สภาพให้ซึมผ่านได้ (permeability) ในทางทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นค่าที่บอกถึงระดับของความเหนี่ยวนำแม่เหล็กของวัสดุจากการตอบสนองเชิงเส้นกับสนามแม่เหล็ก มักจะแสดงด้วยตัวอักษรกรีก μ สูตรการแสดงสนามแม่เหล็กโดยใช้ค่านี้ถูกสร้างขึ้นในเดือนกันยายน 1885 โดยโอลิเวอร์ เฮวิไซด์
หน่วยเอสไอของสภาพให้ซึมผ่านได้คือ ต่อเมตร (H·m-1) หรือนิวตันต่อแอมแปร์กำลังสอง (N·A-2)
ค่าคงที่ คือค่าสภาพให้ซึมผ่านได้ของสุญญากาศ ซึ่งยังถูกเรียกว่า ค่าคงตัวแม่เหล็ก ซึ่งถูกนิยามไว้อย่างแน่ชัดมีค่าเป็น = 4π×10−7 N·A−2
คำอธิบาย
ในทางทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ค่าความแรงสนามแม่เหล็ก H อธิบายว่าการเหนี่ยวนำที่ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก B ส่งผลต่อกระจุกของไดโพลแม่เหล็กในตัวกลางเฉพาะอย่างไร รวมถึงการเคลื่อนตัวของไดโพลและการปรับทิศทางของไดโพลแม่เหล็ก ความสัมพันธ์กับค่าสภาพให้ซึมผ่านได้ของแม่เหล็ก คือ:
สภาพให้ซึมผ่านได้ μ จะเป็นปริมาณสเกลาร์ในตัวกลางไอโซทรอปิก และเป็นในตัวกลางแอนไอโซทรอปิก
โดยทั่วไป ค่าสภาพให้ซึมผ่านได้จะไม่คงที่ โดยอาจแปรผันตามตำแหน่งภายในตัวกลาง ความถี่ของสนาม รวมถึง ความชื้น อุณหภูมิ และพารามิเตอร์อื่น ๆ ในตัวกลางแบบไม่เชิงเส้น สภาพให้ซึมผ่านได้จะขึ้นอยู่กับความแรงสนามแม่เหล็ก สภาพให้ซึมผ่านได้เป็นฟังก์ชันของความถี่ อาจเป็นค่าจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อนได้ สำหรับในวัสดุ ความสัมพันธ์ระหว่าง B และ H นั้นจะไม่เป็นเชิงเส้น นั่นคือ B ไม่ใช่ฟังก์ชันที่เป็นแค่ค่าคงตัวคูณกับ H แต่ยังขึ้นอยู่กับประวัติความเปลี่ยนแปลงภายในตัววัสดุด้วย สำหรับวัสดุเหล่านี้ บางครั้งพิจารณาถึงสภาพให้ซึมผ่านได้ของแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้น
สภาพให้ซึมผ่านได้คือไฟฟ้าต่อหน่วยความยาว ในระบบหน่วยสากล หน่วยของสภาพให้ซึมผ่านได้คือ ต่อเมตร (H·m -1 = J/(A2·m) = N·A-2) ความแรงสนามแม่เหล็ก H คือ กระแสไฟฟ้าต่อหน่วยความยาว มีหน่วยเป็น แอมแปร์ต่อเมตร (A·m−1) ดังนั้น μH จึงเป็นค่าเป็นความเหนี่ยวนำคูณด้วยกระแสไฟฟ้าต่อหน่วยพื้นที่ (H·A/m2) แต่ความเหนี่ยวนำคือ ฟลักซ์แม่เหล็กต่อหน่วยกระแสไฟฟ้า ดังนั้นผลคูณจึงเป็นฟลักซ์แม่เหล็กต่อหน่วยพื้นที่ด้วย ในขณะที่ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก B มีหน่วยเป็นเวเบอร์ (โวลต์ วินาที) ต่อตารางเมตร (V·s/m2) หรือ เทสลา (T)
ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก B เกี่ยวพันกับแรงโลเรินตส์ของประจุเคลื่อนที่ q
หน่วยของประจุ q คือ คูลอมบ์ (C) และความเร็ว v คือ m/s ดังนั้นแรง F จึงคำนวณเป็นนิวตัน (N):
ส่วนความแรงสนามแม่เหล็ก H เกี่ยวข้องกับความหนาแน่นของ ไดโพลแม่เหล็กเป็นวงจรกระแสปิด ของมันคือกระแสคูณด้วยพื้นที่ หน่วยคือแอมแปร์ เมตรกำลังสอง (A·m2) และมีค่าเท่ากับกระแสบนขดลวดคูณจำนวนรอบH เป็นสัดส่วนกับไดโพลที่ระยะห่างจากมัน และขนาดของ H เป็นสัดส่วนกับโมเมนต์ไดโพลหารด้วยกำลังสามของระยะทาง และมีความหมายในทางฟิสิกส์คือกระแสต่อหน่วยความยาว
สภาพให้ซึมผ่านได้สัมพัทธ์
สภาพให้ซึมผ่านได้ผ่านสัมพัทธ์ บางครั้งถูกเขียนในรูป μr คืออัตราส่วนของสภาพให้ซึมผ่านได้ μ ของตัวกลางหนึ่ง ๆ ต่อ สภาพให้ซึมผ่านได้ของสุญญากาศ μ0
และยังอาจเขียนในรูปของค่า χm เป็น
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-25. สืบค้นเมื่อ 2009-04-14.
- Jackson (1975), p. 190
- Jackson, John David (1975). Classical Electrodynamics (2nd ed.). New York: Wiley. ISBN . p. 182 eqn. (5.57)
- Jackson (1975) p. 182 eqn. (5.56)
อ่านเพิ่มเติม
- แม่เหล็กไฟฟ้า 2016-12-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - บทหนึ่งในตำราเรียนออนไลน์
- การซึมผ่านสัมพัทธ์ 2023-03-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- คุณสมบัติทางแม่เหล็กของวัสดุ 2012-06-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sphaphihsumphanid permeability inthangthvsdiaemehlkiffa epnkhathibxkthungradbkhxngkhwamehniywnaaemehlkkhxngwsducakkartxbsnxngechingesnkbsnamaemehlk mkcaaesdngdwytwxksrkrik m sutrkaraesdngsnamaemehlkodyichkhanithuksrangkhunineduxnknyayn 1885 odyoxliewxr ehwiisd hnwyexsixkhxngsphaphihsumphanidkhux txemtr H m 1 hruxniwtntxaexmaeprkalngsxng N A 2 khakhngthi m0 displaystyle mu 0 khuxkhasphaphihsumphanidkhxngsuyyakas sungyngthukeriykwa khakhngtwaemehlk sungthukniyamiwxyangaenchdmikhaepn m0 displaystyle mu 0 4p 10 7 N A 2khaxthibayinthangthvsdiaemehlkiffa khakhwamaerngsnamaemehlk H xthibaywakarehniywnathikhwamhnaaennflksaemehlk B sngphltxkracukkhxngidophlaemehlkintwklangechphaaxyangir rwmthungkarekhluxntwkhxngidophlaelakarprbthisthangkhxngidophlaemehlk khwamsmphnthkbkhasphaphihsumphanidkhxngaemehlk m displaystyle mu khux B mH displaystyle mathbf B mu mathbf H sphaphihsumphanid m caepnprimanseklarintwklangixosthrxpik aelaepnintwklangaexnixosthrxpik odythwip khasphaphihsumphanidcaimkhngthi odyxacaeprphntamtaaehnngphayintwklang khwamthikhxngsnam rwmthung khwamchun xunhphumi aelapharamietxrxun intwklangaebbimechingesn sphaphihsumphanidcakhunxyukbkhwamaerngsnamaemehlk sphaphihsumphanidepnfngkchnkhxngkhwamthi xacepnkhacanwncringhruxcanwnechingsxnid sahrbinwsdu khwamsmphnthrahwang B aela H nncaimepnechingesn nnkhux B imichfngkchnthiepnaekhkhakhngtwkhunkb H aetyngkhunxyukbprawtikhwamepliynaeplngphayintwwsdudwy sahrbwsduehlani bangkhrngphicarnathungsphaphihsumphanidkhxngaemehlkthiephimkhun DB mDDH displaystyle Delta mathbf B mu Delta Delta mathbf H sphaphihsumphanidkhuxiffatxhnwykhwamyaw inrabbhnwysakl hnwykhxngsphaphihsumphanidkhux txemtr H m 1 J A2 m N A 2 khwamaerngsnamaemehlk H khux kraaesiffatxhnwykhwamyaw mihnwyepn aexmaeprtxemtr A m 1 dngnn mH cungepnkhaepnkhwamehniywnakhundwykraaesiffatxhnwyphunthi H A m2 aetkhwamehniywnakhux flksaemehlktxhnwykraaesiffa dngnnphlkhuncungepnflksaemehlktxhnwyphunthidwy inkhnathikhwamhnaaennflksaemehlk B mihnwyepnewebxr owlt winathi txtarangemtr V s m2 hrux ethsla T khwamhnaaennflksaemehlk B ekiywphnkbaerngolerintskhxngpracuekhluxnthi q F q E v B displaystyle mathbf F q mathbf E mathbf v times mathbf B hnwykhxngpracu q khux khulxmb C aelakhwamerw v khux m s dngnnaerng F cungkhanwnepnniwtn N qv B C ms V sm2 C J C m Jm N displaystyle q mathbf v times mathbf B mbox C cdot dfrac mbox m mbox s cdot dfrac mbox V cdot mbox s mbox m 2 dfrac mbox C cdot mbox J C mbox m dfrac mbox J mbox m mbox N swnkhwamaerngsnamaemehlk H ekiywkhxngkbkhwamhnaaennkhxng idophlaemehlkepnwngcrkraaespid khxngmnkhuxkraaeskhundwyphunthi hnwykhuxaexmaepr emtrkalngsxng A m2 aelamikhaethakbkraaesbnkhdlwdkhuncanwnrxbH epnsdswnkbidophlthirayahangcakmn aelakhnadkhxng H epnsdswnkbomemntidophlhardwykalngsamkhxngrayathang aelamikhwamhmayinthangfisikskhuxkraaestxhnwykhwamyawsphaphihsumphanidsmphththsphaphihsumphanidphansmphthth bangkhrngthukekhiyninrup mr khuxxtraswnkhxngsphaphihsumphanid m khxngtwklanghnung tx sphaphihsumphanidkhxngsuyyakas m0 mr mm0 displaystyle mu r frac mu mu 0 aelayngxacekhiyninrupkhxngkha xm epn xm mr 1 displaystyle chi m mu r 1 xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 04 25 subkhnemux 2009 04 14 Jackson 1975 p 190 Jackson John David 1975 Classical Electrodynamics 2nd ed New York Wiley ISBN 978 0 471 43132 9 p 182 eqn 5 57 Jackson 1975 p 182 eqn 5 56 xanephimetimaemehlkiffa 2016 12 08 thi ewyaebkaemchchin bthhnungintaraeriynxxniln karsumphansmphthth 2023 03 31 thi ewyaebkaemchchin khunsmbtithangaemehlkkhxngwsdu 2012 06 03 thi ewyaebkaemchchin