พระเจ้าปุศยมิตรศุงคะ (อักษรโรมัน: Pushyamitra Shunga, Puṣyamitra Śuṅga; ขึ้นครองราชย์เมื่อ ป. 185 – 149 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นผู้ก่อตั้งและปฐมกษัตริย์ของจักรวรรดิศุงคะที่เขาก่อตั้งขึ้นถัดจากจักรวรรดิเมารยะ ชื่อเดิมของเขาคือ Puṣpaka หรือ Puṣpamitra และความสับสนระหว่างชื่อ Puṣyamitra กับ Puṣpamitra ปรากฏขึ้นเนื่องจากรูปอ่านที่ผิดพลาดของอักษร 'p' กับ 'y' ในเอกสารตัวเขียน
พระเจ้าปุษยมิตรศุงคะ | |
---|---|
รูปปั้นจากสมัยศุงคะ | |
จักรพรรดิศุงคะองค์ที่ 1 | |
ครองราชย์ | ป. 185 – 149 ปีก่อน ค.ศ. |
ก่อนหน้า | พระเจ้าพฤหทรถะเมารยะ (ในฐานะจักรพรรดิเมารยะ) |
ถัดไป | พระเจ้าอัคนิมิตร |
เสนาบดีแห่งจักรวรรดิเมารยะ | |
ราชวงศ์ | ศุงคะ |
ศาสนา | ฮินดู |
พระองค์ได้ประกอบพิธีอัศวเมธ หรือพิธีปล่อยม้าอุปการตามประเพณีของกษัตริย์อินเดียโบราณ เพื่อสร้างความชอบธรรมในการปกครอง ซึ่งมีการค้นพบจารึกของราชวงศ์ศุงกะอย่างมากมายจนถึง อโยธยา () และ กล่าวว่าอาณาจักรของพระองค์ได้ขยายออกไปไกลถึงสาคละหรือเสียลโกต ใน แคว้นปัญจาบ ทางตะวันตกเฉียงเหนือ
ตำราทางพระพุทธศาสนาระบุว่าพระองค์เป็นปฏิปักษ์ต่อพระพุทธศาสนา แม้ว่านักวิชาการสมัยใหม่บางคนจะแสดงความสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลเหล่านี้ก็ตาม
บรรพบุรุษ
ตามบันทึกในปุราณะ ปุศยมิตรขึ้นเป็นกษัตริย์ด้วยการสังหารพระเจ้าพฤหทรถะ จักรพรรดิเมารยะองค์สุดท้าย อย่างไรก็ตาม ตำราพุทธ ทิวยาวทาน ระบุ Pushyamitra เป็นจักรพรรดิเมารยะองค์สุดท้าย ดูเหมือนว่าตำรานี้สับสนพระนามระหว่างพฤหทรถะกับ Pushyamitra
H. C. Raychaudhuri ตั้งทฤษฎีว่า นาม "ศุงคะ" มาจากศัพท์สันสกฤตของต้นมะเดื่อ
ข้อกล่าวหาเป็นปฏิปักษ์ต่อชาวพุทธ
ตำราพุทธอ้างว่าพระเจ้าปุษยมิตรศุงคะกดขี่ชาวพุทธอย่างรุนแรง ข้อมูลแรกสุดที่กล่าวถึงสิ่งนี้มาจากตำรา (ส่วนหนึ่งของทิวยาวทาน) ในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ซึ่งระบุว่า พระเจ้าปุษยมิตร (ระบุเป็นจักรพรรดิเมารยะองค์สุดท้าย) ต้องการมีชื่อเสียง เสนาบดีจึงให้คำแนะนำพระองค์ว่า ตราบเท่าที่ศาสนาพุทธยังคงเป็นศาสนาหลัก พระองค์คงไม่มีวันที่จะมีชื่อเสียงเท่าพระเจ้าอโศก บรรพบุรุษที่มีรับสั่งให้สร้างสถูป 84,000 แห่ง ที่ปรึกษาคนหนึ่งบอกว่า พระองค์สามารถมีชื่อเสียงด้วยการทำลายศาสนาพุทธ จากนั้นพระเจ้าปุษยมิตรพยายามทำลายอาราม แต่กลับรอดได้โดยบังเอิญ จากนั้นจึงเสด็จไปที่สาคละทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยพระองค์บำเหน็จรางวัล 100 (เหรียญ) สำหรับผู้ที่นำเศียรพระภิกษุมาให้ ต่อมา พระองค์จึงเสด็จไปที่อาณาจักร Koshthaka ที่มียักษ์พุทธนาม Damshtranivasin กับยักษ์อีกตนนาม Krimisha สังหารพระองค์กับบรรดาทหาร
... พระเจ้าปุษยมิตรเตรียมกองทัพสี่กองและตั้งใจที่จะทำลายศาสนาพุทธ พระองค์เสด็จไปยัง (ที่ปาฏลีบุตร) ... ดังนั้น พระเจ้าปุษยมิตรจึงทำลาย สังหารพระภิกษุ และเสด็จจากไป ... หลังจากนั้น พระองค์เสด็จถึงสาคละและประกาศพระองค์จะบำเหน็จ ... รางวัลแก่ใครก็ตามที่นำเศียรพระภิกษุมากให้พระองค์
Vibhasa ตำราคริสต์ศตวรรษที่ 2 อีกเล่ม ระบุว่า พระเจ้าปุษยมิตรเผาคัมภีร์พุทธ สังหารพระภิกษุ และทำลายอาราม 500 แห่งทั้งในและรอบกัศมีร์ โดยมีบรรดายักษ์ กุมภัณฑ์ และปีศาจตนอื่น ๆ สนับสนุนการทัพนี้ อย่างไรก็ตาม เมื่อพระองค์เสด็จถึงต้นโพธิ์ เทพที่อยู่ในต้นนั้นแปลงกายเป็นสตรีและสังหารพระองค์Shariputrapariprichha ซึ่งแปลเป็ยภาษาจีนในช่วง ค.ศ. 317 ถึง 420 ก็กล่าวถึงตำนานนี้ แต่ในฉบับนี้มีรายละเอียดมากกว่า และกล่าวถึงศูนย์กลางการทัพต่อต้านศาสนาพุทธของพระเจ้าปุษยมิตรที่อินเดียตะวันออก (ไม่ใช่กัศมีร์)
ในสมัยกลางกล่าวถึงกษัตริย์ที่ชั่วร้ายและโง่เขลานาม Gomimukhya ("พระพักตร์โค") หรือ Gomishanda ("โกมิน วัวตัวผู้") ผู้ยึดดินแดนจากตะวันออกถึงกัศมีร์ ทำลายอารามและสังหารพระภิกษุ ท้ายที่สุด ทั้งพระองค์กับบรรดาขุนนางเสียชีวิตจากหินบนภูเขาตกหล่นทับ นักเขียนบางคนระบุกษัตริย์องค์นี้เข้ากับพระเจ้าปุษยมิตร
นักประวัติศาสตร์พุทธชาวทิเบตในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็กล่าวว่า พระเจ้าปุษยมิตรกับพันธมิตรสังหารพระภิกษุและทำลายอารามจาก มัธยเทศ (พื้นที่ตอนกลาง) ถึงชลันธร ทำให้คัมภีร์พุทธถูกกำจัดจากทางเหนือภายใน 5 ปี
ความน่าเชื่อถือของข้ออ้าง
เมื่ออิงตามธรรมเนียมพุทธ นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่าพระเจ้าปุษยมิตรเป็นผู้กดขี่ศาสนาพุทธจริง อย่างไรก็ตาม นักวิชาการบางส่วนเชื่อว่านักวิชาการพุทธมีอคติต่อพระเจ้าปุษยมิตรศุงคะ เนื่องจากพระองค์ไม่ได้อุปถัมภ์พวกตน นักโบราณคดี รายงานว่า มีหลักฐานความเสียหายบางส่วนจากสถานประกอบพิธีทางพระพุทธศาสนาที่ตักศิลาประมาณสมัยศุงคะ เขายังตั้งทฤษฎีว่าเคยถูกทำลายในศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. (สมัยพระเจ้าปุษยมิตรศุงคะ) ก่อนสร้างใหม่ขนานใหญ่ G. R. Sharma ผู้ขุดค้นซากปรักหักพังทางศาสนาพุทธที่โกสัมพี เสนอแนะว่า การทำลายอารามท้องถิ่นอาจเกิดขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าปุษยมิตรศุงคะ P. K. Mishra เชื่อว่าความเสียหายต่อสถูป ก็มีอายุถถึงสมัยพระเจ้าปุษยมิตร H. C. Raychaudhari ชี้ให้เห็นว่าพุทธสถานสร้างขึ้นที่ภารหุตในสมัยศุงคะ อย่างไรก็ตาม N. N. Ghosh รายงานว่าสิ่งก่อสร้างเหล่านี้สร้างขึ้นในสมัยผู้นำศุงคะยุคหลัง ไม่ใช่สมัยพระเจ้าปุษยมิตร
H. Bhattacharya ตั้งทฤษฎีว่าพระเจ้าปุษยมิตรอาจกดขี่ชาวพุทธในทางการเมืองมากกว่าทางศาสนา โดยมีเหตุผลว่า ชาวพุทธที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมืองน่าจะสนับสนุนฝ่ายศัตรูอินโด-กรีกของพระเจ้าปุษยมิตร ซึ่งอาจทำให้พระองค์ต้องข่มเหงพวกเขาอโศกาวทานระบุว่าพระเจ้าปุษยมิตรประกาศรางวัลแก่ผู้ที่สังหารพระภิกษุที่ (ปัจจุบันคือซิอัลโกต) ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ชายแดนอินโด-กรีก K. P. Jayaswal รายงานว่าสิ่งนี้เน้นย้ำถึงแรงจูงใจทางการเมืองที่อยู่เบื้องหลังการกล่าวหาว่าพระองค์ทำการกดขี่ชาวพุทธ
Historian Eric Seldeslachts นักประวัตืศาสตร์ ระบุว่า "ไม่มีหลักฐานใดก็ตามที่ระบุว่าพระเจ้าปุษยมิตรศุงคะกดขี่ชาวพุทธจริง ๆ" แม้ว่าพระองค์อาจไม่ได้สนับสนุนศาสนาพุทธอย่างจริงจัง ซึ่งทำให้ชาวพุทธโกรธแค้น
เขียนไว้ว่า การขาดหลักฐานทางโบราณคดีที่เป็นรูปธรรมทำให้เกิดข้อสงสัยต่อการกล่าวอ้างถึงการกดขี่ชาวพุทธของพระเจ้าปุษยมิตร
มีความเป็นไปได้ว่าอิทธิพุทธในราชสำนักเมารยะเสื่อมถอยในรัชสมัยพระเจ้าปุษยมิตรศุงคะ และอารามพุทธและสถาบันอื่น ๆ หยุดได้รับพระราชอุปถัมภ์ การเปลี่ยนแปลวนี้อาจนำไปสู่ความไม่พอใจในหมู่ชาวพุทธ ส่งผลให้เกิดรายงานการกดขี่ที่มีเนื้อหาเกินจริง
อ้างอิง
- Mitchiner, John E. (1986). The Yuga Purāṇa (ภาษาอังกฤษ) (1st ed.). Kolkata: The Asiatic Society. p. 71. ISBN .
- Mitchiner, John E. (1986). The Yuga Purāṇa (ภาษาอังกฤษ) (1st ed.). Kolkata: The Asiatic Society. pp. 71–72. ISBN .
- (1971). Studies in the Religious Life of Ancient and Medieval India. Motilal Banarsidass. p. 175. ISBN .
- Mishra, Ram Kumar (2012). "Pushyamitra Sunga and the Buddhists". Proceedings of the Indian History Congress. 73: 50–57. ISSN 2249-1937. JSTOR 44156189.
- Aśoka and the Decline of the Mauryas by Romila Thapar, Oxford University Press, 1960 P200
- Thapar 2013, p. 296.
- Lahiri 1974, p. 29.
- Lahiri 1974, p. 30.
- Raychaudhari Hemchandra, "Tha Audvijja Senani of the Harivansa?", Indian culture, Vol. IV, 1938, P. 360-365
- Simmons & Sarao 2010, pp. 95–96.
- Lahiri 1974, p. 33.
- Strong 1989, p. 293.
- Simmons & Sarao 2010, p. 96.
- Lahiri 1974, p. 33-34.
- Bandyopadhyaya, Jayantanuja (2007). Class and Religion in Ancient India. Anthem. p. 209. ISBN .
- Lahiri 1974, pp. 34–35.
- Simmons & Sarao 2010, pp. 96–97.
- Simmons & Sarao 2010, p. 97.
- Lahiri 1974, p. 34.
- Simmons & Sarao 2010, p. 100.
- Simmons & Sarao 2010, pp. 99–100.
- Heirman, Ann; Bumbacher, Stephan Peter (2007-05-11). The Spread of Buddhism (ภาษาอังกฤษ). BRILL. p. 141. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Jain, Kailash Chand (1991). Lord Mahāvīra and His Times. . ISBN .
- Simmons, Caleb; Sarao, K. T. S. (2010). Danver, Steven L. (บ.ก.). Popular Controversies in World History. ABC-CLIO. ISBN .
- Lahiri, Bela (1974). Indigenous states of northern India, circa 200 B.C. to 320 A.D. University of Calcutta. p. 31.
- (1989). The Legend of King Aśoka : a study and translation of the Aśokāvadāna. Princeton: Princeton University Press. ISBN .
- (2013), The Past Before Us, , ISBN
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phraecapusymitrsungkha xksrormn Pushyamitra Shunga Puṣyamitra Suṅga khunkhrxngrachyemux p 185 149 pikxnkhristkal epnphukxtngaelapthmkstriykhxngckrwrrdisungkhathiekhakxtngkhunthdcakckrwrrdiemarya chuxedimkhxngekhakhux Puṣpaka hrux Puṣpamitra aelakhwamsbsnrahwangchux Puṣyamitra kb Puṣpamitra praktkhunenuxngcakrupxanthiphidphladkhxngxksr p kb y inexksartwekhiynphraecapusymitrsungkharuppncaksmysungkhackrphrrdisungkhaxngkhthi 1khrxngrachyp 185 149 pikxn kh s kxnhnaphraecaphvhthrthaemarya inthanackrphrrdiemarya thdipphraecaxkhnimitresnabdiaehngckrwrrdiemaryarachwngssungkhasasnahindu phraxngkhidprakxbphithixswemth hruxphithiplxymaxupkartampraephnikhxngkstriyxinediyobran ephuxsrangkhwamchxbthrrminkarpkkhrxng sungmikarkhnphbcarukkhxngrachwngssungkaxyangmakmaycnthung xoythya aela klawwaxanackrkhxngphraxngkhidkhyayxxkipiklthungsakhlahruxesiylokt in aekhwnpycab thangtawntkechiyngehnux tarathangphraphuththsasnarabuwaphraxngkhepnptipkstxphraphuththsasna aemwankwichakarsmyihmbangkhncaaesdngkhwamsngsyekiywkbkhxmulehlaniktambrrphburustambnthukinpurana pusymitrkhunepnkstriydwykarsngharphraecaphvhthrtha ckrphrrdiemaryaxngkhsudthay xyangirktam taraphuthth thiwyawthan rabu Pushyamitra epnckrphrrdiemaryaxngkhsudthay duehmuxnwataranisbsnphranamrahwangphvhthrthakb Pushyamitra H C Raychaudhuri tngthvsdiwa nam sungkha macaksphthsnskvtkhxngtnmaeduxkhxklawhaepnptipkstxchawphuththtaraphuththxangwaphraecapusymitrsungkhakdkhichawphuththxyangrunaerng khxmulaerksudthiklawthungsingnimacaktara swnhnungkhxngthiwyawthan inkhriststwrrsthi 2 sungrabuwa phraecapusymitr rabuepnckrphrrdiemaryaxngkhsudthay txngkarmichuxesiyng esnabdicungihkhaaenanaphraxngkhwa trabethathisasnaphuththyngkhngepnsasnahlk phraxngkhkhngimmiwnthicamichuxesiyngethaphraecaxosk brrphburusthimirbsngihsrangsthup 84 000 aehng thipruksakhnhnungbxkwa phraxngkhsamarthmichuxesiyngdwykarthalaysasnaphuthth caknnphraecapusymitrphyayamthalayxaram aetklbrxdidodybngexiy caknncungesdcipthisakhlathangtawntkechiyngehnux odyphraxngkhbaehncrangwl 100 ehriyy sahrbphuthinaesiyrphraphiksumaih txma phraxngkhcungesdcipthixanackr Koshthaka thimiyksphuththnam Damshtranivasin kbyksxiktnnam Krimisha sngharphraxngkhkbbrrdathhar phraecapusymitretriymkxngthphsikxngaelatngicthicathalaysasnaphuthth phraxngkhesdcipyng thipatlibutr dngnn phraecapusymitrcungthalay sngharphraphiksu aelaesdccakip hlngcaknn phraxngkhesdcthungsakhlaaelaprakasphraxngkhcabaehnc rangwlaekikhrktamthinaesiyrphraphiksumakihphraxngkh Vibhasa tarakhriststwrrsthi 2 xikelm rabuwa phraecapusymitrephakhmphirphuthth sngharphraphiksu aelathalayxaram 500 aehngthnginaelarxbksmir odymibrrdayks kumphnth aelapisactnxun snbsnunkarthphni xyangirktam emuxphraxngkhesdcthungtnophthi ethphthixyuintnnnaeplngkayepnstriaelasngharphraxngkhShariputrapariprichha sungaeplepyphasacininchwng kh s 317 thung 420 kklawthungtananni aetinchbbnimiraylaexiydmakkwa aelaklawthungsunyklangkarthphtxtansasnaphuththkhxngphraecapusymitrthixinediytawnxxk imichksmir insmyklangklawthungkstriythichwrayaelaongekhlanam Gomimukhya phraphktrokh hrux Gomishanda okmin wwtwphu phuyuddinaedncaktawnxxkthungksmir thalayxaramaelasngharphraphiksu thaythisud thngphraxngkhkbbrrdakhunnangesiychiwitcakhinbnphuekhatkhlnthb nkekhiynbangkhnrabukstriyxngkhniekhakbphraecapusymitr nkprawtisastrphuththchawthiebtinkhriststwrrsthi 16 kklawwa phraecapusymitrkbphnthmitrsngharphraphiksuaelathalayxaramcak mthyeths phunthitxnklang thungchlnthr thaihkhmphirphuthththukkacdcakthangehnuxphayin 5 pi khwamnaechuxthuxkhxngkhxxang phranam pusymitr xksrphrahmi 𑀧 𑀰 𑀬𑀫 𑀢 𑀭 in emuxxingtamthrrmeniymphuthth nkwichakarbangswnechuxwaphraecapusymitrepnphukdkhisasnaphuththcring xyangirktam nkwichakarbangswnechuxwankwichakarphuththmixkhtitxphraecapusymitrsungkha enuxngcakphraxngkhimidxupthmphphwktn nkobrankhdi raynganwa mihlkthankhwamesiyhaybangswncaksthanprakxbphithithangphraphuththsasnathitksilapramansmysungkha ekhayngtngthvsdiwaekhythukthalayinstwrrsthi 2 kxn kh s smyphraecapusymitrsungkha kxnsrangihmkhnanihy G R Sharma phukhudkhnsakprkhkphngthangsasnaphuthththioksmphi esnxaenawa karthalayxaramthxngthinxacekidkhuninrchsmyphraecapusymitrsungkha P K Mishra echuxwakhwamesiyhaytxsthup kmixayuththungsmyphraecapusymitr H C Raychaudhari chiihehnwaphuththsthansrangkhunthipharhutinsmysungkha xyangirktam N N Ghosh raynganwasingkxsrangehlanisrangkhuninsmyphunasungkhayukhhlng imichsmyphraecapusymitr H Bhattacharya tngthvsdiwaphraecapusymitrxackdkhichawphuththinthangkaremuxngmakkwathangsasna odymiehtuphlwa chawphuthththimiswnekiywkhxngthangkaremuxngnacasnbsnunfaystruxinod krikkhxngphraecapusymitr sungxacthaihphraxngkhtxngkhmehngphwkekhaxoskawthanrabuwaphraecapusymitrprakasrangwlaekphuthisngharphraphiksuthi pccubnkhuxsixlokt sungtngxyuiklchayaednxinod krik K P Jayaswal raynganwasingniennyathungaerngcungicthangkaremuxngthixyuebuxnghlngkarklawhawaphraxngkhthakarkdkhichawphuthth Historian Eric Seldeslachts nkprawtusastr rabuwa immihlkthanidktamthirabuwaphraecapusymitrsungkhakdkhichawphuththcring aemwaphraxngkhxacimidsnbsnunsasnaphuththxyangcringcng sungthaihchawphuththokrthaekhn ekhiyniwwa karkhadhlkthanthangobrankhdithiepnrupthrrmthaihekidkhxsngsytxkarklawxangthungkarkdkhichawphuththkhxngphraecapusymitr mikhwamepnipidwaxiththiphuththinrachsankemaryaesuxmthxyinrchsmyphraecapusymitrsungkha aelaxaramphuththaelasthabnxun hyudidrbphrarachxupthmph karepliynaeplwnixacnaipsukhwamimphxicinhmuchawphuthth sngphlihekidrayngankarkdkhithimienuxhaekincringxangxingMitchiner John E 1986 The Yuga Puraṇa phasaxngkvs 1st ed Kolkata The Asiatic Society p 71 ISBN 978 93 81574 56 0 Mitchiner John E 1986 The Yuga Puraṇa phasaxngkvs 1st ed Kolkata The Asiatic Society pp 71 72 ISBN 978 93 81574 56 0 1971 Studies in the Religious Life of Ancient and Medieval India Motilal Banarsidass p 175 ISBN 978 81 208 2790 5 Mishra Ram Kumar 2012 Pushyamitra Sunga and the Buddhists Proceedings of the Indian History Congress 73 50 57 ISSN 2249 1937 JSTOR 44156189 Asoka and the Decline of the Mauryas by Romila Thapar Oxford University Press 1960 P200 Thapar 2013 p 296 Lahiri 1974 p 29 Lahiri 1974 p 30 Raychaudhari Hemchandra Tha Audvijja Senani of the Harivansa Indian culture Vol IV 1938 P 360 365 Simmons amp Sarao 2010 pp 95 96 Lahiri 1974 p 33 Strong 1989 p 293 Simmons amp Sarao 2010 p 96 Lahiri 1974 p 33 34 Bandyopadhyaya Jayantanuja 2007 Class and Religion in Ancient India Anthem p 209 ISBN 978 1 84331 332 8 Lahiri 1974 pp 34 35 Simmons amp Sarao 2010 pp 96 97 Simmons amp Sarao 2010 p 97 Lahiri 1974 p 34 Simmons amp Sarao 2010 p 100 Simmons amp Sarao 2010 pp 99 100 Heirman Ann Bumbacher Stephan Peter 2007 05 11 The Spread of Buddhism phasaxngkvs BRILL p 141 ISBN 978 90 04 15830 6 aehlngkhxmulxunJain Kailash Chand 1991 Lord Mahavira and His Times ISBN 978 81 208 0805 8 Simmons Caleb Sarao K T S 2010 Danver Steven L b k Popular Controversies in World History ABC CLIO ISBN 978 1 59884 078 0 Lahiri Bela 1974 Indigenous states of northern India circa 200 B C to 320 A D University of Calcutta p 31 1989 The Legend of King Asoka a study and translation of the Asokavadana Princeton Princeton University Press ISBN 0 691 01459 0 2013 The Past Before Us ISBN 978 0 674 72651 2