ยุคโลหะ (อังกฤษ: Metal Age) เป็นยุคที่อยู่ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000 − 900 ปีก่อนพุทธศักราช ยุคที่มนุษย์รู้จักนำเอาแร่โลหะมาจากธรรมชาตินำมาใช้เพื่อประโยชน์ เช่น ทองแดง, สำริด และเหล็ก นำมาหล่อหรือขึ้นเป็นมีด, หอก และดาบ เพื่อใช้ในการล่าสัตว์ หรือมาประกอบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องประดับ มนุษย์สมัยนี้พัฒนาการเป็นอยู่อาศัยและการเกษตรกรรมให้ดียิ่งขึ้น เช่น การสร้างบ้านให้ใต้ถุนบ้านสูง มีความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยยุคโลหะ แบ่งออกเป็น 3 ยุคย่อยคือ ยุคสำริด และยุคเหล็ก
ศักราช | |
---|---|
5,000-900 ปีก่อนพุทธศักราช | |
ยุคย่อย | |
ยุคสำริด | |
ยุคที่เกี่ยวข้อง | |
ยุคก่อนหน้า | ยุคหินใหม่ |
ยุคต่อไป | ยุคโบราณ (ยุคประวัติศาสตร์) |
จุดเริ่มต้นของยุคโลหะ
ยุคโลหะเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 5,000 - 6,000 ปีก่อนพุทธศักราช แต่หลักฐานทางประวัติศาสตร์เท่าที่พบในขณะนี้ ยังไม่สามารถนำมายืนยันแน่ชัดว่ายุคโลหะเริ่มที่ใด แต่สันนิษฐานว่า ยุคโลหะเริ่มใน บริเวณประเทศอียิปต์ มนุษย์ได้เริ่มเรียนรู้เรื่องของเกี่ยวกับการถลุง, การหล่อ และการขึ้นรูปโลหะ โดยส่วนมากจะเป็น ทองแดง ต่อมาประมาณ 3,500 ปีก่อนพุทธศักราช มนุษย์หันมาใช้สำริด โดยใช้ทำอาวุธ, เสื้อเกราะ, ภาชนะต่าง ๆ, ของใช้ และเครื่องประดับ แม้ในยุคต่อมาได้มีการใช้เหล็กเป็นโลหะหลักก็ตาม แต่สำริดยังเป็นโลหะที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมจนถึงปัจจุบัน และต่อมาประมาณ 900 ปีก่อนพุทธศักราช ชาวฮิตไทต์ ซึ่งเป็นกลุ่มชนที่มีอำนาจในเอเชียไมเนอร์ บริเวณตอนใต้ของทะเลดำ ได้พบวิธีถลุงเหล็กจากแร่เหล็ก หลังจากนั้นความรู้เกี่ยวกับการถลุงเหล็กได้กระจายไป ยังประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป จนเกิดอุตสาหกรรมการถลุงเหล็กขึ้น เนื่องจากเหล็กมีคุณสมบัติหลายอย่างดีกว่าสำริด เช่น แข็งกว่า ใช้ทำอาวุธทุกชนิดที่มีอำนาจการทำลายเหนือกว่า มนุษยจึงหันมาใช้เหล็กทำเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื่องมือใน และที่นิยมมากที่สุดคือ ใช้ทำอาวุธ เช่น ดาบ หอก อุตสาหกรรมเหล็กได้พัฒนาไปถึงการทำเหล็กกล้า ซึ่งมีคุณสมบัติดีกว่าเหล็กธรรมดา เพราะนอกจากจะแข็งและเหนียวกว่าแล้ว ยังสามารถเพิ่มความแข็งโดยการอบชุบได้ดี
ยุคโลหะในประเทศไทย
ยุคโลหะในประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 3,000 – 5,000 ปีที่ผ่านมา โดยมนุษย์ในสมัยนั้นมีการนำโลหะสำริด ทองคำ และเหล็ก มาหล่อและตีขึ้นรูปเป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ ได้เท่าหรือดีกว่ามนุษย์ยุคเดียวกันในส่วนอื่นของโลก ซึ่งมีการค้นพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลายที่ เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า และแหล่งโบราณคดีบ้านเชียง โดยนักโบราณคดีจะพบโครงกระดูกมนุษย์และเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ โดยเฉพาะที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงที่เกิดปัญหาว่า ขุดค้นพบเครื่องมือ เครื่องใช้ ซึ่งตัดสินว่าเป็นของมนุษย์ยุคโลหะตอนปลาย แต่เมื่อได้ส่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไปพิสูจน์อายุ โดยวิธีเทอโมลูเนสเซ็นส์ (thermoluminescence) แล้วปรากฏผลว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ขุดได้จากระดับความลึก 70-80 เซนติเมตรจากผิวดิน มีอายุประมาณ 5,554–460 ปีมาแล้ว และอีกชิ้นส่วนได้จากระดับความลึก 120 เซนติเมตร มีอายุประมาณ 5,574–175 ปีมาแล้ว นักโบราณคดีบางท่าน จึงสรุปว่ามนุษย์ผู้เป็นเจ้าของนั้นได้สร้างสรรค์วัฒนธรรมเหล่านี้ไว้เมื่อประมาณ 5,000–7,000 ปีมาแล้ว
นอกจากนี้ในภาคใต้ของประเทศไทยพบร่องรอยการอยู่อาศัยของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ยุคหินต่อเนื่องมาจนถึงยุคโลหะ สำหรับในจังหวัดชุมพรพบร่องรอยของมนุษย์ยุคหินใหม่ ในแถบภูเขาหินปูนทางทิศตะวันตกของจังหวัด ในยุคโลหะพบว่ามีการตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรที่ชุมชนโบราณเขาสามแก้ว ซึ่งเป็นแหล่งโบราณคดีที่สำคัญในสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ พบหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ เช่น เครื่องมือโลหะ หุ่นจำลองสำริดรูปคนและสัตว์ และกลองมโหระทึก เป็นต้น ชุมชนโบราณเขาสามแก้วมีลักษณะเป็นเมืองท่าค้าขาย พบหลักฐานการติดต่อกับจีน เวียดนาม และอินเดีย ซึ่งกลุ่มพ่อค้าต่างชาติเหล่านี้อาจเป็นผู้นำวิธีการผลิตโลหะมาเผยแพร่ให้กับคนพื้นเมือง
อ้างอิง
- . ประวัติศาสตร์ ประเทศไทย แผ่นดินไทย. 16 มิถุนายน 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 กันยายน 2012.
- "สังคมมนุษย์ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์". ประวัติศาสตร์ ย้อนไป😭😺🐐access-date=2013-02-03. 19 เมษายน 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มิถุนายน 2013.
- สังคมมนุษย์ยุคโลหะ 2012-04-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
- "เรื่องที่ ๕ อุตสาหกรรม". ผลิตกรรมจากโลหะ. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. Vol. ๒. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 เมษายน 2013. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2013.
- กว่าจะมาเป็นไทย สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. บ้านจอมยุทธ
- ธราพงศ์ ศรีสุชาติ, “เขาสามแก้ว: ชุมชนโบราณ” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต้ พ.ศ. 2529 เล่ม 1, กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์, 2529, หน้า 388–396. BA82459980.
- “ยุคโลหะ” ยุคสมัยแห่งการเปลี่ยนแปลง. GotoKnow.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yukholha xngkvs Metal Age epnyukhthixyuinchwngyukhkxnprawtisastr ekidkhunemuxpraman 5 000 900 pikxnphuththskrach yukhthimnusyrucknaexaaerolhamacakthrrmchatinamaichephuxpraoychn echn thxngaedng sarid aelaehlk namahlxhruxkhunepnmid hxk aeladab ephuxichinkarlastw hruxmaprakxbepnekhruxngmux ekhruxngich aelaekhruxngpradb mnusysmyniphthnakarepnxyuxasyaelakarekstrkrrmihdiyingkhun echn karsrangbanihitthunbansung mikhwamechuxineruxngsingskdisiththi odyyukholha aebngxxkepn 3 yukhyxykhux yukhsarid aelayukhehlkyukholhaekraathithacakolha thukkhnphbinyuorpklang khadwaxyuinchwngyukhsaridskrach5 000 900 pikxnphuththskrachyukhyxyyukhsaridyukhthiekiywkhxngyukhkxnhnayukhhinihmyukhtxipyukhobran yukhprawtisastr cuderimtnkhxngyukholhayukholhaekidkhunemuxpraman 5 000 6 000 pikxnphuththskrach aethlkthanthangprawtisastrethathiphbinkhnani yngimsamarthnamayunynaenchdwayukholhaerimthiid aetsnnisthanwa yukholhaerimin briewnpraethsxiyipt mnusyiderimeriynrueruxngkhxngekiywkbkarthlung karhlx aelakarkhunrupolha odyswnmakcaepn thxngaedng txmapraman 3 500 pikxnphuththskrach mnusyhnmaichsarid odyichthaxawuth esuxekraa phachnatang khxngich aelaekhruxngpradb aeminyukhtxmaidmikarichehlkepnolhahlkktam aetsaridyngepnolhathimikhwamsakhytxxutsahkrrmcnthungpccubn aelatxmapraman 900 pikxnphuththskrach chawhititht sungepnklumchnthimixanacinexechiyimenxr briewntxnitkhxngthaelda idphbwithithlungehlkcakaerehlk hlngcaknnkhwamruekiywkbkarthlungehlkidkracayip yngpraethstang inthwipyuorp cnekidxutsahkrrmkarthlungehlkkhun enuxngcakehlkmikhunsmbtihlayxyangdikwasarid echn aekhngkwa ichthaxawuththukchnidthimixanackarthalayehnuxkwa mnusycunghnmaichehlkthaekhruxngmuxekhruxngichtang odyechphaaekhruxngmuxin aelathiniymmakthisudkhux ichthaxawuth echn dab hxk xutsahkrrmehlkidphthnaipthungkarthaehlkkla sungmikhunsmbtidikwaehlkthrrmda ephraanxkcakcaaekhngaelaehniywkwaaelw yngsamarthephimkhwamaekhngodykarxbchubiddiyukholhainpraethsithyyukholhainpraethsithyekidkhunemuxpraman 3 000 5 000 pithiphanma odymnusyinsmynnmikarnaolhasarid thxngkha aelaehlk mahlxaelatikhunrupepnekhruxngichtang idethahruxdikwamnusyyukhediywkninswnxunkhxngolk sungmikarkhnphbhlkthanthangprawtisastrhlaythi echn phiphithphnthsthanaehngchati baneka aelaaehlngobrankhdibanechiyng odynkobrankhdicaphbokhrngkradukmnusyaelaekhruxngmux ekhruxngichtang odyechphaathiaehlngobrankhdibanechiyngthiekidpyhawa khudkhnphbekhruxngmux ekhruxngich sungtdsinwaepnkhxngmnusyyukholhatxnplay aetemuxidsnghlkthanthangprawtisastripphisucnxayu odywithiethxomluensesns thermoluminescence aelwpraktphlwahlkthanthangprawtisastrthikhudidcakradbkhwamluk 70 80 esntiemtrcakphiwdin mixayupraman 5 554 460 pimaaelw aelaxikchinswnidcakradbkhwamluk 120 esntiemtr mixayupraman 5 574 175 pimaaelw nkobrankhdibangthan cungsrupwamnusyphuepnecakhxngnnidsrangsrrkhwthnthrrmehlaniiwemuxpraman 5 000 7 000 pimaaelw nxkcakniinphakhitkhxngpraethsithyphbrxngrxykarxyuxasykhxngmnusysmykxnprawtisastr tngaetyukhhintxenuxngmacnthungyukholha sahrbincnghwdchumphrphbrxngrxykhxngmnusyyukhhinihm inaethbphuekhahinpunthangthistawntkkhxngcnghwd inyukholhaphbwamikartngthinthanxyangthawrthichumchnobranekhasamaekw sungepnaehlngobrankhdithisakhyinsmyaerkerimprawtisastr phbhlkthanthiekiywkhxngkbolha echn ekhruxngmuxolha huncalxngsaridrupkhnaelastw aelaklxngmohrathuk epntn chumchnobranekhasamaekwmilksnaepnemuxngthakhakhay phbhlkthankartidtxkbcin ewiydnam aelaxinediy sungklumphxkhatangchatiehlanixacepnphunawithikarphlitolhamaephyaephrihkbkhnphunemuxngxangxing prawtisastr praethsithy aephndinithy 16 mithunayn 2011 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 25 knyayn 2012 sngkhmmnusyinsmykxnprawtisastr prawtisastr yxnip access date 2013 02 03 19 emsayn 2012 ekbcakaehlngedimemux 30 mithunayn 2013 sngkhmmnusyyukholha 2012 04 29 thi ewyaebkaemchchin khnamnusysastraelasngkhmsastr mhawithyalyrachphtethphstri eruxngthi 5 xutsahkrrm phlitkrrmcakolha saranukrmithysahrbeyawchn odyphrarachprasngkhinphrabathsmedcphraecaxyuhw Vol 2 ekbcakaehlngedimemux 23 emsayn 2013 subkhnemux 3 kumphaphnth 2013 kwacamaepnithy smykxnprawtisastrinpraethsithy bancxmyuthth thraphngs srisuchati ekhasamaekw chumchnobran in saranukrmwthnthrrmithyphakhit ph s 2529 elm 1 krungethph xmrinthrkarphimph 2529 hna 388 396 BA82459980 yukholha yukhsmyaehngkarepliynaeplng GotoKnow