ภาษาซำเร ภาษาซัมเร หรือ ภาษาสำเร เป็นภาษาใกล้สูญภาษาหนึ่งในของตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก งานวิจัยฉบับหนึ่งใน พ.ศ. 2544 รายงานว่ามีผู้พูดภาษานี้ประมาณ 20 คนในตำบลนนทรีย์ อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ประเทศไทย
ภาษาซำเร | |
---|---|
ภาษาซัมเร, ภาษาสำเร | |
ออกเสียง | /samɹeː/ [samˈɹeː³³²~samˈɣeː³³²] |
ประเทศที่มีการพูด | ไทย |
ภูมิภาค | จังหวัดตราด |
ชาติพันธุ์ | ชาวซำเร |
จำนวนผู้พูด | 20 คน (2544) |
ตระกูลภาษา | ออสโตรเอเชียติก
|
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | ไทย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | ไม่มี (mis ) |
สัทวิทยา
ระบบเสียงภาษาซำเรมีลักษณะตามแบบฉบับของภาษากลุ่มมอญ-เขมรสมัยใหม่และแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลทางสัทวิทยาบางประการจากภาษาเขมรสมัยกลางในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เช่นเดียวภาษาอื่น ๆ นอกจากนี้ระบบเสียงภาษาซำเรยังแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของภาษาไทยในแง่การพัฒนาระบบวรรณยุกต์ขึ้นมาใช้เพื่อจำแนกความหมายของคำ เช่นเดียวกับภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอื่น ๆ โดยทั่วไป และภาษากลุ่มปอร์โดยเฉพาะ ผู้พูดภาษาซำเรอาจเปล่งเสียงสระออกมาด้วยคุณภาพเสียงที่แตกต่างกันได้ ซึ่งเป็นระบบที่เรียกว่า "ลักษณะน้ำเสียง" หรือ "ลักษณะเสียงพูด" อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างระหว่างเสียงพูดลมแทรกกับเสียงพูดปกตินั้นไม่มีลักษณะเปรียบต่างอีกต่อไป และมีความสำคัญรองลงมาจากเสียงวรรณยุกต์ของคำคำหนึ่ง
พยัญชนะ
ลักษณะการออกเสียง | ตำแหน่งเกิดเสียง | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เสียงนาสิก | m | n | ɲ | ŋ | ||||
เสียงหยุด | ก้อง | b | d | |||||
ไม่ก้อง | ไม่พ่นลม | p | t | c | k | ʔ | ||
พ่นลม | pʰ | tʰ | cʰ | kʰ | ||||
s | h | |||||||
w | ɹ | j | ||||||
เสียงเปิด | l |
- หน่วยเสียงที่เป็นได้ทั้งและมี 13 หน่วยเสียง ได้แก่ /m/, /n/, /ɲ/, /ŋ/, /p/, /t/, /c/, /k/, /ʔ/, /h/, /ɹ/, /w/ และ /j/
- หน่วยเสียงพยัญชนะต้นควบมี 15 หน่วยเสียง ได้แก่ /pɹ/, /pl/, /pʰɹ/, /pʰl/, /bl/, /tɹ/, /tʰɹ/, /cɹ/, /cʰɹ/, /kɹ/, /kl/, /kʰɹ/, /kʰl/, /mɹ/ และ /sɹ/
- หน่วยเสียง /s/ เมื่อตามด้วย /ɹ/ และสระสั้น อาจออกเสียงเป็น [s] หรือ [tʰ] เช่น /sɹàŋ/ [sɹaŋ²¹~sɣaŋ²¹~tʰɹaŋ²¹~tʰɣaŋ²¹] 'เสา'
- หน่วยเสียง /w/ เมื่อเกิดในตำแหน่งต้นพยางค์ อาจออกเสียงเป็นเสียงเปิด ริมฝีปาก-เพดานอ่อน [w] หรือเสียงเปิด ริมฝีปาก-ฟัน [ʋ] เช่น /wəj/ [wəj³³²~ʋəj³³²] 'ตี'
- หน่วยเสียง /ɹ/ เมื่อเกิดในตำแหน่งท้ายพยางค์และตามหลังสระ /a/ หรือสระ /aː/ ออกเสียงเป็นเสียงกึ่งสระตำแหน่งลิ้นอยู่ตรงกลาง [ɯ̯] เช่น /tʰaɹ/ [tʰaɯ̯³³²] 'เสื้อผ้า' แต่เมื่อเกิดในตำแหน่งอื่น ๆ อาจออกเสียงเป็นเสียงเปิด ปุ่มเหงือก [ɹ] หรือเสียงเสียดแทรก เพดานอ่อน ก้อง [ɣ] เช่น /cɹam/ [cɹam³³²~cɣam³³²] 'จุ่ม, แช่' ทั้งนี้ การออกเสียงเป็น [ɣ] มักได้ยินในหมู่ผู้พูดรุ่นเก่าซึ่งถือว่าการออกเสียงเช่นนี้เป็นการออกเสียงที่ "ถูกต้อง" แต่ในขณะเดียวกันยังถือว่าเป็นการออกเสียงแบบ "กระด้าง" บางครั้งพวกเขาจึงออกเสียงเป็น [ɹ] แทนเพื่อให้ฟังดู "นุ่มนวล" หรือ "รื่นหู" ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การออกเสียงเป็น [ɣ] ยังพบไม่บ่อยนักในหมู่ผู้พูดอายุน้อยหรือผู้พูดภาษาไม่คล่องซึ่งจะออกเสียงเป็น [ɹ] หรือออกเสียงเป็นเสียงลิ้นกระทบหรือเสียงรัว ปุ่มเหงือก /r/ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากภาษาไทยมาตรฐาน
สระ
สระเดี่ยว
ระดับลิ้น | ตำแหน่งลิ้น | ||
---|---|---|---|
หน้า | กลาง | หลัง | |
สูง | i, iː | ɯ, ɯː | u, uː |
กลาง | e, eː | ə, əː | o, oː |
ต่ำ | ɛ, ɛː | a, aː | ɔ, ɔː |
สระประสม
ภาษาซำเรมีหน่วยเสียง 3 หน่วยเสียง ได้แก่ /iə/, /ɯə/ และ /uə/ ไม่มีความแตกต่างระหว่างเสียงสั้นกับเสียงยาวของสระประสมทั้งสาม
ลักษณ์เหนือหน่วยแยกส่วน
ในปัจจุบันระบบลักษณะน้ำเสียงของภาษาซำเรได้เปลี่ยนแปลงมาเป็นระบบเสียงวรรณยุกต์ที่มีหน่วยเสียง 3 หน่วยเสียง ได้แก่
- วรรณยุกต์กลาง เมื่อเกิดในคำเป็นจะมีระดับเสียงเป็น [³³²] เมื่อเกิดในคำตายเสียงยาว (รวมทั้งคำที่ลงท้ายด้วย /h/) จะมีระดับเสียงเป็น [³³⁴] และเมื่อเกิดในคำตายเสียงสั้น (รวมทั้งคำที่ลงท้ายด้วย /h/) จะมีระดับเสียงเป็น [³⁴⁴]
- วรรณยุกต์ต่ำ เมื่อเกิดในคำเป็นจะมีระดับเสียงเป็น [²¹] และเมื่อเกิดในคำตาย (รวมทั้งคำที่ลงท้ายด้วย /h/) จะมีระดับเสียงเป็น [²²]
- วรรณยุกต์กลาง-ตก เมื่อเกิดในคำเป็นจะมีระดับเสียงเป็น [⁴⁵¹] และเมื่อเกิดในคำตายเสียงยาว (รวมทั้งคำที่ลงท้ายด้วย /h/) จะมีระดับเสียงเป็น [³⁴²]
อย่างไรก็ตาม ยังปรากฏร่องรอยการใช้ลักษณะน้ำเสียงลมแทรกควบคู่ไปกับเสียงวรรณยุกต์อยู่บ้างในบางคำหรือบางสัทบริบท แม้ว่าจะไม่มีนัยสำคัญในการจำแนกความหมายของคำก็ตาม
สถานการณ์ในปัจจุบัน
ภาษาซำเรเป็นภาษาหนึ่งที่อยู่ในภาวะวิกฤตใกล้สูญ การใช้ภาษาในปัจจุบันแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของภาษาไทยอย่างชัดเจน เช่น การยืมคำศัพท์พื้นฐานจำนวนมากจากภาษาไทย การใช้เสียงวรรณยุกต์ในการจำแนกความหมายของคำ เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบว่ามีผู้พูดภาษาซำเรได้เพียงประมาณ 20 คน ในจำนวนนี้มักใช้ภาษาซำเรสลับกับภาษาไทยแต่ส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยมากกว่า ส่วนเด็กชาวซำเรเรียนภาษาไทยและใช้เพียงภาษาไทยเท่านั้น ทัศนคติต่อภาษาดั้งเดิมของกลุ่มตนเองเป็นไปในทางค่อนข้างลบ
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประกาศขึ้นทะเบียนภาษาซำเรเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติไทย สาขาภาษา เมื่อ พ.ศ. 2557
อ้างอิง
- Ploykaew 2001, p. 23
- Ploykaew 2001, p. 19
- (2011). "Toward Proto Pearic: problems and historical implications". Mon-Khmer Studies Journal. Mon-Khmer Studies Special Issue No. 2: Austroasiatic Studies - papers from ICAAL4. สืบค้นเมื่อ 30 November 2015.
- Ploykaew 2001, p. 62
- Ploykaew 2001, p. 47
- Ploykaew 2001, p. 46
- Ploykaew 2001, p. 48
- Ploykaew 2001, p. 49
- Ploykaew 2001, p. 54
- Ploykaew 2001, p. 67
- Ploykaew 2001, p. 68
- Ploykaew 2001, p. 64
- อิสระ ชูศรี และคณะ 2565, p. 24
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 2559, p. 25
บรรณานุกรม
- กรมส่งเสริมวัฒนธรรม (2559). ภาษา: มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
- อิสระ ชูศรี และคณะ (2565). เสียงสุดท้ายในความทรงจำ Last Speakers. นครปฐม: ศูนย์ศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
- Ploykaew, Pornsawan (2001). Samre Grammar (Ph.D. thesis). Mahidol University.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasasaer phasasmer hrux phasasaer epnphasaiklsuyphasahnunginkhxngtrakulphasaxxsotrexechiytik nganwicychbbhnungin ph s 2544 raynganwamiphuphudphasanipraman 20 khnintablnnthriy xaephxbxir cnghwdtrad praethsithyphasasaerphasasmer phasasaerxxkesiyng samɹeː samˈɹeː samˈɣeː praethsthimikarphudithyphumiphakhcnghwdtradchatiphnthuchawsaercanwnphuphud20 khn 2544 trakulphasaxxsotrexechiytik chxngchxngklangphasasaersthanphaphthangkarphasachnklumnxythirbrxngin ithyrhsphasaISO 639 3immi mis sthwithyarabbesiyngphasasaermilksnatamaebbchbbkhxngphasaklummxy ekhmrsmyihmaelaaesdngihehnthungxiththiphlthangsthwithyabangprakarcakphasaekhmrsmyklanginkhriststwrrsthi 17 echnediywphasaxun nxkcaknirabbesiyngphasasaeryngaesdngihehnthungxiththiphlkhxngphasaithyinaengkarphthnarabbwrrnyuktkhunmaichephuxcaaenkkhwamhmaykhxngkha echnediywkbphasatrakulxxsotrexechiytikxun odythwip aelaphasaklumpxrodyechphaa phuphudphasasaerxaceplngesiyngsraxxkmadwykhunphaphesiyngthiaetktangknid sungepnrabbthieriykwa lksnanaesiyng hrux lksnaesiyngphud xyangirktam khwamaetktangrahwangesiyngphudlmaethrkkbesiyngphudpktinnimmilksnaepriybtangxiktxip aelamikhwamsakhyrxnglngmacakesiyngwrrnyuktkhxngkhakhahnung phyychna hnwyesiyngphyychnaphasasaer lksnakarxxkesiyng taaehnngekidesiyngesiyngnasik m n ɲ ŋesiynghyud kxng b dimkxng imphnlm p t c k ʔphnlm pʰ tʰ cʰ kʰs hw ɹ jesiyngepid l hnwyesiyngthiepnidthngaelami 13 hnwyesiyng idaek m n ɲ ŋ p t c k ʔ h ɹ w aela j hnwyesiyngphyychnatnkhwbmi 15 hnwyesiyng idaek pɹ pl pʰɹ pʰl bl tɹ tʰɹ cɹ cʰɹ kɹ kl kʰɹ kʰl mɹ aela sɹ hnwyesiyng s emuxtamdwy ɹ aelasrasn xacxxkesiyngepn s hrux tʰ echn sɹaŋ sɹaŋ sɣaŋ tʰɹaŋ tʰɣaŋ esa hnwyesiyng w emuxekidintaaehnngtnphyangkh xacxxkesiyngepnesiyngepid rimfipak ephdanxxn w hruxesiyngepid rimfipak fn ʋ echn wej wej ʋej ti hnwyesiyng ɹ emuxekidintaaehnngthayphyangkhaelatamhlngsra a hruxsra aː xxkesiyngepnesiyngkungsrataaehnnglinxyutrngklang ɯ echn tʰaɹ tʰaɯ esuxpha aetemuxekidintaaehnngxun xacxxkesiyngepnesiyngepid pumehnguxk ɹ hruxesiyngesiydaethrk ephdanxxn kxng ɣ echn cɹam cɹam cɣam cum aech thngni karxxkesiyngepn ɣ mkidyininhmuphuphudrunekasungthuxwakarxxkesiyngechnniepnkarxxkesiyngthi thuktxng aetinkhnaediywknyngthuxwaepnkarxxkesiyngaebb kradang bangkhrngphwkekhacungxxkesiyngepn ɹ aethnephuxihfngdu numnwl hrux runhu yingkhun nxkcakni karxxkesiyngepn ɣ yngphbimbxynkinhmuphuphudxayunxyhruxphuphudphasaimkhlxngsungcaxxkesiyngepn ɹ hruxxxkesiyngepnesiynglinkrathbhruxesiyngrw pumehnguxk r enuxngcakidrbxiththiphlcakphasaithymatrthansra sraediyw hnwyesiyngsraediywphasasaer radblin taaehnnglinhna klang hlngsung i iː ɯ ɯː u uːklang e eː e eː o oːta ɛ ɛː a aː ɔ ɔː sraprasm phasasaermihnwyesiyng 3 hnwyesiyng idaek ie ɯe aela ue immikhwamaetktangrahwangesiyngsnkbesiyngyawkhxngsraprasmthngsam lksnehnuxhnwyaeykswn inpccubnrabblksnanaesiyngkhxngphasasaeridepliynaeplngmaepnrabbesiyngwrrnyuktthimihnwyesiyng 3 hnwyesiyng idaek wrrnyuktklang emuxekidinkhaepncamiradbesiyngepn emuxekidinkhatayesiyngyaw rwmthngkhathilngthaydwy h camiradbesiyngepn aelaemuxekidinkhatayesiyngsn rwmthngkhathilngthaydwy h camiradbesiyngepn wrrnyuktta emuxekidinkhaepncamiradbesiyngepn aelaemuxekidinkhatay rwmthngkhathilngthaydwy h camiradbesiyngepn wrrnyuktklang tk emuxekidinkhaepncamiradbesiyngepn aelaemuxekidinkhatayesiyngyaw rwmthngkhathilngthaydwy h camiradbesiyngepn xyangirktam yngpraktrxngrxykarichlksnanaesiynglmaethrkkhwbkhuipkbesiyngwrrnyuktxyubanginbangkhahruxbangsthbribth aemwacaimminysakhyinkarcaaenkkhwamhmaykhxngkhaktamsthankarninpccubnphasasaerepnphasahnungthixyuinphawawikvtiklsuy karichphasainpccubnaesdngihehnthungxiththiphlkhxngphasaithyxyangchdecn echn karyumkhasphthphunthancanwnmakcakphasaithy karichesiyngwrrnyuktinkarcaaenkkhwamhmaykhxngkha epntn nxkcakniyngphbwamiphuphudphasasaeridephiyngpraman 20 khn incanwnnimkichphasasaerslbkbphasaithyaetswnihyichphasaithymakkwa swnedkchawsaereriynphasaithyaelaichephiyngphasaithyethann thsnkhtitxphasadngedimkhxngklumtnexngepnipinthangkhxnkhanglb krmsngesrimwthnthrrm krathrwngwthnthrrm prakaskhunthaebiynphasasaerepnmrdkphumipyyathangwthnthrrmkhxngchatiithy sakhaphasa emux ph s 2557xangxingPloykaew 2001 p 23 Ploykaew 2001 p 19 2011 Toward Proto Pearic problems and historical implications Mon Khmer Studies Journal Mon Khmer Studies Special Issue No 2 Austroasiatic Studies papers from ICAAL4 subkhnemux 30 November 2015 Ploykaew 2001 p 62 Ploykaew 2001 p 47 Ploykaew 2001 p 46 Ploykaew 2001 p 48 Ploykaew 2001 p 49 Ploykaew 2001 p 54 Ploykaew 2001 p 67 Ploykaew 2001 p 68 Ploykaew 2001 p 64 xisra chusri aelakhna 2565 p 24 krmsngesrimwthnthrrm 2559 p 25brrnanukrmkrmsngesrimwthnthrrm 2559 phasa mrdkphumipyyathangwthnthrrmkhxngchati krungethph krmsngesrimwthnthrrm xisra chusri aelakhna 2565 esiyngsudthayinkhwamthrngca Last Speakers nkhrpthm sunysuksaaelafunfuphasaaelawthnthrrminphawawikvt sthabnwicyphasaaelawthnthrrmexechiy mhawithyalymhidl Ploykaew Pornsawan 2001 Samre Grammar Ph D thesis Mahidol University