiphnthukhxngtn khnanimhawithyalymhidlphyayamcafunfuodyihchawbanmiswnrwminkarbnthukesiyngaelathxdphasaphudepnphasaekhiyn ihorngeriynbankhlxngphlusxnphasachxngihkblukhlanchxng aethrkepnhlksutrthxngthininchwngchnprathmsuksapithi 3 thungchnprathmsuksapithi 5 cakkarsuksakhxngxisra chusri phbwa phuphudphasachxngthinehnux taekhiynthxng khlxngphlu mxngwatnexngepnklumphuphudphasathinaeyktanghakcakphuphudphasachxngthinit phlwng chakithy khwamtrahnkniepnpccyhnungthithaihphuphudphasathinehnuxeluxkthicaepidokhrngkarfunfuphasachxnginthintnexngaethnthicaepnphasachxngkhxngthngxaephxekhakhichchkut xisra chusri yngihkhwamehnwa cakmummxngthangphasasastrsngkhm phasachxngthinehnuxmixnakhtthisdiskwaphasachxngthinitinaengkarkhngcanwnphuphudiw inkhnathiphasachxngthintawnxxk wngkraaephr inxaephxopngnarxnnnxyuinphawaiklsuyetmthixangxingphasachxng thi Ethnologue 21st ed 2018 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux e21 hlaykhrngdwyenuxhatangkn aebberiynphasachxng Chong language Hammarstrom Harald Forke Robert Haspelmath Martin Bank Sebastian b k 2020 Chong of Chanthaburi Glottolog 4 3 wibuly ekhmechlim withikhnpatawnxxkphunsudthay krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy hna 69 71 Premsrirat Suwilai Chong Language Revitalization Project PDF Mekong Watch Mahidol University subkhnemux 22 June 2019 Choosri Isara 2002 Mapping dialects of Chong in Chanthaburi province Thailand an application of Geographical Information System GIS M A dissertation Mahidol University Sidwell Paul 2009 Classifying Austro Asiatic languages history and state of the art LINCOM studies in Asian linguistics 76 Munich Lincom Europa Martin Marie A 1975 Les dialectes Pears dans leurs rapports avec les langues nationales Journal of the Siam Society 63 2 86 Choosri Isara 2002 Dialects of Chong Mon Khmer Studies 32 67 rachbnthitysthan 2555 khumuxrabbekhiynphasachxngxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan hna 33 rachbnthitysthan 2555 khumuxrabbekhiynphasachxngxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan hna 38 rachbnthitysthan 2555 khumuxrabbekhiynphasachxngxksrithy chbbrachbnthitysthan krungethph rachbnthitysthan hna 39 xngkh brrcun 2553 syam hlakephahlayphnthu krungethph mtichn hna 132 xanephimectncrry xacithsng phraxthikarthwchchy cn thochot phraxacarysi etchphol echin phnphay aelakharn wngsri 2556 aebberiynphasachxng phimphkhrngthi 3 cnthburi tnchbb phrakhruthrrmsrkhun ekhiyn khn thsor aelathrrm phnthusirisd 2541 xarythrrmchxng cnthburi in xarythrrm chxng cnthburi aelaxanackrcnthbur emuxngephniyt krungethph orngphimphithyraywn Gordon Raymond G Jr ed 2005 Ethnologue Languages of the World Fifteenth edition Dallas Tex SIL International Online version http www ethnologue com DiCanio C T 2009 The Phonetics of Register in Takhian Thong Chong Journal of the International Phonetic Association 39 2 162 188 Huffman Franklin E 1985 The phonology of Chong a Mon Khmer language of Thailand a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Isarangura N N 1935 Vocubulary of Chawng words collected in Krat Province S l s n Premsrirat Suwilai Rojanakul Nattamon 2015 Chong In Paul Sidwell and Mathias Jenny eds The Handbook of Austroasiatic Languages 603 642 Leiden Brill Suphanphaiboon Surekha 1982 The Phonology of Chong Takianthong Makham District Chantaburi withyaniphnth