ไข้รูมาติก (อังกฤษ: Rheumatic fever) เป็นโรคอักเสบซึ่งเกิดหลังการติดเชื้อ (Group A streptococcal) ซึ่งเป็นเชื้อเดียวกับที่ทำให้มีอาการเจ็บคอหรือไข้ดำแดง เชื่อกันว่าเป็นผลจากแอนติบอดีทำปฏิกิริยาข้ามไปมีผลต่อเนื้อเยื่อหัวใจ ข้อต่อ ผิวหนัง และสมอง อาการมักปรากฏขึ้น 2-3 สัปดาห์หลังจากการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ไข้รูมาติกเฉียบพลันมักเกิดในเด็กอายุระหว่าง 5 ถึง 15 ปี โดยมีเพียงร้อยละ 20 ที่เกิดเป็นครั้งแรกในผู้ใหญ่ โรคนี้มีชื่อรูมาติกเนื่องจากมีอาการปรากฏคล้ายกับรูมาติซึม (rheumatism)
ไข้รูมาติก (Rheumatic fever) | |
---|---|
แบคทีเรีย Streptococcus pyogenes ย้อมสี Pappenheim | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | I00-I02 |
ICD- | 390–392 |
11487 | |
003940 | |
med/3435 med/2922 emerg/509 ped/2006 | |
MeSH | D012213 |
การวินิจฉัย
เกณฑ์การวินิจฉัย Modified Jones criteria ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1944 โดยนายแพทย์ T. Duckett Jones ซึ่งถูกทบทวนอย่างเป็นระยะๆ โดยสมาคมโรคหัวใจสหรัฐอเมริกาโดยความร่วมมือของหลายกลุ่ม จากเกณฑ์วินิจฉัยดังกล่าว การวินิจฉัยไข้รูมาติกต้องประกอบด้วยเกณฑ์หลัก 2 ข้อ หรือเกณฑ์หลัก 1 ข้อรวมกับเกณฑ์รอง 2 ข้อ และร่วมกับหลักฐานของการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ข้อยกเว้นคือ (chorea) และแฝง (indolent carditis) ซึ่งตัวมันบ่งบอกถึงไข้รูมาติก
เกณฑ์หลัก
- ข้ออักเสบหลายข้อย้ายตำแหน่ง (Migratory polyarthritis) คือมีการอักเสบของข้อต่อใหญ่เปลี่ยนตำแหน่งได้และเป็นชั่วคราว มักจะเริ่มที่ขาและย้ายมาส่วนบน
- (Carditis) คือการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งอาจมีอาการแสดงคือหัวใจวายเลือดคั่ง (congestive heart failure) ร่วมกับหายใจลำบาก หรืออาจเป็นร่วมกับเสียงเสียดสีของเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardial rub) หรือมีเสียงฟู่ของหัวใจ (heart murmur) เกิดขึ้นใหม่
- ตุ่มใต้ผิวหนัง (Subcutaneous nodules) ลักษณะไม่เจ็บ แข็ง เกิดจากเส้นใยคอลลาเจนรวมกันเหนือกระดูกหรือ มักพบที่หลังข้อมือ ศอกด้านนอก และหน้าเข่า
- (Erythema marginatum) คือผื่นผิวหนังลักษณะเป็น (macule) ที่เกิดขึ้นนานบนผิวหนังบริเวณลำตัวหรือแขน และกระจายไปด้านนอกจนมีลักษณะเป็นวงแหวนคล้ายงูเลื้อยที่ตรงกลางไม่มีรอยแดง ผื่นนี้จะไม่เริ่มจากใบหน้า และจะมีอาการแย่ลงเมื่อได้รับความร้อน
- (Sydenham's chorea) หรือรูมาติก โคเรีย คือการกระตุกของใบหน้าและแขนอย่างจำเพาะ มักเกิดในระยะท้ายของโรค
เกณฑ์รอง
- ไข้
- ปวดข้อ โดยไม่มีข้อบวม
- อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง (Erythrocyte sedimentation rate) หรือ (C reactive protein) เพิ่มขึ้น
- (Leukocytosis)
- คลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดงลักษณะของ (heart block) เช่น PR interval ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจยาวขึ้น
- หลักฐานสนับสนุนการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส เช่น (Antistreptolysin O titre) หรือ DNAase.
- เคยเป็นไข้รูมาติก หรือโรคหัวใจไม่แสดงอาการ (inactive heart disease)
อาการและอาการแสดงอื่น
พยาธิสรีรวิทยา
ไข้รูมาติกเป็นโรคที่เกิดทั่วร่างกายที่มีผลต่อเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบหลอดเลือดแดงย่อย (peri-arteriolar connective tissue) และเกิดได้หลังจากการติดเชื้อ บีตา ฮีโมไลติก (Group A Beta hemolytic streptococcus) ที่คอหอย เชื่อกันว่ากลไกเกิดจากแอนติบอดีไปทำ (cross-reactivity) ปฏิกิริยาข้ามนี้เป็นปฏิกิริยาภาวะภูมิไวเกินชนิดที่ 2 (Type II hypersensitivity) เรียกว่า molecular mimicry หรือการเลียนแบบระดับโมเลกุล
โดยทั่วไป บีเซลล์ของร่างกายที่ทำงานจะยังไม่ถูกกระตุ้นในเนื้อเยื่อรอบนอกหากปราศจากการกระตุ้นร่วมจากทีเซลล์ แต่ระหว่างที่มีการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส (antigen presenting cell) เต็มวัยเช่นบีเซลล์จะนำเสนอแอนติเจนของแบคทีเรียไปยัง CD4-T cells ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็น helper T2 cell ซึ่งเซลล์นี้ต่อไปจะกระตุ้นบีเซลล์ให้กลายเป็นพลาสมาเซลล์ (plasma cell) และชักนำให้สร้างแอนติบอดีเพื่อต่อต้านผนังเซลล์ของสเตร็ปโตค็อกคัส อย่างไรก็ตามแอนติบอดีที่สร้างอาจทำปฏิกิริยาต่อกล้ามเนื้อหัวใจและข้อต่อได้ด้วย จึงทำให้มีอาการของไข้รูมาติก
เชื้อ Group A streptococcus pyogenes มีผนังเซลล์ที่ประกอบด้วยพอลิเมอร์แตกแขนงซึ่งบางครั้งมี (M protein) ซึ่งมีความเป็นแอนติเจนสูง แอนติบอดีที่สร้างจากระบบภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านเอ็มโปรตีนอาจข้ามไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนใยกล้ามเนื้อหัวใจชื่อว่าไมโอซิน (myosin),ไกลโคเจนในกล้ามเนื้อหัวใจ และเซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดแดง แล้วกระตุ้นให้หลั่งไซโตไคน์และทำให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อ การอักเสบเกิดขึ้นผ่านทางการจับกันของและตัวรับเอฟซี (Fc receptor) แล้วกระตุ้นให้นิวโตรฟิลและแมคโครฟาจเข้ามา อาจพบลักษณะของ Aschoff bodies ซึ่งประกอบด้วยคอลลาเจนบวมย้อมติดสีล้อมรอบด้วยลิมโฟไซต์และแมคโครฟาจได้ในกล้องจุลทรรศน์ แมคโครฟาจขนาดใหญ่อาจกลายเป็น Aschoff giant cells รอยโรคของลิ้นหัวใจรูมาติกเฉียบพลันอาจเป็นปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันชนิดอาศัยเซลล์ (cell-mediated immunity) เพราะรอยโรคนี้มีเซลล์ทีเฮลเปอร์และแมคโครฟาจเด่น
ในไข้รูมาติกเฉียบพลัน รอยโรคนี้จะพบการอักเสบได้ในหัวใจทุกชั้น การอักเสบนี้ทำให้มีจากน้ำเหลืองและไฟบรินที่เยื่อหุ้มหัวใจ (serofibrinous pericardial exudates) คล้ายเนยและขนมปังที่เรียกว่า “bread-and-butter” pericarditis ซึ่งมักหายได้โดยไม่มีผลตามมา รอยโรคของมักเป็นเนื้อตายเฉพาะส่วนแบบไฟบรินอยด์ (fibrinoid necrosis) และมีผิวขรุขระตลอดแนวปิดของลิ้นหัวใจด้านซ้าย ผิวขรุขระลักษณะคล้ายหูดนี้เกิดจากการสะสมของสาร ในขณะที่รอยโรคของชั้นใต้เยื่อบุหัวใจกระตุ้นให้เกิดการหนาตัวผิดปกติที่เรียกว่า MacCallum plaques
โรคหัวใจรูมาติกเรื้อรังมีลักษณะเป็นการอักเสบซ้ำๆ และการทุเลาอักเสบชนิดมีไฟบริน (fibrinous resolution) โครงสร้างของหัวใจโดยเฉพาะลิ้นหัวใจเปลี่ยนแปลง ได้แก่แผ่นลิ้นหัวใจหนาขึ้น แนวประสานเชื่อมติดกัน (commissural fusion) และหนาขึ้นและหดสั้นลง
การป้องกัน
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำทำโดยการกำจัดการติดเชื้อในระยะเฉียบพลัน และการให้ยาปฏิชีวนะป้องกัน สมาคมโรคหัวใจสหรัฐอเมริกาแนะนำการป้องกันด้วยยาทุกวันหรือทุกเดือน ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน หรืออาจตลอดชีวิต การคัดกรองอาการเจ็บคอในเด็กวัยเรียนอาจช่วยในการป้องกัน
การรักษา
การรักษาไข้รูมาติกเฉียบพลันมีเป้าหมายเพื่อลดการอักเสบ ด้วยการใช้เช่นแอสไพรินหรือคอร์ติโคสเตอรอยด์ (corticosteroid) ผู้ป่วยที่มีผลเพาะเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัสเป็นบวกควรได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
แอสไพรินเป็นยาที่ควรเลือกใช้และควรให้ในปริมาณสูง คือ 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน ซึ่งต้องเฝ้าระวังผลข้างเคียงของยาเช่นกระเพาะอาหารอักเสบ (gastritis) และการเป็นพิษจาก (salicylate poisoning) การใช้ยาแอสไพรินหรือยาที่มีส่วนประกอบของแอสไพรินในเด็กและวัยรุ่นอาจทำให้เกิดกลุ่มอาการเรย์ (Reye's syndrome) ซึ่งมีความรุนแรงและอาจทำให้เสียชีวิตได้ การใช้แอสไพรินหรือยาที่มีส่วนประกอบของแอสไพรินในเด็กและวัยรุ่นต้องพิจารณาข้อดีข้อเสียและการเลี่ยงไปใช้ยาอื่นทุกครั้ง ควรพิจารณาใช้ยาไอบูโปรเฟน (Ibuprofen) เพื่อระงับปวดและอาการไม่สบายตัว และคอร์ติโคสเตอรอยด์สำหรับปฏิกิริยาอักเสบปานกลางและรุนแรงจากไข้รูมาติกในผูป่วยเด็กและวัยรุ่น
การใช้สเตอรอยด์ควรสงวนไว้ใช้ในผู้ป่วยที่มีหลักฐานของโรคที่หัวใจ การใช้สเตอรอยด์อาจช่วยป้องกันการเกิดแผลเป็นที่เนื้อเยื่อและป้องกันการเกิดผลที่ตามมา อาทิ ลิ้นหัวใจไมทรัลตีบ (mitral stenosis)
ข้อควรพิจารณาของการรักษาไข้รูมาติกหนึ่งคือการให้ยาปฏิชีวนะ เช่น เพนิซิลลิน ซัลฟาไดอะซีน อิริโทรมัยซินหรือขนาดต่ำๆ ต่อเนื่องเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ ในผู้ป่วยที่เคยเป็นไข้รูมาติกครั้งหนึ่งควรได้รับการฉีดยาเพนิซิลลินชนิดออกฤทธิ์ยาวทุกเดือนเป็นเวลานาน 5 ปี แต่ถ้าหากมีหลักฐานของหัวใจอักเสบร่วมด้วยอาจต้องให้เพนิซิลลินนานถึง 40 ปี
การติดเชื้อ
ผู้ป่วยที่มีผลเพาะเชื้อ Streptococcus pyogenes เป็นบวกควรได้รับการรักษาด้วยเพนิซิลลินหากไม่มีการแพ้ยา การรักษานี้ไม่ช่วยเปลี่ยนระยะเวลาดำเนินโรคในระยะเฉียบพลัน การรักษาที่เหมาะสมที่สุดที่อ้างในคู่มือเวชศาสตร์คลินิกของออกซ์ฟอร์ดคือเบนซิลเพนิซิลลิน (benzylpenicillin)
การอักเสบ
ผู้ป่วยที่มีอาการชัดเจนอาจต้องรักษาด้วยคอร์ติโคสเตอรอยด์ (corticosteroids) การใช้ยากลุ่มอาจช่วยในเรื่องของอาการปวด
หัวใจวาย
ผู้ป่วยบางรายที่มีชัดเจนซึ่งแสดงอาการออกมาด้วยหัวใจวายเลือดคั่ง ผู้ป่วยกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาที่ใช้รักษาภาวะหัวใจวายทั่วไปคือยาขับปัสสาวะ (diuretics) และ (digoxin) ข้อแตกต่างระหว่างหัวใจวายจากไข้รูมาติกและหัวใจวายธรรมดาคือหัวใจวายจากไข้รูมาติกจะตอบสนองได้ดีต่อคอร์ติโคสเตอรอยด์
ระบาดวิทยา
ไข้รูมาติกเป็นโรคที่พบบ่อยทั่วโลกและเป็นสาเหตุของการเสียหายของลิ้นหัวใจในผู้ป่วยหลายราย ในประเทศตะวันตกพบว่าโรคนี้พบได้น้อยลงตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 อาจเป็นจากการใช้ยาปฏิชีวนะกันอย่างแพร่หลายเพื่อรักษาการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัส ในขณะที่โรคนี้ค่อนข้างพบได้ไม่บ่อยในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา แต่ปรากฏว่ามีการระบาดช่วงสั้นๆ ในทศวรรษที่ 1980 แม้ว่าโรคนี้จะเกิดได้ไม่บ่อยแต่ก็มีความรุนแรงและมีอัตราเสียชีวิตถึงร้อยละ 2-5
ไข้รูมาติกมักเกิดกับเด็กอายุระหว่าง 5-15 ปี และเกิดหลังจากการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัสที่คอประมาณ 20 วัน ราวหนึ่งในสามของผู้ป่วยอาจไม่แสดงอาการของการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัสล่วงหน้ามาก่อน
อัตราการเป็นไข้รูมาติกในผู้ป่วยที่ติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัสแล้วไม่ได้รักษาประมาณร้อยละ 3 อุบัติการณ์ของการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยที่ไม่ได้รักษาการติดเชื้อค่อนข้างสูงมาก (ประมาณร้อยละ 50%) อัตราของการเป็นโรคในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะค่อนข้างต่ำ ผู้ป่วยที่เคยเป็นไข้รูมาติกมีแนวโน้มที่จะกลับมาเป็นซ้ำหลังจากมีการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัสซ้ำ
การกลับมาเป็นโรคไข้รูมาติกซ้ำจะพบได้บ่อยในผู้ที่ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะขนาดต่ำเพื่อควบคุมอาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3-5 ปีแรกภายหลังจากการติดเชื้อครั้งแรก และภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับหัวใจอาจเกิดในระยะยาวและรุนแรงโดยเฉพาะหากมีรอยโรคที่ลิ้นหัวใจด้วย
ผู้ที่หายจากไข้รูมาติกมักต้องได้รับยาเพนิซิลลินเพื่อป้องกันการติดเชื้อสเตร็ปโตค็อกคัสซึ่งอาจทำให้เป็นไข้รูมาติกซ้ำและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
อ้างอิง
- Kumar, Vinay; Abbas, Abul K.; Fausto, Nelson; & Mitchell, Richard N. (2007). Robbins Basic Pathology (8th ed.). Saunders Elsevier. pp. 403-406
- Jones TD (1944). "The diagnosis of rheumatic fever". JAMA. 126: 481–4.
- Ferrieri P; Jones Criteria Working, Group (2002). "Proceedings of the Jones Criteria workshop". Circulation. 106 (19): 2521–3. doi:10.1161/01.CIR.0000037745.65929.FA. PMID 12417554.
- Steven J Parrillo, DO, FACOEP, FACEP. "eMedicine — Rheumatic Fever". สืบค้นเมื่อ 2007-07-14.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - "Guidelines for the diagnosis of rheumatic fever. Jones Criteria, 1992 update. Special Writing Group of the Committee on Rheumatic Fever, Endocarditis, and Kawasaki Disease of the Council on Cardiovascular Disease in the Young of the American Heart Association". JAMA. 268 (15): 2069–73. 1992. PMID 1404745.
- Saxena, Anita (2000). "Diagnosis of rheumatic fever: Current status of Jones criteria and role of echocardiography". Indian Journal of Pediatrics. 67 (4): 283–6. doi:10.1007/BF02758174. PMID 11129913.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-28. สืบค้นเมื่อ 2010-06-09.
- Abbas and Lechtman. Basic Immunology: Functions and Disorders of the Immune System. Elsevier Inc. 2004.
- Faé KC, da Silva DD, Oshiro SE; และคณะ (May 2006). . J. Immunol. 176 (9): 5662–70. PMID 16622036. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-07. สืบค้นเมื่อ 2010-06-09.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Cotran, Ramzi S.; Kumar, Vinay; Fausto, Nelson; Nelso Fausto; Robbins, Stanley L.; Abbas, Abul K. (2005). . St. Louis, Mo: Elsevier Saunders. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-09-10.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - "Rheumatic Heart Disease/Rheumatic Fever". American Heart Association. สืบค้นเมื่อ 2008-02-17.
- "WHO Disease and injury country estimates". World Health Organization. 2009. สืบค้นเมื่อ November 11, 2009.
- Medline Plus Medical Encyclopedia: Rheumatic fever
- Porth, Carol (2007). Essentials of pathophysiology: concepts of altered health states. Hagerstown, MD: Lippincott Williams & Wilkins. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- ไข้รูมาติก จากเว็บไซต์หมอชาวบ้าน
- โรคหัวใจรูมาติก จากมูลนิธิเด็กโรคหัวใจ
- Rheumatic fever information 2006-01-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน from Seattle Children's Hospital Heart Center
- Jones major criteria, Mnemonic 2010-10-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ikhrumatik xngkvs Rheumatic fever epnorkhxkesbsungekidhlngkartidechux Group A streptococcal sungepnechuxediywkbthithaihmixakarecbkhxhruxikhdaaedng echuxknwaepnphlcakaexntibxdithaptikiriyakhamipmiphltxenuxeyuxhwic khxtx phiwhnng aelasmxng xakarmkpraktkhun 2 3 spdahhlngcakkartidechuxsetrpotkhxkkhs ikhrumatikechiybphlnmkekidinedkxayurahwang 5 thung 15 pi odymiephiyngrxyla 20 thiekidepnkhrngaerkinphuihy orkhnimichuxrumatikenuxngcakmixakarpraktkhlaykbrumatisum rheumatism ikhrumatik Rheumatic fever aebkhthieriy Streptococcus pyogenes yxmsi PappenheimbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10I00 I02ICD 390 39211487003940med 3435 med 2922 emerg 509 ped 2006MeSHD012213karwinicchylksnahwicinorkhhwicrumatiksungmilksnacaephaa khux hna hna aelaklamenuxhwichxnglangsaykhyaykhnad eknthkarwinicchy Modified Jones criteria tiphimphkhrngaerkinpi kh s 1944 odynayaephthy T Duckett Jones sungthukthbthwnxyangepnraya odysmakhmorkhhwicshrthxemrikaodykhwamrwmmuxkhxnghlayklum cakeknthwinicchydngklaw karwinicchyikhrumatiktxngprakxbdwyeknthhlk 2 khx hruxeknthhlk 1 khxrwmkbeknthrxng 2 khx aelarwmkbhlkthankhxngkartidechuxsetrpotkhxkkhs khxykewnkhux chorea aelaaefng indolent carditis sungtwmnbngbxkthungikhrumatik eknthhlk khxxkesbhlaykhxyaytaaehnng Migratory polyarthritis khuxmikarxkesbkhxngkhxtxihyepliyntaaehnngidaelaepnchwkhraw mkcaerimthikhaaelayaymaswnbn Carditis khuxkarxkesbkhxngklamenuxhwic sungxacmixakaraesdngkhuxhwicwayeluxdkhng congestive heart failure rwmkbhayiclabak hruxxacepnrwmkbesiyngesiydsikhxngeyuxhumhwic pericardial rub hruxmiesiyngfukhxnghwic heart murmur ekidkhunihm tumitphiwhnng Subcutaneous nodules lksnaimecb aekhng ekidcakesniykhxllaecnrwmknehnuxkradukhrux mkphbthihlngkhxmux sxkdannxk aelahnaekha Erythema marginatum khuxphunphiwhnnglksnaepn macule thiekidkhunnanbnphiwhnngbriewnlatwhruxaekhn aelakracayipdannxkcnmilksnaepnwngaehwnkhlayngueluxythitrngklangimmirxyaedng phunnicaimerimcakibhna aelacamixakaraeylngemuxidrbkhwamrxn Sydenham s chorea hruxrumatik okheriy khuxkarkratukkhxngibhnaaelaaekhnxyangcaephaa mkekidinrayathaykhxngorkheknthrxng ikh pwdkhx odyimmikhxbwm xtrakartktakxnkhxngemdeluxdaedng Erythrocyte sedimentation rate hrux C reactive protein ephimkhun Leukocytosis khluniffahwicaesdnglksnakhxng heart block echn PR interval inkhluniffahwicyawkhun hlkthansnbsnunkartidechuxsetrpotkhxkkhs echn Antistreptolysin O titre hrux DNAase ekhyepnikhrumatik hruxorkhhwicimaesdngxakar inactive heart disease xakaraelaxakaraesdngxun pwdthxngphyathisrirwithyaikhrumatikepnorkhthiekidthwrangkaythimiphltxenuxeyuxekiywphnrxbhlxdeluxdaedngyxy peri arteriolar connective tissue aelaekididhlngcakkartidechux bita hiomiltik Group A Beta hemolytic streptococcus thikhxhxy echuxknwaklikekidcakaexntibxdiiptha cross reactivity ptikiriyakhamniepnptikiriyaphawaphumiiwekinchnidthi 2 Type II hypersensitivity eriykwa molecular mimicry hruxkareliynaebbradbomelkul odythwip biesllkhxngrangkaythithangancayngimthukkratuninenuxeyuxrxbnxkhakprascakkarkratunrwmcakthiesll aetrahwangthimikartidechuxsetrpotkhxkkhs antigen presenting cell etmwyechnbiesllcanaesnxaexntiecnkhxngaebkhthieriyipyng CD4 T cells sungcaepliynaeplngipepn helper T2 cell sungesllnitxipcakratunbiesllihklayepnphlasmaesll plasma cell aelachknaihsrangaexntibxdiephuxtxtanphnngesllkhxngsetrpotkhxkkhs xyangirktamaexntibxdithisrangxacthaptikiriyatxklamenuxhwicaelakhxtxiddwy cungthaihmixakarkhxngikhrumatik echux Group A streptococcus pyogenes miphnngesllthiprakxbdwyphxliemxraetkaekhnngsungbangkhrngmi M protein sungmikhwamepnaexntiecnsung aexntibxdithisrangcakrabbphumikhumknephuxtxtanexmoprtinxackhamipthaptikiriyakboprtiniyklamenuxhwicchuxwaimoxsin myosin iklokhecninklamenuxhwic aelaesllklamenuxeriybkhxnghlxdeluxdaedng aelwkratunihhlngisotikhnaelathaihekidkarthalayenuxeyux karxkesbekidkhunphanthangkarcbknkhxngaelatwrbexfsi Fc receptor aelwkratunihniwotrfilaelaaemkhokhrfacekhama xacphblksnakhxng Aschoff bodies sungprakxbdwykhxllaecnbwmyxmtidsilxmrxbdwylimofistaelaaemkhokhrfacidinklxngculthrrsn aemkhokhrfackhnadihyxacklayepn Aschoff giant cells rxyorkhkhxnglinhwicrumatikechiybphlnxacepnptikiriyaphumikhumknchnidxasyesll cell mediated immunity ephraarxyorkhnimiesllthiehlepxraelaaemkhokhrfacedn inikhrumatikechiybphln rxyorkhnicaphbkarxkesbidinhwicthukchn karxkesbnithaihmicaknaehluxngaelaifbrinthieyuxhumhwic serofibrinous pericardial exudates khlayenyaelakhnmpngthieriykwa bread and butter pericarditis sungmkhayidodyimmiphltamma rxyorkhkhxngmkepnenuxtayechphaaswnaebbifbrinxyd fibrinoid necrosis aelamiphiwkhrukhratlxdaenwpidkhxnglinhwicdansay phiwkhrukhralksnakhlayhudniekidcakkarsasmkhxngsar inkhnathirxyorkhkhxngchniteyuxbuhwickratunihekidkarhnatwphidpktithieriykwa MacCallum plaques orkhhwicrumatikeruxrngmilksnaepnkarxkesbsa aelakarthuelaxkesbchnidmiifbrin fibrinous resolution okhrngsrangkhxnghwicodyechphaalinhwicepliynaeplng idaekaephnlinhwichnakhun aenwprasanechuxmtidkn commissural fusion aelahnakhunaelahdsnlngkarpxngknkarpxngknkarklbepnsathaodykarkacdkartidechuxinrayaechiybphln aelakarihyaptichiwnapxngkn smakhmorkhhwicshrthxemrikaaenanakarpxngkndwyyathukwnhruxthukeduxn txenuxngknepnewlanan hruxxactlxdchiwit karkhdkrxngxakarecbkhxinedkwyeriynxacchwyinkarpxngknkarrksakarrksaikhrumatikechiybphlnmiepahmayephuxldkarxkesb dwykarichechnaexsiphrinhruxkhxrtiokhsetxrxyd corticosteroid phupwythimiphlephaaechuxsetrpotkhxkkhsepnbwkkhwridrbkarrksadwyyaptichiwna aexsiphrinepnyathikhwreluxkichaelakhwrihinprimansung khux 100 millikrm kiolkrm wn sungtxngefarawngphlkhangekhiyngkhxngyaechnkraephaaxaharxkesb gastritis aelakarepnphiscak salicylate poisoning karichyaaexsiphrinhruxyathimiswnprakxbkhxngaexsiphrininedkaelawyrunxacthaihekidklumxakarery Reye s syndrome sungmikhwamrunaerngaelaxacthaihesiychiwitid karichaexsiphrinhruxyathimiswnprakxbkhxngaexsiphrininedkaelawyruntxngphicarnakhxdikhxesiyaelakareliyngipichyaxunthukkhrng khwrphicarnaichyaixbuoprefn Ibuprofen ephuxrangbpwdaelaxakarimsbaytw aelakhxrtiokhsetxrxydsahrbptikiriyaxkesbpanklangaelarunaerngcakikhrumatikinphupwyedkaelawyrun karichsetxrxydkhwrsngwniwichinphupwythimihlkthankhxngorkhthihwic karichsetxrxydxacchwypxngknkarekidaephlepnthienuxeyuxaelapxngknkarekidphlthitamma xathi linhwicimthrltib mitral stenosis khxkhwrphicarnakhxngkarrksaikhrumatikhnungkhuxkarihyaptichiwna echn ephnisillin slfaidxasin xiriothrmysinhruxkhnadta txenuxngephuxpxngknkarklbepnsa inphupwythiekhyepnikhrumatikkhrnghnungkhwridrbkarchidyaephnisillinchnidxxkvththiyawthukeduxnepnewlanan 5 pi aetthahakmihlkthankhxnghwicxkesbrwmdwyxactxngihephnisillinnanthung 40 pi kartidechux phupwythimiphlephaaechux Streptococcus pyogenes epnbwkkhwridrbkarrksadwyephnisillinhakimmikaraephya karrksaniimchwyepliynrayaewladaeninorkhinrayaechiybphln karrksathiehmaasmthisudthixanginkhumuxewchsastrkhlinikkhxngxxksfxrdkhuxebnsilephnisillin benzylpenicillin karxkesb phupwythimixakarchdecnxactxngrksadwykhxrtiokhsetxrxyd corticosteroids karichyaklumxacchwyineruxngkhxngxakarpwd hwicway phupwybangraythimichdecnsungaesdngxakarxxkmadwyhwicwayeluxdkhng phupwyklumnicaepntxngidrbkarrksadwyyathiichrksaphawahwicwaythwipkhuxyakhbpssawa diuretics aela digoxin khxaetktangrahwanghwicwaycakikhrumatikaelahwicwaythrrmdakhuxhwicwaycakikhrumatikcatxbsnxngidditxkhxrtiokhsetxrxydrabadwithyaDisability adjusted life year khxngorkhhwicrumatiktxprachakr 100 000 inpi kh s 2004 immikhxmul lt 20 20 40 40 60 60 80 80 100 100 120 120 140 140 160 160 180 180 200 200 330 gt 330 ikhrumatikepnorkhthiphbbxythwolkaelaepnsaehtukhxngkaresiyhaykhxnglinhwicinphupwyhlayray inpraethstawntkphbwaorkhniphbidnxylngtngaetthswrrsthi 1960 xacepncakkarichyaptichiwnaknxyangaephrhlayephuxrksakartidechuxsetrpotkhxkkhs inkhnathiorkhnikhxnkhangphbidimbxyinshrthxemrikatngaetchwngtnstwrrsthi 20 epntnma aetpraktwamikarrabadchwngsn inthswrrsthi 1980 aemwaorkhnicaekididimbxyaetkmikhwamrunaerngaelamixtraesiychiwitthungrxyla 2 5 ikhrumatikmkekidkbedkxayurahwang 5 15 pi aelaekidhlngcakkartidechuxsetrpotkhxkkhsthikhxpraman 20 wn rawhnunginsamkhxngphupwyxacimaesdngxakarkhxngkartidechuxsetrpotkhxkkhslwnghnamakxn xtrakarepnikhrumatikinphupwythitidechuxsetrpotkhxkkhsaelwimidrksapramanrxyla 3 xubtikarnkhxngkarklbepnsakhxngphupwythiimidrksakartidechuxkhxnkhangsungmak pramanrxyla 50 xtrakhxngkarepnorkhinphupwythiidrbkarrksadwyyaptichiwnakhxnkhangta phupwythiekhyepnikhrumatikmiaenwonmthicaklbmaepnsahlngcakmikartidechuxsetrpotkhxkkhssa karklbmaepnorkhikhrumatiksacaphbidbxyinphuthiimidrbyaptichiwnakhnadtaephuxkhwbkhumxakar odyechphaaxyangyinginchwng 3 5 piaerkphayhlngcakkartidechuxkhrngaerk aelaphawaaethrksxnekiywkbhwicxacekidinrayayawaelarunaerngodyechphaahakmirxyorkhthilinhwicdwy phuthihaycakikhrumatikmktxngidrbyaephnisillinephuxpxngknkartidechuxsetrpotkhxkkhssungxacthaihepnikhrumatiksaaelaxacepnxntraythungchiwitxangxingKumar Vinay Abbas Abul K Fausto Nelson amp Mitchell Richard N 2007 Robbins Basic Pathology 8th ed Saunders Elsevier pp 403 406 ISBN 978 1 4160 2973 1 Jones TD 1944 The diagnosis of rheumatic fever JAMA 126 481 4 Ferrieri P Jones Criteria Working Group 2002 Proceedings of the Jones Criteria workshop Circulation 106 19 2521 3 doi 10 1161 01 CIR 0000037745 65929 FA PMID 12417554 Steven J Parrillo DO FACOEP FACEP eMedicine Rheumatic Fever subkhnemux 2007 07 14 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint multiple names authors list lingk Guidelines for the diagnosis of rheumatic fever Jones Criteria 1992 update Special Writing Group of the Committee on Rheumatic Fever Endocarditis and Kawasaki Disease of the Council on Cardiovascular Disease in the Young of the American Heart Association JAMA 268 15 2069 73 1992 PMID 1404745 Saxena Anita 2000 Diagnosis of rheumatic fever Current status of Jones criteria and role of echocardiography Indian Journal of Pediatrics 67 4 283 6 doi 10 1007 BF02758174 PMID 11129913 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 08 28 subkhnemux 2010 06 09 Abbas and Lechtman Basic Immunology Functions and Disorders of the Immune System Elsevier Inc 2004 Fae KC da Silva DD Oshiro SE aelakhna May 2006 J Immunol 176 9 5662 70 PMID 16622036 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 04 07 subkhnemux 2010 06 09 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Cotran Ramzi S Kumar Vinay Fausto Nelson Nelso Fausto Robbins Stanley L Abbas Abul K 2005 St Louis Mo Elsevier Saunders ISBN 0 7216 0187 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2005 09 10 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Rheumatic Heart Disease Rheumatic Fever American Heart Association subkhnemux 2008 02 17 WHO Disease and injury country estimates World Health Organization 2009 subkhnemux November 11 2009 Medline Plus Medical Encyclopedia Rheumatic fever Porth Carol 2007 Essentials of pathophysiology concepts of altered health states Hagerstown MD Lippincott Williams amp Wilkins ISBN 0 7817 7087 4 aehlngkhxmulxunikhrumatik cakewbisthmxchawban orkhhwicrumatik cakmulnithiedkorkhhwic Rheumatic fever information 2006 01 01 thi ewyaebkaemchchin from Seattle Children s Hospital Heart Center Jones major criteria Mnemonic 2010 10 07 thi ewyaebkaemchchin