แคว้นวัชชี (อักษรโรมัน: Vajji สันสกฤต: Vṛji ฮินดี: वज्जि ) หรือ วริชชี เป็นอาณาจักรชาวในประเทศอินเดียสมัยโบราณ และเป็นหนึ่งมหาชนบท 16 แคว้น ตั้งอยู่ทางเหนือของแคว้นมคธ มีแม่น้ำคงคาเป็นแดนแบ่งเขตแคว้นทั้งสอง เมืองหลวงของแคว้นชื่อเวสาลี เทียบกับปัจจุบันแคว้นวัชชีได้แก่รัฐพิหารตอนเหนือ หรือประมาณคร่าว ๆ ได้แก่เนื้อที่บริเวณจังหวัด มุซัฟฟาร์ปูร์ ดรภังคะ จัมปารัน และไวศาลีรายละเอียดเกี่ยวกับอาณาเขต นอกจากที่บอกว่าทาง ทิศใต้ จดแม่น้ำคงคาดังกล่าวแล้ว ทางทิศอื่นไม่มีหลักฐานบอกให้ทราบแน่ชัด นักประวัติศาสตร์และโบราณคดีลงความเห็นว่า ทางทิศตะวันออก เขตของแคว้นวัชชี คงจะจดแม่น้ำโกสี หรือเกาสิกี ในปัจจุบัน ตะวันออกแม่น้ำนี้เป็นเขตที่เรียกในสมัยพุทธกาลว่า อังคุตตราปะ ทางทิศเหนือ จดซึ่ง เวลานี้อยู่ในเขตประเทศเนปาลและทางตะวันตกจดแม่น้ำคัณฑักใหญ่ อันน่าจะเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างแคว้นวัชชีกับแคว้นมัลละ ในสมัยนั้น แม่น้ำคัณฑักนี้เรียกกันว่า คัณฑกะ หรือคัณฑกีอีกบ้าง ผู้รู้ลงความเห็นว่า ได้แก่แม่น้ำที่ทางอินเดียสมัยโน้นเรียกว่าสทานีรา แต่บางท่านให้ความเห็นว่าได้แก่แม่น้ำมหี ที่ปรากฏชื่อในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่า เป็นหนึ่งใน หรือแม่น้ำใหญ่ 5 สายของอินเดียเหนือในพุทธสมัย
วัชชี Vajji | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
c. 700 BCE–c. 400 BCE | |||||||
แคว้นวัชชีกับแคว้นอื่นๆ ในยุคพระเวทตอนปลาย | |||||||
เมืองหลวง | เวสาลี | ||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาไมถิลี, ภาษาปรากฤต | ||||||
ศาสนา | ศาสนาเชน ศาสนาฮินดู พระพุทธศาสนา | ||||||
การปกครอง | สาธารณรัฐ | ||||||
กษัตริย์ (มหาราชา) | |||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคโลหะ, ยุคหิน | ||||||
• ก่อตั้ง | c. 700 BCE | ||||||
• ถูกพิชิตโดย พระเจ้าอชาตศัตรู แห่งแคว้นมคธ | c. 400 BCE | ||||||
| |||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | อินเดีย เนปาล |
ในพระไตรปิฎก และคัมภีร์ในศาสนาเชน ได้รวมแคว้นวัชชีเป็นหนึ่งใน มหาชนบท 16 แคว้น ชื่อของมหาชนบทแคว้นนี้ได้มาจากหนึ่งในตระกูลที่ปกครองเมืองคือ ตระกูลวัชชี รัฐวัชชีถูกระบุว่าเป็น สาธารณรัฐ เผ่านี้ถูกกล่าวถึงโดย Pāṇini, จาณักยะ และ พระถังซัมจั๋ง ในบันทึกของ พระถังซัมจั๋ง สองตระกูลเชื่อมโยงกับแคว้นวัชชี/แคว้นมิถิลาโดย เวสาลี และวริชชี โดยเมืองเสาลี นับถือทั้งศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูในขณะที่ วริชชี ส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดูและเป็นเมืองหลวงคือ Zhanshuna
แคว้นวัชชีในสมัยพุทธกาล เป็นแคว้นที่รุ่งเรืองมากแคว้นหนึ่ง มีการปกครองแบบคณราชย์ หรือสามัคคีธรรม ซึ่งอาจเรียก ได้ว่าเป็นประชาธิปไตยในลักษณะหนึ่ง คือปกครองแบบไม่มี กษัตริย์เป็นประมุขทรงอำนาจสิทธิ์ขาด มีแต่ผู้ได้รับเลือกให้ทำหน้าที่เป็นประมุขแห่งรัฐ แล้วบริหารงานโดยการปรึกษาหารือกับสภาซึ่งประกอบด้วยเจ้าหรือกษัตริย์วงศ์ต่าง ๆ รวมถึง 8 วงศ์ด้วยกัน และในจำนวนนี้วงศ์สิจฉวีแห่งเวสาลี และวงศ์วิเทหะแห่งมิถิลา เป็นวงศ์ที่มีอิทธิพลมากที่สุด
เวสาลี ซึ่งเป็นเมืองหลวงของแคว้นวัชชีในสมัยนั้น ปัจจุบันเป็นซากอยู่ที่ตำบลสาร์ท หรือเบสาร์ท แห่งจังหวัดไวศาลี ที่เขตติดต่อของอำเภอ สดาร์ กับ หชิปูร์ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัด ห่างจากหชิปูร์ 35 กิโลเมตร หรือ 22 ไมล์ และห่างจากเมืองมุซัฟฟาร์ปูร์ 37 กิโลเมตร หรือ 23 ไมล์ โดยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมุซัฟฟาปูร์เดิมเขตของเวสาลีขึ้นกับจังหวัดมุซัฟฟาร์ปูร์ แต่พร้อมกันกับการจัดตั้งจังหวัดนาลันทาและอื่น ๆ ในปี 2515 ดังกล่าวข้างต้น ทางการก็ได้จัดตั้งจังหวัดไวศาลีขึ้นด้วย โดยมีหชิปูร์เป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัด ผลการจัดตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ดังกล่าวทำให้เขตที่ตั้งของเวสาลีเดิมมาขึ้นกับจังหวัดใหม่คือไวศาลี
เวสาลี นครหลวงของวัชชี เป็นจุดศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ที่สำคัญยิ่งแห่งหนึ่งในสมัยของพระพุทธองค์ พระพุทธองค์เสด็จเยี่ยมเวสาลีครั้งแรก ในปีที่ 5 นับแต่ตรัสรู้ ตามการกราบทูลเชิญของคณะผู้ครองแคว้น เมื่อเวสาลีประสพทุพภิกขภัยและร้ายแรง ผู้คนล้มตายนับจำนวนไม่ได้ เมื่อพระพุทธองค์เสด็จถึงด้วยอำนาจพุทธานุภาพทำให้ภัยทั้งหลายสงบลง และหมดสิ้นไปในระยะเวลาอันรวดเร็วและที่ป่ามหาวันนี้ พระนางมหาปชาบดีโคตมีกับเหล่านางสากิยานี 500 ได้พร้อมกันปลงผมและครองเพศนักบวช เดินทางจากกบิลพัสดุ์มาเฝ้าพระพุทธองค์เพื่อกราบทูลขอบวชในพระศาสนา อันมีผลทำให้พระพุทธองค์ทรงมีพระพุทธานุญาตให้มีภิกษุสงฆ์ หรือให้สตรีบวชเป็นภิกษุณีในพระศาสนาได้
พระพุทธองค์ทรงแสดงพระสูตรสำคัญ ๆ หลายสูตรที่เวสาลี อาทิเช่น รตนสูตร มหาลิสูตร มหาสีหนาทสูตร จูลสัจจกะ และมหาสัจจกะสูตร เตวิชชสูตรสุนักขัตตสูตร และสารันททสูตร ซึ่งทรงแสดงอปริหานิยธรรม 7 ประการ แก่เจ้าลิจฉวีจำนวนมาก ซึ่งได้พากันมาเฝ้าพระพุทธองค์ ณ สารันททเจดีย์ อันเป็นที่ทรงแสดงพระสูตรดังกล่าว
ในการเสด็จเวสาลีครั้งสุดท้ายก่อนปรินิพพาน พระพุทธองค์ทรงรับสวนมะม่วงของนางอัมพปาลีคณิกา หญิงงามเมืองแห่งเวสาลี ซึ่งนางได้อุทิศถวายให้เป็นสังฆารามในพระศาสนาพระพุทธองค์ทรงจำพรรษาสุดท้ายที่เวฬุวคาม ทรงปลงอายุสังขารที่ปาวาลเจดีย์และเมื่อพระพุทธองค์เสด็จปรินิพพานแล้วได้ 100 ปี ได้มีการทำสังคายนา ครั้งที่สอง ณ วาลุการาม ซึ่งสถานที่ทั้งหมดเหล่านี้อยู่ในเวสาลี แคว้นวัชชี
อ้างอิง
- Patrick Olivelle (13 July 2006). Between the Empires: Society in India 300 BCE to 400 CE. Oxford University Press. pp. 15–. ISBN .
- Raychaudhuri Hemchandra (1972), Political History of Ancient India, Calcutta: University of Calcutta, pp.85-6
- Raychaudhuri Hemchandra (1972), Political History of Ancient India, Calcutta: University of Calcutta, p.107
- ISBN page 485
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aekhwnwchchi xksrormn Vajji snskvt Vṛji hindi वज ज hrux wrichchi epnxanackrchawinpraethsxinediysmyobran aelaepnhnungmhachnbth 16 aekhwn tngxyuthangehnuxkhxngaekhwnmkhth miaemnakhngkhaepnaednaebngekhtaekhwnthngsxng emuxnghlwngkhxngaekhwnchuxewsali ethiybkbpccubnaekhwnwchchiidaekrthphihartxnehnux hruxpramankhraw idaekenuxthibriewncnghwd musffarpur drphngkha cmparn aelaiwsaliraylaexiydekiywkbxanaekht nxkcakthibxkwathang thisit cdaemnakhngkhadngklawaelw thangthisxunimmihlkthanbxkihthrabaenchd nkprawtisastraelaobrankhdilngkhwamehnwa thangthistawnxxk ekhtkhxngaekhwnwchchi khngcacdaemnaoksi hruxekasiki inpccubn tawnxxkaemnaniepnekhtthieriykinsmyphuththkalwa xngkhuttrapa thangthisehnux cdsung ewlanixyuinekhtpraethsenpalaelathangtawntkcdaemnakhnthkihy xnnacaepnesnaebngekhtrahwangaekhwnwchchikbaekhwnmlla insmynn aemnakhnthknieriykknwa khnthka hruxkhnthkixikbang phurulngkhwamehnwa idaekaemnathithangxinediysmyonneriykwasthanira aetbangthanihkhwamehnwaidaekaemnamhi thipraktchuxinkhmphirthangphraphuththsasnawa epnhnungin hruxaemnaihy 5 saykhxngxinediyehnuxinphuththsmywchchi Vajjic 700 BCE c 400 BCEaekhwnwchchikbaekhwnxun inyukhphraewthtxnplayemuxnghlwngewsaliphasathwipphasaimthili phasaprakvtsasnasasnaechn sasnahindu phraphuththsasnakarpkkhrxngsatharnrthkstriy mharacha yukhprawtisastryukholha yukhhin kxtngc 700 BCE thukphichitody phraecaxchatstru aehngaekhwnmkhthc 400 BCEthdippccubnepnswnhnungkhxng xinediy enpal inphraitrpidk aelakhmphirinsasnaechn idrwmaekhwnwchchiepnhnungin mhachnbth 16 aekhwn chuxkhxngmhachnbthaekhwnniidmacakhnungintrakulthipkkhrxngemuxngkhux trakulwchchi rthwchchithukrabuwaepn satharnrth ephanithukklawthungody Paṇini cankya aela phrathngsmcng inbnthukkhxng phrathngsmcng sxngtrakulechuxmoyngkbaekhwnwchchi aekhwnmithilaody ewsali aelawrichchi odyemuxngesali nbthuxthngsasnaphuththaelasasnahinduinkhnathi wrichchi swnihynbthuxsasnahinduaelaepnemuxnghlwngkhux Zhanshuna aekhwnwchchiinsmyphuththkal epnaekhwnthirungeruxngmakaekhwnhnung mikarpkkhrxngaebbkhnrachy hruxsamkhkhithrrm sungxaceriyk idwaepnprachathipityinlksnahnung khuxpkkhrxngaebbimmi kstriyepnpramukhthrngxanacsiththikhad miaetphuidrbeluxkihthahnathiepnpramukhaehngrth aelwbriharnganodykarpruksaharuxkbsphasungprakxbdwyecahruxkstriywngstang rwmthung 8 wngsdwykn aelaincanwnniwngssicchwiaehngewsali aelawngswiethhaaehngmithila epnwngsthimixiththiphlmakthisud ewsali sungepnemuxnghlwngkhxngaekhwnwchchiinsmynn pccubnepnsakxyuthitablsarth hruxebsarth aehngcnghwdiwsali thiekhttidtxkhxngxaephx sdar kb hchipursungepnthitngthithakarcnghwd hangcakhchipur 35 kiolemtr hrux 22 iml aelahangcakemuxngmusffarpur 37 kiolemtr hrux 23 iml odyxyuthangtawntkechiyngitkhxngmusffapuredimekhtkhxngewsalikhunkbcnghwdmusffarpur aetphrxmknkbkarcdtngcnghwdnalnthaaelaxun inpi 2515 dngklawkhangtn thangkarkidcdtngcnghwdiwsalikhundwy odymihchipurepnthitngthithakarcnghwd phlkarcdtngcnghwdkhunihmdngklawthaihekhtthitngkhxngewsaliedimmakhunkbcnghwdihmkhuxiwsali ewsali nkhrhlwngkhxngwchchi epncudsunyklangkhxngphraphuththsasna thisakhyyingaehnghnunginsmykhxngphraphuththxngkh phraphuththxngkhesdceyiymewsalikhrngaerk inpithi 5 nbaettrsru tamkarkrabthulechiykhxngkhnaphukhrxngaekhwn emuxewsaliprasphthuphphikkhphyaelarayaerng phukhnlmtaynbcanwnimid emuxphraphuththxngkhesdcthungdwyxanacphuththanuphaphthaihphythnghlaysngblng aelahmdsinipinrayaewlaxnrwderwaelathipamhawnni phranangmhapchabdiokhtmikbehlanangsakiyani 500 idphrxmknplngphmaelakhrxngephsnkbwch edinthangcakkbilphsdumaefaphraphuththxngkhephuxkrabthulkhxbwchinphrasasna xnmiphlthaihphraphuththxngkhthrngmiphraphuththanuyatihmiphiksusngkh hruxihstribwchepnphiksuniinphrasasnaid phraphuththxngkhthrngaesdngphrasutrsakhy hlaysutrthiewsali xathiechn rtnsutr mhalisutr mhasihnathsutr culsccka aelamhascckasutr etwichchsutrsunkkhttsutr aelasarnththsutr sungthrngaesdngxprihaniythrrm 7 prakar aekecalicchwicanwnmak sungidphaknmaefaphraphuththxngkh n sarnththecdiy xnepnthithrngaesdngphrasutrdngklaw inkaresdcewsalikhrngsudthaykxnpriniphphan phraphuththxngkhthrngrbswnmamwngkhxngnangxmphpalikhnika hyingngamemuxngaehngewsali sungnangidxuthisthwayihepnsngkharaminphrasasnaphraphuththxngkhthrngcaphrrsasudthaythiewluwkham thrngplngxayusngkharthipawalecdiyaelaemuxphraphuththxngkhesdcpriniphphanaelwid 100 pi idmikarthasngkhayna khrngthisxng n walukaram sungsthanthithnghmdehlanixyuinewsali aekhwnwchchixangxingPatrick Olivelle 13 July 2006 Between the Empires Society in India 300 BCE to 400 CE Oxford University Press pp 15 ISBN 978 0 19 977507 1 Raychaudhuri Hemchandra 1972 Political History of Ancient India Calcutta University of Calcutta pp 85 6 Raychaudhuri Hemchandra 1972 Political History of Ancient India Calcutta University of Calcutta p 107 ISBN 9789867332677 page 485