วัดแค ตั้งอยู่บริเวณ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม มีชื่อเดิมว่า วัดกัมพูชาราม ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นตามเชื้อชาติของผู้อยู่อาศัยในบริเวณนี้ ซึ่งเป็นชาวกัมพูชาซึ่งถูกกวาดต้อนมาภายหลังแพ้สงคราม โดยไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัดว่าสร้างขึ้นในยุคสมัยใด และใครเป็นผู้สร้าง แต่ตามประวัติแล้วเชื่อว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งเมื่อพิจารณาจากหลักฐานทางศิลปะ และลักษณะความโดดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมของแต่ละยุคสมัย สิ่งที่วัดแค มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากวัดอื่นโดยทั่วไป ก็คือ เครื่องยอดของหลังคาโบสถ์เป็นรูปมังกรแทนที่เครื่องยอดทั่วไปตามสถาปัตยกรมแบบพุทธศาสนาซึ่งมีช่อฟ้า ใบระกา หางหงษ์ มังกรแบบจีนนี้เลื้อยขดอยู่ที่ปลายสุดของสันหลังคาทั้งสองด้าน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นการใช้ศิลปกรรมแบบจีน นอกจากนั้นบริเวณหน้าบันของวิหาร ยังมีเครื่องถ้วยชามทั้งที่เป็นชามลายครามและชาม ซึ่งการใช้ถ้วยชามประดับสถาปัตยกรรม จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ลักษณะทางศิลปะ สถาปัตยกรรม และข้อสังเกตต่าง ๆ จึงสันนิษฐานได้ว่า วัดแค น่าจะสร้างขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในสมัยนั้น ซึ่งมักเรียกว่าแบบจีนนี้นิยม ดังเช่นพระอุโบสถวัดเทพธิดาราม พระปรางค์วัดอรุณ พระอุโบสถวัดเขายี่สาร อำเภออัมพวา สมุทรสงคราม เป็นต้น
วัดแค | |
---|---|
ชื่อสามัญ | วัดแค, วัดกัมพูชาราม |
ที่ตั้ง | อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม |
ประเภท | วัดราษฎร์ |
นิกาย | มหานิกาย |
ส่วนหนึ่งของ |
โดยจากการศึกษาประวัติศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในอดีต พบว่านับตั้งแต่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นตั้งแต่รัชกาลที่ 1–3 ไทยยังมีสงครามกับเพื่อนบ้านอยู่เป็นระยะ ๆ ทำให้มีการอพยพเชลยศึกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาเป็นกำลังพัฒนาประเทศ เชลยศึกเหล่านั้นถูกกำหนดให้นำมาไว้ที่ริมแม่น้ำนครชัยศรี โดยเฉพาะเขตอำเภอนครชัยศรี เช่น ชุมชนชาวลาวที่ใกล้วัดกลางคูเวียง ชุมชนชาวเขมรที่ใกล้วัดแคและวัดสัมปทวน ส่วนชุมชนชาวแขกฮินดูจากเขมรไว้ที่ และมอญไว้ที่ทางราชบุรี แต่เดินทางผ่านแม่น้ำนครชัยศรีช่วง วัดตรงนั้นจึงชื่อวัดท่ามอญ ซึ่งในช่วงรัชกาลที่ 3 ได้มีการอพยพย้ายถิ่นของคนจีนจากหลายจังหวัดและมณฑลของจีนแผ่นดินใหญ่ เพื่อหลีกหนีความยากลำบากจากการดำรงชีพในจีน เพื่อหาแหล่งดำรงชีพที่ดีกว่า จึงมุ่งตั้งหลักปักฐานในประเทศไทย โดยรอนแรมมาทางเรือเข้ามายังอ่าวไทยเพื่อที่จะมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งคนจีนเหล่านั้นก็ได้รับการต้อนรับด้วยดี ทำให้คนจีนแทรกตัวอยู่ในชุมชนไทยทุกหนทุกแห่งที่อยู่ริมแม่น้ำลำคลองในภาคกลางรวมถึงที่มณฑลนครชัยศรีแห่งนี้ด้วย
เมื่อศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนบริเวณนครชัยศรี พบว่า หลักฐานจากตอนหนึ่งของหนังสือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวกับโบราณคดีในเมืองนครชัยศรี ซึ่งอาจารย์ชูสิริ จามรมาน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เรียบเรียงเมื่อ พ.ศ. 2513 ตอนหนึ่งว่า เมืองนครชัยศรี สร้างขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ แห่งกรุงศรีอยุธยา เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ใกล้บริเวณอำเภอนครชัยศรีปัจจุบัน ได้ย้ายจากที่นั่น มาอยู่ที่ใกล้บริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ เมื่อปี พ.ศ. 2440 คือ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wdaekh tngxyubriewn xaephxnkhrchysri cnghwdnkhrpthm michuxedimwa wdkmphucharam sungepnchuxthitngkhuntamechuxchatikhxngphuxyuxasyinbriewnni sungepnchawkmphuchasungthukkwadtxnmaphayhlngaephsngkhram odyimprakthlkthanthiaenchdwasrangkhuninyukhsmyid aelaikhrepnphusrang aettamprawtiaelwechuxwanacathuksrangkhuninchwngtnkrungrtnoksinthr sungemuxphicarnacakhlkthanthangsilpa aelalksnakhwamoddednthangdansthaptykrrmkhxngaetlayukhsmy singthiwdaekh milksnaphiessthiaetktangcakwdxunodythwip kkhux ekhruxngyxdkhxnghlngkhaobsthepnrupmngkraethnthiekhruxngyxdthwiptamsthaptykrmaebbphuththsasnasungmichxfa ibraka hanghngs mngkraebbcinnieluxykhdxyuthiplaysudkhxngsnhlngkhathngsxngdan sunglwnaelwaetepnkarichsilpkrrmaebbcin nxkcaknnbriewnhnabnkhxngwihar yngmiekhruxngthwychamthngthiepnchamlaykhramaelacham sungkarichthwychampradbsthaptykrrm cakhlkthanthangprawtisastr lksnathangsilpa sthaptykrrm aelakhxsngekttang cungsnnisthanidwa wdaekh nacasrangkhuninsmy rchkalthi 3 aehngkrungrtnoksinthr sungepnrupaebbthiniymkninsmynn sungmkeriykwaaebbcinniniym dngechnphraxuobsthwdethphthidaram phraprangkhwdxrun phraxuobsthwdekhayisar xaephxxmphwa smuthrsngkhram epntnwdaekhchuxsamywdaekh wdkmphucharamthitngxaephxnkhrchysri cnghwdnkhrpthmpraephthwdrasdrnikaymhanikayswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasna odycakkarsuksaprawtisastraelakartngthinthankhxngchumchnobraninxdit phbwanbtngaetsmykrungrtnoksinthrtxntntngaetrchkalthi 1 3 ithyyngmisngkhramkbephuxnbanxyuepnraya thaihmikarxphyphechlysukcakpraethsephuxnbanekhamaepnkalngphthnapraeths echlysukehlannthukkahndihnamaiwthirimaemnankhrchysri odyechphaaekhtxaephxnkhrchysri echn chumchnchawlawthiiklwdklangkhuewiyng chumchnchawekhmrthiiklwdaekhaelawdsmpthwn swnchumchnchawaekhkhinducakekhmriwthi aelamxyiwthithangrachburi aetedinthangphanaemnankhrchysrichwng wdtrngnncungchuxwdthamxy sunginchwngrchkalthi 3 idmikarxphyphyaythinkhxngkhncincakhlaycnghwdaelamnthlkhxngcinaephndinihy ephuxhlikhnikhwamyaklabakcakkardarngchiphincin ephuxhaaehlngdarngchiphthidikwa cungmungtnghlkpkthaninpraethsithy odyrxnaermmathangeruxekhamayngxawithyephuxthicamaphungphrabrmophthismpharphramhakstriyithy sungkhncinehlannkidrbkartxnrbdwydi thaihkhncinaethrktwxyuinchumchnithythukhnthukaehngthixyurimaemnalakhlxnginphakhklangrwmthungthimnthlnkhrchysriaehngnidwy emuxsuksaprawtisastrchumchnbriewnnkhrchysri phbwa hlkthancaktxnhnungkhxnghnngsux phrabathsmedcphramngkudekla ecaxyuhwkbobrankhdiinemuxngnkhrchysri sungxacarychusiri camrman khnaxksrsastr mhawithyalysilpakr eriyberiyngemux ph s 2513 txnhnungwa emuxngnkhrchysri srangkhuninrchsmysmedcphramhackrphrrdi aehngkrungsrixyuthya emuxngnitngxyurimaemnathacin iklbriewnxaephxnkhrchysripccubn idyaycakthinn maxyuthiiklbriewnxngkhphrapthmecdiy emuxpi ph s 2440 khux inrchsmykhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw rchkalthi 5