สมการแฟรแนล (équations de Fresnel) หรือ สัมประสิทธิ์แฟรแนล (coefficient de Fresnel) เป็นชุดของสมการในทางทัศนศาสตร์ซึ่งค้นพบและอธิบายโดยนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ออกุสแต็ง-ฌ็อง แฟรแนล เพื่ออธิบายการสะท้อน และ การหักเห ของแสงเมื่อแผ่ผ่านสองชนิดที่มีค่าดรรชนีหักเหต่างกัน การสะท้อนที่อธิบายโดยสมการนี้อาจเรียกอีกอย่างว่า "การสะท้อนแบบแฟรแนล"
ภาพรวม
เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหเป็น ไปยังตัวกลางอีกตัวที่มีดรรชนีหักเหเป็น จะเกิดการสะท้อนและหักเหของแสงขึ้นพร้อมกันที่จุดรอยต่อของตัวกลางทั้งสอง สมการแฟรแนลสามารถอธิบายว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ของคลื่นแสงจะถูกหักเหและสะท้อนอย่างไร และยังอธิบายถึง เมื่อคลื่นสะท้อนกลับ
เงื่อนไขสำหรับสมการคือ: ผิวจุดเปลี่ยนเป็นระนาบเรียบ (ไม่ขรุขระ) และแสงที่ตกกระทบเป็น
โพลาไรเซชัน s และ p
ผลการคำนวณขึ้นอยู่กับสถานะโพลาไรเซชัน ของแสงที่ตกกระทบ โดยจะแบ่งออกเป็นสองกรณี คือ
- เมื่อองค์ประกอบสนามไฟฟ้าของแสงตกกระทบโพลาไรซ์ตั้งฉากกับระนาบที่เกิดจากแสงตกกระทบและแสงสะท้อน สถานะของแสงที่ตกกระทบในที่นี้เรียกว่า "คลื่น s" โดย s มาจากภาษาเยอรมัน "senkrecht " แปลว่า "ตั้งฉาก"
- เมื่อองค์ประกอบสนามไฟฟ้าของแสงตกกระทบโพลาไรซ์ขนานกับระนาบที่เกิดจากแสงตกกระทบและแสงสะท้อน สถานะของแสงที่ตกกระทบในที่นี้เรียกว่า "คลื่น p" โดย p มาจากคำว่า "parallel " ในภาษาเยอรมัน แปลว่า "ขนาน"
อนึ่ง ตั้งฉากและขนานในที่นี้กล่าวถึงทิศทางขององค์ประกอบสนามไฟฟ้าเท่านั้น ส่วนองค์ประกอบสนามแม่เหล็กจะถูกกำหนดตามมาโดยกฎมือขวา
สมการความเข้มแสง
ในภาพด้านขวา เมื่อแสงตกกระทบ PO มาถึงจุด O บนส่วนรอยต่อระหว่างตัวกลางทั้งสอง แสงส่วนหนึ่งจะสะท้อนไปทาง OQ ในขณะที่อีกส่วนหักเหไปทาง OS ให้มุมระหว่างเส้นแนวฉากกับรังสีตกกระทบ, รังสีสะท้อน และรังสีหักเหเป็น , และ ตามลำดับ
มุมของรังสีตกกระทบจะเท่ากับมุมของรังสีสะท้อนตามกฎการสะท้อน:
และความสัมพันธ์ระหว่างมุมตกกระทบกับมุมของรังสีหักเหเป็นไปตามกฎของสแน็ล คือ:
อัตราส่วนของความเข้มของแสงที่สะท้อนต่อแสงที่ตกกระทบบนพื้นผิวคือค่า ความสะท้อน ส่วนอัตราส่วนของการแสงที่หักเหคือค่า ความส่งผ่าน การคำนวณค่าความสะท้อนและความส่งผ่านต้องใช้ทฤษฎีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในวิชา รายละเอียดอาจอ่านได้ที่ "หลักการทางทัศนศาสตร์: ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของการแผ่ของแสง การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน" ของ มัคส์ บอร์น หรือ "กลศาสตร์ไฟฟ้าพลศาสตร์แบบคลาสสิก" ของแจ็กสัน
รูปแบบเฉพาะของการสะท้อนแสงและการส่งผ่านยังเกี่ยวข้องกับโพลาไรเซชันของแสงที่ตกกระทบ ถ้าเวกเตอร์องค์ประกอบสนามไฟฟ้าของแสงที่ตกกระทบตั้งฉากกับระนาบของภาพ (คือคลื่น s) ความสะท้อนจะเป็น
ในที่นี้มุมของรังสีหักเห ถูกแทนด้วยมุมของรังสีตกกระทบ โดยกฎของสแน็ล แล้วแปลงด้วยเอกลักษณ์ตรีโกณมิติ
ถ้าเวกเตอร์องค์ประกอบสนามไฟฟ้าของแสงที่ตกกระทบขนานกับระนาบของภาพ (คือคลื่น p) ความสะท้อนจะเป็น
ไม่ว่าในกรณีใด ค่าความส่งผ่านจะได้เป็น
หากแสงที่ตกกระทบเป็นแสงไม่โพลาไรซ์ (ประกอบด้วย ส่วน s และ ส่วน p ในปริมาณที่เท่ากัน) ค่าความสะท้อนโดยรวมคือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของทั้งสอง
อัตราส่วนของแอมพลิจูดของคลื่นแสงที่สะท้อนและหักเหต่อแอมพลิจูดของคลื่นแสงที่ตกกระทบ จะหาได้จากสมการที่คล้ายกัน แอมพลิจูดการสะท้อนและแอมพลิจูดการส่งผ่านมักจะเขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก และ โดยมีความสัมพันธ์กับค่าความสะท้อน และความส่งผ่าน คือ:
- และ
สำหรับแสงตกกระทบที่เป็นคลื่น p ค่า จะเป็นศูนย์ที่มุมตกกระทบเป็นค่าจำเพาะค่าหนึ่ง ในกรณีนี้คลื่น p จะถูกส่งผ่านอย่างสมบูรณ์โดยไม่มีการสะท้อนออกมา มุมนี้เรียกว่า มุมบริวสเตอร์ สำหรับกรณีที่ตัวกลางเป็นแก้วในอากาศหรือในสุญญากาศมุมนี้จะมีค่าประมาณ 56° อย่างไรก็ตาม คำจำกัดความนี้ใช้ได้สำหรับตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหเป็นจำนวนจริงเท่านั้น สำหรับวัสดุที่ดูดกลืนแสง เช่น โลหะ และ สารกึ่งตัวนำ ดรรชนีหักเหจะเป็นจำนวนเชิงซ้อน ดังนั้น โดยทั่วไปไม่เป็นศูนย์
เมื่อแสงแผ่จากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหสูงไปยังตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหต่ำกว่า (คือ ) จะมีค่ามีมุมตกกระทบวิกฤต ซึ่งแสงที่ตกกระทบมากกว่ามุมตกกระทบนี้จะถูกสะท้อนโดยพื้นผิวอย่างสมบูรณ์ทั้งคลื่น s และ p นั่นคือ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า การสะท้อนกลับทั้งหมด ค่ามุมวิกฤตนี้มีค่าประมาณ 41° สำหรับแก้วในอากาศ
เมื่อรังสีตกกระทบทำมุมเกือบตั้งฉาก () ความสะท้อนและความส่งผ่านจะเป็น:
สำหรับแก้วธรรมดา ค่าความสะท้อนจะอยู่ที่ประมาณ 4% อย่างไรก็ตาม การสะท้อนของคลื่นแสงข้างหน้าต่างรวมถึงชั้นด้านหน้าและชั้นด้านหลัง ดังนั้นคลื่นแสงจำนวนเล็กน้อยจะสะท้อนไปมาระหว่างชั้นทั้งสองก่อให้เกิดการแทรกสอดขึ้น หากละเลยผลของการแทรกสอดนี้ ความสะท้อนรวมของทั้งสองชั้นคือ
หมายเหตุว่า คำอธิบายทั้งหมดในข้างต้นนี้ถือว่าค่าสภาพให้ซึมผ่านได้ทางแม่เหล็กของตัวกลาง มีค่าเท่ากับสภาพให้ซึมผ่านได้ของสุญญากาศ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะเป็นจริงสำหรับวัสดุไดอิเล็กตริกส่วนใหญ่ แต่ไม่ใช่สำหรับสสารโดยทั่วไป ดังนั้น รูปแบบของสมการแฟรแนลที่ใช้จริงจึงซับซ้อนยิ่งกว่านี้
อ้างอิง
- Hecht (1987), p. 100.
- Max Born (October 13, 1999). . Cambridge University Press. p. 334. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-20. สืบค้นเมื่อ 2010-01-13.
- Jackson, J D (1999). Classical Electrodynamics (3rd). New York: Wiley. ISBN .
- Hecht (2002), p. 120.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smkaraefraenl equations de Fresnel hrux smprasiththiaefraenl coefficient de Fresnel epnchudkhxngsmkarinthangthsnsastrsungkhnphbaelaxthibayodynkfisikschawfrngess xxkusaetng chxng aefraenl ephuxxthibaykarsathxn aela karhkeh khxngaesngemuxaephphansxngchnidthimikhadrrchnihkehtangkn karsathxnthixthibayodysmkarnixaceriykxikxyangwa karsathxnaebbaefraenl khlunthiekidkarsathxnaelakarhkehemuxaephcaktwklangthimidrrchnihkehtaipsungphaphrwmemuxaesngedinthangcaktwklangthimidrrchnihkehepn n1 displaystyle n 1 ipyngtwklangxiktwthimidrrchnihkehepn n2 displaystyle n 2 caekidkarsathxnaelahkehkhxngaesngkhunphrxmknthicudrxytxkhxngtwklangthngsxng smkaraefraenlsamarthxthibaywaxngkhprakxbtang khxngkhlunaesngcathukhkehaelasathxnxyangir aelayngxthibaythung emuxkhlunsathxnklb enguxnikhsahrbsmkarkhux phiwcudepliynepnranaberiyb imkhrukhra aelaaesngthitkkrathbepn ophlaireschn s aela p phlkarkhanwnkhunxyukbsthanaophlaireschn khxngaesngthitkkrathb odycaaebngxxkepnsxngkrni khux emuxxngkhprakxbsnamiffakhxngaesngtkkrathbophlairstngchakkbranabthiekidcakaesngtkkrathbaelaaesngsathxn sthanakhxngaesngthitkkrathbinthinieriykwa khlun s ody s macakphasaeyxrmn senkrecht aeplwa tngchak emuxxngkhprakxbsnamiffakhxngaesngtkkrathbophlairskhnankbranabthiekidcakaesngtkkrathbaelaaesngsathxn sthanakhxngaesngthitkkrathbinthinieriykwa khlun p ody p macakkhawa parallel inphasaeyxrmn aeplwa khnan xnung tngchakaelakhnaninthiniklawthungthisthangkhxngxngkhprakxbsnamiffaethann swnxngkhprakxbsnamaemehlkcathukkahndtammaodykdmuxkhwa phaphprakxbaesdngtwaeprthiichinsmkaraefraenl phiwrxytx interface aesdnginaenwtng swnaenwchak normal epnaenwnxnsmkarkhwamekhmaesnginphaphdankhwa emuxaesngtkkrathb PO mathungcud O bnswnrxytxrahwangtwklangthngsxng aesngswnhnungcasathxnipthang OQ inkhnathixikswnhkehipthang OS ihmumrahwangesnaenwchakkbrngsitkkrathb rngsisathxn aelarngsihkehepn 8i displaystyle theta i 8r displaystyle theta r aela 8t displaystyle theta t tamladb mumkhxngrngsitkkrathbcaethakbmumkhxngrngsisathxntamkdkarsathxn 8i 8r displaystyle theta mathrm i theta mathrm r aelakhwamsmphnthrahwangmumtkkrathbkbmumkhxngrngsihkehepniptamkdkhxngsaenl khux sin 8isin 8t n2n1 displaystyle frac sin theta mathrm i sin theta mathrm t frac n 2 n 1 xtraswnkhxngkhwamekhmkhxngaesngthisathxntxaesngthitkkrathbbnphunphiwkhuxkha khwamsathxn R displaystyle R swnxtraswnkhxngkaraesngthihkehkhuxkha khwamsngphan T displaystyle T karkhanwnkhakhwamsathxnaelakhwamsngphantxngichthvsdikaraephkhlunaemehlkiffa inwicha raylaexiydxacxanidthi hlkkarthangthsnsastr thvsdiaemehlkiffakhxngkaraephkhxngaesng karaethrksxd aelakareliywebn khxng mkhs bxrn hrux klsastriffaphlsastraebbkhlassik khxngaecksn rupaebbechphaakhxngkarsathxnaesngaelakarsngphanyngekiywkhxngkbophlaireschnkhxngaesngthitkkrathb thaewketxrxngkhprakxbsnamiffakhxngaesngthitkkrathbtngchakkbranabkhxngphaph khuxkhlun s khwamsathxncaepn Rs sin 8t 8i sin 8t 8i 2 n1cos 8i n2cos 8tn1cos 8i n2cos 8t 2 n1cos 8i n21 n1n2sin 8i 2n1cos 8i n21 n1n2sin 8i 2 2 displaystyle R s left frac sin theta t theta i sin theta t theta i right 2 left frac n 1 cos theta i n 2 cos theta t n 1 cos theta i n 2 cos theta t right 2 left frac n 1 cos theta i n 2 sqrt 1 left frac n 1 n 2 sin theta i right 2 n 1 cos theta i n 2 sqrt 1 left frac n 1 n 2 sin theta i right 2 right 2 inthinimumkhxngrngsihkeh 8t displaystyle theta t thukaethndwymumkhxngrngsitkkrathb 8i displaystyle theta i odykdkhxngsaenl aelwaeplngdwyexklksntrioknmiti thaewketxrxngkhprakxbsnamiffakhxngaesngthitkkrathbkhnankbranabkhxngphaph khuxkhlun p khwamsathxncaepn Rp tan 8t 8i tan 8t 8i 2 n1cos 8t n2cos 8in1cos 8t n2cos 8i 2 n11 n1n2sin 8i 2 n2cos 8in11 n1n2sin 8i 2 n2cos 8i 2 displaystyle R p left frac tan theta t theta i tan theta t theta i right 2 left frac n 1 cos theta t n 2 cos theta i n 1 cos theta t n 2 cos theta i right 2 left frac n 1 sqrt 1 left frac n 1 n 2 sin theta i right 2 n 2 cos theta i n 1 sqrt 1 left frac n 1 n 2 sin theta i right 2 n 2 cos theta i right 2 imwainkrniid khakhwamsngphancaidepn T 1 R displaystyle T 1 R hakaesngthitkkrathbepnaesngimophlairs prakxbdwy swn s aela swn p inprimanthiethakn khakhwamsathxnodyrwmkhuxkhaechliyelkhkhnitkhxngthngsxng R Rs Rp2 displaystyle R frac R s R p 2 xtraswnkhxngaexmphlicudkhxngkhlunaesngthisathxnaelahkehtxaexmphlicudkhxngkhlunaesngthitkkrathb cahaidcaksmkarthikhlaykn aexmphlicudkarsathxnaelaaexmphlicudkarsngphanmkcaekhiyndwytwphimphelk r displaystyle r aela t displaystyle t odymikhwamsmphnthkbkhakhwamsathxn R displaystyle R aelakhwamsngphan T displaystyle T khux R r2 displaystyle R r 2 aela T n2cos 8tn1cos 8i t2 displaystyle T left frac n 2 cos theta t n 1 cos theta i right t 2 sahrbaesngtkkrathbthiepnkhlun p kha Rp displaystyle R p caepnsunythimumtkkrathbepnkhacaephaakhahnung inkrninikhlun p cathuksngphanxyangsmburnodyimmikarsathxnxxkma mumnieriykwa mumbriwsetxr sahrbkrnithitwklangepnaekwinxakashruxinsuyyakasmumnicamikhapraman 56 xyangirktam khacakdkhwamniichidsahrbtwklangthimidrrchnihkehepncanwncringethann sahrbwsduthidudklunaesng echn olha aela sarkungtwna drrchnihkehcaepncanwnechingsxn dngnn Rp displaystyle R p odythwipimepnsuny emuxaesngaephcaktwklangthimidrrchnihkehsungipyngtwklangthimidrrchnihkehtakwa khux n1 gt n2 displaystyle n 1 gt n 2 camikhamimumtkkrathbwikvt sungaesngthitkkrathbmakkwamumtkkrathbnicathuksathxnodyphunphiwxyangsmburnthngkhlun s aela p nnkhux Rs Rp 1 displaystyle R s R p 1 praktkarnnieriykwa karsathxnklbthnghmd khamumwikvtnimikhapraman 41 sahrbaekwinxakas emuxrngsitkkrathbthamumekuxbtngchak 8i 8t 0 displaystyle theta i approx theta t approx 0 khwamsathxnaelakhwamsngphancaepn R Rs Rp n1 n2n1 n2 2 displaystyle R R s R p left frac n 1 n 2 n 1 n 2 right 2 T Ts Tp 1 R 4n1n2 n1 n2 2 displaystyle T T s T p 1 R frac 4n 1 n 2 left n 1 n 2 right 2 sahrbaekwthrrmda khakhwamsathxncaxyuthipraman 4 xyangirktam karsathxnkhxngkhlunaesngkhanghnatangrwmthungchndanhnaaelachndanhlng dngnnkhlunaesngcanwnelknxycasathxnipmarahwangchnthngsxngkxihekidkaraethrksxdkhun haklaelyphlkhxngkaraethrksxdni khwamsathxnrwmkhxngthngsxngchnkhux 2R1 R displaystyle frac 2R 1 R hmayehtuwa khaxthibaythnghmdinkhangtnnithuxwakhasphaphihsumphanidthangaemehlkkhxngtwklang m displaystyle mu mikhaethakbsphaphihsumphanidkhxngsuyyakas m0 displaystyle mu 0 sungodythwipaelwcaepncringsahrbwsduidxielktrikswnihy aetimichsahrbssarodythwip dngnn rupaebbkhxngsmkaraefraenlthiichcringcungsbsxnyingkwanixangxingHecht 1987 p 100 Max Born October 13 1999 Cambridge University Press p 334 ISBN 0521642221 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 02 20 subkhnemux 2010 01 13 Jackson J D 1999 Classical Electrodynamics 3rd New York Wiley ISBN ISBN 0 471 30932 X Hecht 2002 p 120 duephimHecht Eugene 1987 Optics 2nd ed Addison Wesley ISBN 0 201 11609 X Hecht Eugene 2002 Optics 4th ed Addison Wesley ISBN 0 321 18878 0