ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
คอเลสไตรามีน (อังกฤษ: Colestyramine สำหรับ INN หรือ cholestyramine สำหรับ USAN) (ชื่อการค้า Questran, Questran Light, Cholybar, Olestyr) เป็นยาลดไขมันในกระแสเลือดกลุ่มไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์ ซึ่งมีกลไกการออกฤทธิ์โดยการจับกับน้ำดีในทางเดินอาหารเพื่อป้องกันการไม่ให้เกิดการแตกตัวของไขมันจากอาหารและป้องกันการดูดซึมกลับของน้ำดี โดยคอเลสไตรามีนถือเป็นเรซินแลกเปลี่ยนไอออน (ion exchange resin) ที่มีฤทธิ์แรง ทำให้คอเลสไตรามีนสามารถเหนี่ยวนำให้เกิดการแลกเปลี่ยนคลอไรด์ไอออนกับกรดน้ำดีซึ่งมีประจุเป็นลบในทางเดินอาหารได้ และจับกับกรดน้ำดีเหล่านั้นในรูปแบบของเรซินเมทริกซ์ โดยหมู่แทนที่ของเรซินแลกเปลี่ยนไอออน คือ หมู่ (quaternary ammonium group) และ - โคพอลิเมอร์ (styrene-divinylbenzene copolymer)
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Questran |
/ | โมโนกราฟ |
a682672 | |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | การรับประทาน |
รหัส ATC |
|
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | ต่ำ |
ไม่ทราบแน่ชัด | |
การเปลี่ยนแปลงยา | น้ำดี |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 0.1 ชั่วโมง |
การขับออก | อุจจาระ |
ตัวบ่งชี้ | |
เลขทะเบียน CAS |
|
DrugBank |
|
ChemSpider |
|
| |
| |
| |
100.031.143 | |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
โดยเฉลี่ยมากกว่า 106 ดาลตัน | |
7 (verify) | |
คอเลสไตรามีนจะลดปริมาณกรดน้ำดีในร่างกายด้วยการจับกับน้ำดีในลำไส้เล็กเป็นที่ไม่ละลายน้ำ ซึ่งจะถูกขับออกมากับอุจจาระในภายหลัง การที่น้ำดีถูกขับมากับอุจจาระนี้ จะทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำดี ซึ่งโดยปกติต้องถูกดูดซึมกลับเข้าไปในร่างกาย ทำให้ร่างกายต้องดึงเอาคอเลสเตอรอลที่มีอยู่ในกระแสเลือดมาเปลี่ยนเป็นน้ำดีที่ตับ เพื่อคงระดับน้ำดีให้อยู่ในระดับปกติ การดึงเอาคอเลสเตอรอลไปใช้ในกระบวนดังกล่าวเป็นผลให้ระดับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือดลดลงในที่สุด
คอเลสไตรามีนเป็นยาแผนปัจจุบัน ชนิดรับประทาน มีการดูดซึมเข้าร่างกายได้ต่ำ และจะถูกขับออกมากับอุจจาระ คณะกรรมการอาหารและยาของไทยได้บรรจุยาคอเลสไตรามีนลงใน โดยระบุเป็น ใช้ลดไขมันในเลือดและเป็นยาแก้ท้องเสียที่มีสาเหตุจากน้ำดีของร่างกาย
การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์
ยากลุ่มไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์ อย่างคอเลสไตรามีนเป็นยากลุ่มแรกที่ถูกนำมาใช้ในการรักษาภาวะคอเรสเตอรอลในเลือดสูง แต่ภายหลังจากมีการค้นพบยากลุ่มสแตติน ทำให้มีการใช้ยากลุ่มไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์สำหรับลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือดลดน้อยลง อย่างไรก็ตามคอเลสไตรามีนยังถูกใช้ในการบรรเทาอาการคันอันเนื่องมาจากบางส่วน (cholestasis) ทำให้ปริมาณสารให้สีเหลืองหรือ (bilirubin) ในร่างกายมากเกินไป ทำให้ไม่สามารถกำจัดออกได้
คอเลสไตรามีนมักถูกเลือกใช้ในการรักษาภาวะท้องเสียที่มีสาเหตุมาจาก (bile acid malabsorption) นอกจากนี้แล้วคอเลสไตรามีนยังถูกใช้เพื่อรักษาภาวะท้องเสียในผู้ป่วย (Crohn's disease) ที่เคยได้รับการผ่าตัดลำไส้เล็กส่วนปลาย (ileal resection) ทั้งนี้ เนื่องจากบริเวณลำไส้เล็กส่วนปลายเป็นส่วนที่มีการดูดซึมกลับของน้ำดีมากที่สุด เมื่อลำไส้ส่วนนี้ถูกตัดออกไป ทำให้การดูดซึมกลับของน้ำดีลดลงอย่างมีนัยสำคัญ น้ำดีเหล่านี้จะผ่านเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ และกระตุ้นให้เซลล์ (colonocytes) หลั่งคลอไรด์ไอออนและสารน้ำออกมา โดยสารเหล่านี้จะทำให้อุจจาระอ่อนนุ่มและมีปริมาณน้ำมาเกินไป ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะท้องเสีย (secretory diarrhea) ได้ในที่สุด ซึ่งคอเลสไตรามีนจะสามารถป้องกันการเกิดความผิดปกติดังกล่าวได้ด้วยการเข้าไปจับกับกรดน้ำดีกลายเป็นสารประกอบเชิงซ้อนที่ไม่ละลายน้ำและไม่มีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งคลอไรด์ไอออนและสารน้ำจากเซลล์เยื่อบุลำไส้ใหญ่
คอเลสไตรามีนยังถูกใช้ในการควบคุมอาการท้องเสียที่มีสาเหตุมาจากการมีความผิดปกติของกรดน้ำดีในรูปแบบอื่นๆ ประการแรกก็คือ ใช้ในการรักษาภาวะท้องเสียจากกรดน้ำดีที่ไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักได้รับการวินิจฉัยผิดพลาดว่ามีภาวะลำไส้แปรปรวนชนิดท้องเสียเด่น (diarrhea-predominant irritable bowel syndrome; IBS-D) ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวส่วนใหญ่แล้วมักตอบสนองต่อการรักษาด้วยคอเลสไตรามีนได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้แล้ว คอเลสไตรามีนยังมีประโยชน์ในการรักษาอาการท้องเสียเรื้อรังในผู้ที่เพิ่งได้รับการผ่าตัดถุงน้ำดี (postcholecystectomy syndrome chronic diarrhea) และยังสามารถใช้รักษาภาวะท้องเสียที่เกิดหลังจากการได้รับการผ่าตัด (Post-vagotomy diarrhea)
คอเลสไตรามีนยังมีประโยชน์ในการรักษาการติดเชื้อ Clostridium difficile ซึ่งเป็นเชื้อที่สามารถก่อให้เกิดอาการท้องเสียได้ โดยคอเลสไตรามีนจะออกฤทธิ์ดูดซับ toxins A และ B ที่เกิดจากเชื้อดังกล่าว ทำให้สามารถลดอาการท้องเสียและอาการอื่นที่เกิดจากสารพิษทั้งสองชนิดนั้นได้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากคอเลสไตรามีนไม่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อดังกล่าว การรักษาภาวะนี้จึงจำเป็นต้องให้ร่วมกับยาปฏิชีวนะ เช่น แวนโคมัยซิน (Vancomycin) เป็นต้น
นอกจากนี้ คอเลสไตรามีนยังถูกเพื่อเร่งการกำจัดยา (leflunomide) หรือ (teriflunomide) ออกจากร่างกายในผู้ที่เกิดจำเป็นต้องหยุดการใช้ยาดังกล่าวเนื่องจากเกิดอาการข้างเคียงที่รุนแรงจากยาทั้งสองชนิดดังข้างต้น
มีรายงานว่าคอเลสไตรามีนอาจมีประโยชน์ในการรักษาการเกิดพิษจากสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (cyanobacteria) ในสุนัข ซึ่งมักมีสาเหตุมาจากสารพิษกลุ่มหนึ่งที่มีชื่อว่า (microcystin) ซึ่งเป็นพิษต่อตับ
นอกจากนี้แล้ว ยังมีการใช้ขี้ผึ้ง (Ointments) ที่มีส่วนผสมของสารประกอบคอเลสไตรามีนที่มีกลิ่นทาเพื่อรักษาผื่นผ้าอ้อมในเด็กแรกเกิดและเด็กวัยเตาะแตะ (1-3 ปี)
รูปแบบเภสัชภัณฑ์
คอเลสไตรามีนที่มีจำหน่ายในปัจจุบันเป็นยารูปแบบผงแห้ง บรรจุในซอง ซองละ 4 กรัม หรือผงแห้ง บรรจุในกระป๋อง ในสหรัฐอเมริกา คอเลสไตรามีนมีจำหน่ายภายใต้ชื่อการค้า Questran® หรือ Questran Light® ซึ่งผลิตโดยบริษัท บริสตอล-ไมเยอร์ส สควิบบ์ (Bristol-Myers Squibb)
สำหรับในประเทศมีจำหน่ายภายใต้ชื่อการค้า Resincolestiramina® ผลิตโดยบริษัท แล็บ รูบิโอ/ทีทีเอ็น จำกัด (Lab Rubio TTN) และภายใต้ชื่อการค้า Questran® หรือ Questran Light®
ขนาดที่ใช้ในการรักษา
ขนาดของยาคอเลสไตรามีนโดยทั่วไป คือ 4-8 กรัม โดยรับประทานวันละ 1-2 ครั้ง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 24 กรัมต่อวัน อย่างไรก็ตาม ขนาดใช้ยาต้องปรับตามข้อบ่งใช้หรือตามแพทย์สั่ง เนื่องจากยานี้มีข้อบ่งใช้หลายอย่าง จึงต้องได้รับการตรวจจากแพทย์ก่อน โดยเฉพาะการใช้ยาเพื่อลดระดับไขมันในเลือด ไม่แนะนำปรับขนาดหรือหยุดยาเอง เนื่องจากอาจก่อให้ภาวะของโรครุนแรงขึ้นหรือเกิดอาการข้างเคียงที่รุนแรงจากยาได้
อาการไม่พึงประสงค์
อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากคอเลสไตรามีนที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ท้องผูก ซึ่งขึ้นกับปริมาณที่รับประทาน และอายุ อาการข้างเคียงอื่นนอกจากนี้ เช่น
- ปวดท้อง แน่นท้อง คลื่นไส้อาเจียน
- เลือดออกง่าย จ้ำเลือด
- ลมพิษ หอบหืด
- ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
- ปัสสาวะเป็นเลือด
- ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
ผู้ที่ใช้ยาขนาดสูงเป็นเวลานานหรือคนสูงอายุ อาจมีอาการท้องผูก แนะนำให้เพิ่มอาหารที่มีกากใยและดื่มน้ำมาก ๆ หากเป็นรุนแรงควรปรึกษาแพทย์ อาการท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย อาจหายไปได้เมื่อใช้ยาต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่ถ้าไม่หายหรือรุนแรงขึ้น ให้หยุดยาแล้วพบแพทย์
ผู้ป่วยที่มีประวัติผ่าตัดบริเวณช่องท้องควรใช้คอเลสไตรามีนอย่างระมัดระวัง เนื่องจากมีรายงานว่ายาดังกล่าวสามารถก่อให้เกิดภาวะลำไส้อุดตันได้
ผู้ป่วยที่เป็น (hypothyroidism), เบาหวาน (diabetes), กลุ่มอาการเนโฟรติค (nephrotic syndrome), ภาวะมีปริมาณโปรตีนบางชนิดในเลือดสูงผิดปกติ (dysproteinemia), (obstructive liver disease), โรคไตเรื้อรัง (kidney disease), หรือผู้ป่วยที่ (alcoholism) ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยานี้ ส่วนการใช้ยาชนิดอื่นๆร่วมกับคอเลสไตรามีนนั้นควรับประทานยาเหล่านั้นก่อนคอเลสไตรามีนอย่างน้อย 1 ชั่วโมง หรืออย่างน้อย 4-6 ชั่วโมงหลังจากรับประทานคอเลสไตรามีน เพื่อป้องกันผลจากคอเลสไตรามีนที่อาจทำให้การดูดซึมยาเหล่านั้นลดน้อยลง ผู้ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ย่อยสลายกรดอะมิโนฟีนิลอะลานีนหรือ (Phenylketonuria; PKU) ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้คอเลสไตรามีนที่มีส่วนผสมของฟีนิลอะลานีน เช่น ผลิตภัณฑ์ภายใต้ชื่อการค้า Questran Light เนื่องจากจะทำให้อาการของโรคแย่ลงได้
อันตรกิริยาระหว่างยา
คอเลสไตรามีนสามารถเกิดอันตรกิริยาระหว่างยากับยาอื่นได้หลายชนิด ได้แก่:
- (Digitalis)
- เอสโตรเจน (Estrogens) และ (progestins)
- ชนิดรับประทาน (Oral antidiabetes drugs)
- (Penicillin G)
- (Phenobarbital)
- สไปโนโรแลคโตน (Spironolactone)
- เตตราไซคลีน (Tetracycline)
- ยาเม็ดที่ออกฤทธ์คล้ายยาขับปัสสาวะกลุ่ม (Thiazide-type diuretic pills)
- ยารักษาโรคไทรอยด์
- วาร์ฟาริน (Warfarin)
- (Leflunomide)
อันตรกิริยาระหว่างยาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มักมีความเสี่ยงมาจากการที่คอเลสไตรามีนลดการดูดซึมยาดังข้างต้น แต่ไม่มีผลต่อระยะเวลาในการรักษา อย่างไรก็ตาม แพทย์ผู้รักษาควรพิจารณาประเมินช่วงระยะเวลาในการบริหารยาให้เหมาะสม หากมีความจำเป็นต้องมีการใช้ยาดังข้างต้นอย่างต่อเนื่อง การใช้ยาคอเลสไตรามีนในขนาดที่สูงทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดการอุดกั้นของลำไส้และกระเพาะอาหารได้
คอเลสไตรามีนอาจมีผลรบกวนการดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ, วิตามินดี, วิตามินอี และวิตามินเค และยังไม่มีคำแนะนำเพิ่มเติมใดๆสำหรับการใช้คอเลสไตรามีนในผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- จันคนา บูรณะโอสถ, นลินี พูลทรัพย (1965). "Cholestyramine Resin Therapy for Hypercholesteremia: Clinical and Metabolic Studies". JAMA. 192 (4): 289–93. doi:10.1001/jama.1965.03080170017004.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-03-02. สืบค้นเมื่อ December 12, 2014.
- อภัย ราษฎรวิจิตร. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ December 13, 2014.
- Wilcox C, Turner J, and Green J. (2014). "Systematic review: the management of chronic diarrhoea due to bile acid malabsorption". Aliment Pharmacol Ther. 39 (9): 923–39. doi:10.1111/apt.12684. PMID 24602022.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Hofmann AF, and Poley JR. (1969). "Cholestyramine treatment of diarrhea associated with ileal resection". N Engl J Med. 281: 397–402. doi:10.1056/NEJM196908212810801. PMID 4894463.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Thompson KC, Iredale JP (1996). "Bezoars: Implicated Drugs and Avoidance Strategies". Drug Safety. 281 (2): 85–93. doi:10.2165/00002018-199614020-00003.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Hofmann AF,and Poley JR (1969). "Cholestyramine Treatment of Diarrhea Associated with Ileal Resection". N Engl J Med. 14 (2): 397–402. doi:10.1056/NEJM196908212810801.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Wedlake L, A'Hern R, Russell D, Thomas K, Walters JR, Andreyev HJ. (2009). "Systematic review: the prevalence of idiopathic bile acid malabsorption as diagnosed by SeHCAT scanning in patients with diarrhoea-predominant irritable bowel syndrome". Aliment Pharmacol Ther. 30 (7): 707–417. doi:10.1111/j.1365-2036.2009.04081.x. PMID 19570102.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Sciarretta, G.; Furno, A.; Mazzoni, M.; Malaguti, P. (1992). "Post-Cholecystectomy Diarrhea: Evidence of Bile Acid Malabsorption Assessed by SeHCAT Test". American Journal of Gastroenterology. 87 (12): 1852. PMID 1449156.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Danley T, St Anna L. (2011). "Postcholecystectomy diarrhea: What relieves it?". J Fam Pract. 60 (10): 632c-d. PMID 21977493.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - George JD, Magowan J. (1971). "Diarrhea after total and selective vagotomy". Am J Dig Dis. 16 (7): 635–40. PMID 5563217.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Gorbashko AI (1992). "[The pathogenesis, diagnosis and treatment of postvagotomy diarrhea]". Vestn Khir Im I I Grek. 148 (3): 254–62. PMID 8594740.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Stroehlein JR (2004). "Treatment of Clostridium difficile Infection". Curr Treat Options Gastroenterol. 7 (3): 235–9. PMID 15149585.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Wong SP, Chu CM, Kan CH, Tsui HS, Ng WL (2009). "Successful treatment of leflunomide-induced acute pneumonitis with cholestyramine wash-out therapy". J Clin Rheumatol. 15 (8): 389–92. doi:10.1097/RHU.0b013e3181c3f87e. PMID 19955995.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Hill CL (2004). "Leflunomide-induced peripheral neuropathy: rapid resolution with cholestyramine wash-out". Rheumatology. 43 (6): 809. doi:10.1093/rheumatology/keh150.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Rankin KA, Alroy KA, Kudela RM, Oates SC, Murray MJ, Miller MA (2013).
- Rankin KA, Alroy KA, Kudela RM, Oates SC, Murray MJ, and Miller MA (2013). "Treatment of Cyanobacterial (Microcystin) Toxicosis Using Oral Cholestyramine: Case Report of a Dog from Montana". Toxins (Basel). 5 (6): 1051–63. doi:10.3390/toxins5061051.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - White CM, Gailey RA, Lippe S (1996).
- MIMS.con Singapore. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ December 12, 2015.
- Fun LW, Evangelista LF, Francisco JC, Flores RMC, Fajayan LJA, editors. MIMS.com Thailand. 123rd edition, Bangkok, TIMS (Thailand), 2011, p. 64, ISSN 1686-3666
- Lacy FC, Armstrong LL, Goldman PM, Lance LL, editors. Drug Information Handbook with international trade name index. 18th edition, New Tork, Lexi-Comp®, 2014, p. 585-588,
- Isaac B. "Questran". PDR Health.com. สืบค้นเมื่อ December 12, 2014.
- Siamhealth.net. "Cholestyramine". สืบค้นเมื่อ December 12, 2015.
- Merten, DF; Grossman, H (1980). "Intestinal obstruction associated with cholestyramine therapy". American Journal of Roentgenology. 134 (4): 827–8. doi:10.2214/ajr.134.4.827. PMID 6767374.
- Jacobson TA, Armani A, McKenney JM, Guyton JR (2007). "Safety considerations with gastrointestinally active lipid-lowering drugs". Am J Cardiol. 99 (6A): 47C–55C. doi:10.1016/j.amjcard.2006.11.022. PMID 17368279.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
แหล่งข้อมูลอื่น
- U.S. National Library of Medicine: Drug Information Portal - Cholestyramine
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid khxelsitramin xngkvs Colestyramine sahrb INN hrux cholestyramine sahrb USAN chuxkarkha Questran Questran Light Cholybar Olestyr epnyaldikhmninkraaeseluxdklumiblaexsidsiekhwsaetrnt sungmiklikkarxxkvththiodykarcbkbnadiinthangedinxaharephuxpxngknkarimihekidkaraetktwkhxngikhmncakxaharaelapxngknkardudsumklbkhxngnadi odykhxelsitraminthuxepnersinaelkepliynixxxn ion exchange resin thimivththiaerng thaihkhxelsitraminsamarthehniywnaihekidkaraelkepliynkhlxirdixxxnkbkrdnadisungmipracuepnlbinthangedinxaharid aelacbkbkrdnadiehlanninrupaebbkhxngersinemthriks odyhmuaethnthikhxngersinaelkepliynixxxn khux hmu quaternary ammonium group aela okhphxliemxr styrene divinylbenzene copolymer khxelsitraminkhxmulthangkhlinikchuxthangkarkhaQuestran omonkrafa682672radbkhwamesiyngtxtharkinkhrrphUS C yngimchikhad Cchxngthangkarrbyakarrbprathanrhs ATC WHO kthmaysthanatamkthmayUS In general Prescription only khxmulephschclnsastrchiwprasiththiphltaimthrabaenchdkarepliynaeplngyanadikhrungchiwitthangchiwphaph0 1 chwomngkarkhbxxkxuccaratwbngchielkhthaebiyn CAS11041 12 6 YDrugBankDB01432 YChemSpidernone4B33BGI082D02690 YCHEMBL1201625 N100 031 143khxmulthangkayphaphaelaekhmiodyechliymakkwa 106 daltn 7 Y verify saranukrmephschkrrm khxelsitramincaldprimankrdnadiinrangkaydwykarcbkbnadiinlaiselkepnthiimlalayna sungcathukkhbxxkmakbxuccarainphayhlng karthinadithukkhbmakbxuccarani cathaihrangkaysuyesiynadi sungodypktitxngthukdudsumklbekhaipinrangkay thaihrangkaytxngdungexakhxelsetxrxlthimixyuinkraaeseluxdmaepliynepnnadithitb ephuxkhngradbnadiihxyuinradbpkti kardungexakhxelsetxrxlipichinkrabwndngklawepnphlihradbkhxelsetxrxlinkraaeseluxdldlnginthisud khxelsitraminepnyaaephnpccubn chnidrbprathan mikardudsumekharangkayidta aelacathukkhbxxkmakbxuccara khnakrrmkarxaharaelayakhxngithyidbrrcuyakhxelsitraminlngin odyrabuepn ichldikhmnineluxdaelaepnyaaekthxngesiythimisaehtucaknadikhxngrangkaykarichpraoychnthangkaraephthyyaklumiblaexsidsiekhwsaetrnt xyangkhxelsitraminepnyaklumaerkthithuknamaichinkarrksaphawakhxersetxrxlineluxdsung aetphayhlngcakmikarkhnphbyaklumsaettin thaihmikarichyaklumiblaexsidsiekhwsaetrntsahrbldradbkhxelsetxrxlineluxdldnxylng xyangirktamkhxelsitraminyngthukichinkarbrrethaxakarkhnxnenuxngmacakbangswn cholestasis thaihprimansarihsiehluxnghrux bilirubin inrangkaymakekinip thaihimsamarthkacdxxkid khxelsitraminmkthukeluxkichinkarrksaphawathxngesiythimisaehtumacak bile acid malabsorption nxkcakniaelwkhxelsitraminyngthukichephuxrksaphawathxngesiyinphupwy Crohn s disease thiekhyidrbkarphatdlaiselkswnplay ileal resection thngni enuxngcakbriewnlaiselkswnplayepnswnthimikardudsumklbkhxngnadimakthisud emuxlaisswnnithuktdxxkip thaihkardudsumklbkhxngnadildlngxyangminysakhy nadiehlanicaphanekhasulaisihy aelakratunihesll colonocytes hlngkhlxirdixxxnaelasarnaxxkma odysarehlanicathaihxuccaraxxnnumaelamiprimannamaekinip sungcakxihekidphawathxngesiy secretory diarrhea idinthisud sungkhxelsitramincasamarthpxngknkarekidkhwamphidpktidngklawiddwykarekhaipcbkbkrdnadiklayepnsarprakxbechingsxnthiimlalaynaaelaimmivththikratunkarhlngkhlxirdixxxnaelasarnacakeslleyuxbulaisihy khxelsitraminyngthukichinkarkhwbkhumxakarthxngesiythimisaehtumacakkarmikhwamphidpktikhxngkrdnadiinrupaebbxun prakaraerkkkhux ichinkarrksaphawathxngesiycakkrdnadithiimthrabsaehtu sungswnihyphupwymkidrbkarwinicchyphidphladwamiphawalaisaeprprwnchnidthxngesiyedn diarrhea predominant irritable bowel syndrome IBS D sungphupwyklumdngklawswnihyaelwmktxbsnxngtxkarrksadwykhxelsitraminidepnxyangdi nxkcakniaelw khxelsitraminyngmipraoychninkarrksaxakarthxngesiyeruxrnginphuthiephingidrbkarphatdthungnadi postcholecystectomy syndrome chronic diarrhea aelayngsamarthichrksaphawathxngesiythiekidhlngcakkaridrbkarphatd Post vagotomy diarrhea khxelsitraminyngmipraoychninkarrksakartidechux Clostridium difficile sungepnechuxthisamarthkxihekidxakarthxngesiyid odykhxelsitramincaxxkvththidudsb toxins A aela B thiekidcakechuxdngklaw thaihsamarthldxakarthxngesiyaelaxakarxunthiekidcaksarphisthngsxngchnidnnid xyangirktam enuxngcakkhxelsitraminimmivththiinkarkhaechuxdngklaw karrksaphawanicungcaepntxngihrwmkbyaptichiwna echn aewnokhmysin Vancomycin epntn nxkcakni khxelsitraminyngthukephuxerngkarkacdya leflunomide hrux teriflunomide xxkcakrangkayinphuthiekidcaepntxnghyudkarichyadngklawenuxngcakekidxakarkhangekhiyngthirunaerngcakyathngsxngchniddngkhangtn miraynganwakhxelsitraminxacmipraoychninkarrksakarekidphiscaksahraysiekhiywaekmnaengin cyanobacteria insunkh sungmkmisaehtumacaksarphisklumhnungthimichuxwa microcystin sungepnphistxtb nxkcakniaelw yngmikarichkhiphung Ointments thimiswnphsmkhxngsarprakxbkhxelsitraminthimiklinthaephuxrksaphunphaxxminedkaerkekidaelaedkwyetaaaeta 1 3 pi rupaebbephschphnthkhxelsitraminthimicahnayinpccubnepnyarupaebbphngaehng brrcuinsxng sxngla 4 krm hruxphngaehng brrcuinkrapxng inshrthxemrika khxelsitraminmicahnayphayitchuxkarkha Questran hrux Questran Light sungphlitodybristh bristxl imeyxrs skhwibb Bristol Myers Squibb sahrbinpraethsmicahnayphayitchuxkarkha Resincolestiramina phlitodybristh aelb rubiox thithiexn cakd Lab Rubio TTN aelaphayitchuxkarkha Questran hrux Questran Light khnadthiichinkarrksakhnadkhxngyakhxelsitraminodythwip khux 4 8 krm odyrbprathanwnla 1 2 khrng khnadyasungsudimekin 24 krmtxwn xyangirktam khnadichyatxngprbtamkhxbngichhruxtamaephthysng enuxngcakyanimikhxbngichhlayxyang cungtxngidrbkartrwccakaephthykxn odyechphaakarichyaephuxldradbikhmnineluxd imaenanaprbkhnadhruxhyudyaexng enuxngcakxackxihphawakhxngorkhrunaerngkhunhruxekidxakarkhangekhiyngthirunaerngcakyaidxakarimphungprasngkhxakarimphungprasngkhthiekidcakkhxelsitraminthiphbidbxythisud khux thxngphuk sungkhunkbprimanthirbprathan aelaxayu xakarkhangekhiyngxunnxkcakni echn pwdthxng aennthxng khlunisxaeciyn eluxdxxkngay caeluxd lmphis hxbhud pwdsirsa ewiynsirsa pssawaepneluxd radbitrkliesxirdineluxdephimsungkhun phuthiichyakhnadsungepnewlananhruxkhnsungxayu xacmixakarthxngphuk aenanaihephimxaharthimikakiyaeladumnamak hakepnrunaerngkhwrpruksaaephthy xakarthxngxud khlunis xaeciyn ebuxxahar thxngesiy xachayipidemuxichyatxipxikrayahnung aetthaimhayhruxrunaerngkhun ihhyudyaaelwphbaephthy phupwythimiprawtiphatdbriewnchxngthxngkhwrichkhxelsitraminxyangramdrawng enuxngcakmiraynganwayadngklawsamarthkxihekidphawalaisxudtnid phupwythiepn hypothyroidism ebahwan diabetes klumxakarenofrtikh nephrotic syndrome phawamiprimanoprtinbangchnidineluxdsungphidpkti dysproteinemia obstructive liver disease orkhiteruxrng kidney disease hruxphupwythi alcoholism khwrpruksaaephthykxnichyani swnkarichyachnidxunrwmkbkhxelsitraminnnkhwrbprathanyaehlannkxnkhxelsitraminxyangnxy 1 chwomng hruxxyangnxy 4 6 chwomnghlngcakrbprathankhxelsitramin ephuxpxngknphlcakkhxelsitraminthixacthaihkardudsumyaehlannldnxylng phuthimiphawaphrxngexnismyxyslaykrdxamionfinilxalaninhrux Phenylketonuria PKU khwrpruksaaephthykxnichkhxelsitraminthimiswnphsmkhxngfinilxalanin echn phlitphnthphayitchuxkarkha Questran Light enuxngcakcathaihxakarkhxngorkhaeylngidxntrkiriyarahwangyakhxelsitraminsamarthekidxntrkiriyarahwangyakbyaxunidhlaychnid idaek Digitalis exsotrecn Estrogens aela progestins chnidrbprathan Oral antidiabetes drugs Penicillin G Phenobarbital siponoraelkhotn Spironolactone ettraiskhlin Tetracycline yaemdthixxkvththkhlayyakhbpssawaklum Thiazide type diuretic pills yarksaorkhithrxyd warfarin Warfarin Leflunomide xntrkiriyarahwangyathiekidkhunswnihymkmikhwamesiyngmacakkarthikhxelsitraminldkardudsumyadngkhangtn aetimmiphltxrayaewlainkarrksa xyangirktam aephthyphurksakhwrphicarnapraeminchwngrayaewlainkarbriharyaihehmaasm hakmikhwamcaepntxngmikarichyadngkhangtnxyangtxenuxng karichyakhxelsitramininkhnadthisungthaihephimkhwamesiyngtxkarekidkarxudknkhxnglaisaelakraephaaxaharid khxelsitraminxacmiphlrbkwnkardudsumwitaminthilalayinikhmn idaek witaminex witamindi witaminxi aelawitaminekh aelayngimmikhaaenanaephimetimidsahrbkarichkhxelsitramininphuthidumekhruxngdumaexlkxhxlduephimkhxelstiphxl khxelstiaeln khxelksaethrn khxelsesewaelmxangxingcnkhna burnaoxsth nlini phulthrphy 1965 Cholestyramine Resin Therapy for Hypercholesteremia Clinical and Metabolic Studies JAMA 192 4 289 93 doi 10 1001 jama 1965 03080170017004 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 03 02 subkhnemux December 12 2014 xphy rasdrwicitr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 04 subkhnemux December 13 2014 Wilcox C Turner J and Green J 2014 Systematic review the management of chronic diarrhoea due to bile acid malabsorption Aliment Pharmacol Ther 39 9 923 39 doi 10 1111 apt 12684 PMID 24602022 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Hofmann AF and Poley JR 1969 Cholestyramine treatment of diarrhea associated with ileal resection N Engl J Med 281 397 402 doi 10 1056 NEJM196908212810801 PMID 4894463 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Thompson KC Iredale JP 1996 Bezoars Implicated Drugs and Avoidance Strategies Drug Safety 281 2 85 93 doi 10 2165 00002018 199614020 00003 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Hofmann AF and Poley JR 1969 Cholestyramine Treatment of Diarrhea Associated with Ileal Resection N Engl J Med 14 2 397 402 doi 10 1056 NEJM196908212810801 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Wedlake L A Hern R Russell D Thomas K Walters JR Andreyev HJ 2009 Systematic review the prevalence of idiopathic bile acid malabsorption as diagnosed by SeHCAT scanning in patients with diarrhoea predominant irritable bowel syndrome Aliment Pharmacol Ther 30 7 707 417 doi 10 1111 j 1365 2036 2009 04081 x PMID 19570102 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Sciarretta G Furno A Mazzoni M Malaguti P 1992 Post Cholecystectomy Diarrhea Evidence of Bile Acid Malabsorption Assessed by SeHCAT Test American Journal of Gastroenterology 87 12 1852 PMID 1449156 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Danley T St Anna L 2011 Postcholecystectomy diarrhea What relieves it J Fam Pract 60 10 632c d PMID 21977493 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter George JD Magowan J 1971 Diarrhea after total and selective vagotomy Am J Dig Dis 16 7 635 40 PMID 5563217 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Gorbashko AI 1992 The pathogenesis diagnosis and treatment of postvagotomy diarrhea Vestn Khir Im I I Grek 148 3 254 62 PMID 8594740 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Stroehlein JR 2004 Treatment of Clostridium difficile Infection Curr Treat Options Gastroenterol 7 3 235 9 PMID 15149585 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Wong SP Chu CM Kan CH Tsui HS Ng WL 2009 Successful treatment of leflunomide induced acute pneumonitis with cholestyramine wash out therapy J Clin Rheumatol 15 8 389 92 doi 10 1097 RHU 0b013e3181c3f87e PMID 19955995 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Hill CL 2004 Leflunomide induced peripheral neuropathy rapid resolution with cholestyramine wash out Rheumatology 43 6 809 doi 10 1093 rheumatology keh150 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter Rankin KA Alroy KA Kudela RM Oates SC Murray MJ Miller MA 2013 Rankin KA Alroy KA Kudela RM Oates SC Murray MJ and Miller MA 2013 Treatment of Cyanobacterial Microcystin Toxicosis Using Oral Cholestyramine Case Report of a Dog from Montana Toxins Basel 5 6 1051 63 doi 10 3390 toxins5061051 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint uses authors parameter White CM Gailey RA Lippe S 1996 MIMS con Singapore khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 04 subkhnemux December 12 2015 Fun LW Evangelista LF Francisco JC Flores RMC Fajayan LJA editors MIMS com Thailand 123rd edition Bangkok TIMS Thailand 2011 p 64 ISSN 1686 3666 Lacy FC Armstrong LL Goldman PM Lance LL editors Drug Information Handbook with international trade name index 18th edition New Tork Lexi Comp 2014 p 585 588 ISBN 978 1 59195 255 8 Isaac B Questran PDR Health com subkhnemux December 12 2014 Siamhealth net Cholestyramine subkhnemux December 12 2015 Merten DF Grossman H 1980 Intestinal obstruction associated with cholestyramine therapy American Journal of Roentgenology 134 4 827 8 doi 10 2214 ajr 134 4 827 PMID 6767374 Jacobson TA Armani A McKenney JM Guyton JR 2007 Safety considerations with gastrointestinally active lipid lowering drugs Am J Cardiol 99 6A 47C 55C doi 10 1016 j amjcard 2006 11 022 PMID 17368279 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk aehlngkhxmulxunU S National Library of Medicine Drug Information Portal Cholestyramine