โปรตีน (อังกฤษ: protein) เป็นสารประกอบชีวเคมี ซึ่งประกอบด้วยพอลิเพปไทด์หนึ่งสายหรือมากกว่า ที่พับกันเป็นรูปทรงกลมหรือเส้นใย โดยทำหน้าที่อำนวยกระบวนการทางชีววิทยา พอลิเพปไทด์เป็นพอลิเมอร์สายเดี่ยวที่เป็นเส้นตรงของกรดอะมิโนที่เชื่อมเข้ากันด้วยพันธะเพปไทด์ระหว่างหมู่และหมู่ของกรดอะมิโนเหลือค้าง (residue) ที่อยู่ติดกัน ลำดับกรดอะมิโนในโปรตีนกำหนดโดยลำดับของยีน ซึ่งเข้ารหัสในรหัสพันธุกรรม โดยทั่วไป รหัสพันธุกรรมประกอบด้วยกรดอะมิโนมาตรฐาน 20 ชนิด อย่างไรก็ดี สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจมีซีลีโนซิสตีอีน และไพร์โรไลซีนในกรณีของสิ่งมีชีวิตโดเมนอาร์เคียบางชนิด ในรหัสพันธุกรรมด้วย ไม่นานหรือระหว่างการสังเคราะห์ สารเหลือค้างในโปรตีนมักมีขั้นปรับแต่งทางเคมีโดยกระบวนการการปรับแต่งหลังทรานสเลชัน (posttranslational modification) ซึ่งเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี การจัดเรียง ความเสถียร กิจกรรม และที่สำคัญที่สุด หน้าที่ของโปรตีนนั้น บางครั้งโปรตีนมีกลุ่มที่มิใช่เพปไทด์ติดอยู่ด้วย ซึ่งสามารถเรียกว่า โปรสทีติกกรุป (prosthetic group) หรือโคแฟกเตอร์ โปรตีนยังสามารถทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุหน้าที่บางอย่าง และบ่อยครั้งที่โปรตีนมากกว่าหนึ่งชนิดรวมกันเพื่อสร้างโปรตีนเชิงซ้อนที่มีความเสถียร []
หนึ่งในลักษณะอันโดดเด่นที่สุดของพอลิเพปไทด์คือความสามารถจัดเรียงเป็นขั้นก้อนกลมได้ ขอบเขตซึ่งโปรตีนพับเข้าไปเป็นโครงสร้างตามนิยามนั้น แตกต่างกันไปมาก โปรตีนบางชนิดพับตัวไปเป็นโครงสร้างแข็งอย่างยิ่งโดยมีการผันแปรเล็กน้อย เป็นแบบที่เรียกว่า โครงสร้างปฐมภูมิ ส่วนโปรตีนชนิดอื่นนั้นมีการจัดเรียงใหม่ขนานใหญ่จากโครงสร้างหนึ่งไปยังอีกโครงสร้างหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างนี้มักเกี่ยวข้องกับการส่งต่อสัญญาณ ดังนั้น โครงสร้างโปรตีนจึงเป็นสื่อกลางซึ่งกำหนดหน้าที่ของโปรตีนหรือกิจกรรมของเอนไซม์ โปรตีนทุกชนิดไม่จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการจัดเรียงก่อนทำหน้าที่ เพราะยังมีโปรตีนบางชนิดทำงานในสภาพที่ยังไม่ได้จัดเรียง
เช่นเดียวกับโมเลกุลใหญ่ (macromolecules) อื่น ดังเช่น พอลิแซกคาไรด์และกรดนิวคลีอิก โปรตีนเป็นส่วนสำคัญของสิ่งมีชีวิตและมีส่วนเกี่ยวข้องในแทบทุกกระบวนการในเซลล์ โปรตีนจำนวนมากเป็นเอนไซม์ซึ่งเร่งปฏิกิริยาทางชีวเคมี และสำคัญต่อกระบวนการเมตาบอลิซึม โปรตีนยังมีหน้าที่ด้านโครงสร้างหรือเชิงกล อาทิ แอกตินและไมโอซินในกล้ามเนื้อและโปรตีนในไซโทสเกเลตอน ซึ่งสร้างเป็นระบบโครงสร้างค้ำจุนรูปร่างของเซลล์ โปรตีนอื่นสำคัญในการส่งสัญญาณของเซลล์ การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน การยึดติดกันของเซลล์ และวัฏจักรเซลล์ โปรตีนยังจำเป็นในการกินอาหารของสัตว์ เพราะสัตว์ไม่สามารถสังเคราะห์กรดอะมิโนทั้งหมดตามที่ต้องการได้ และต้องได้รับกรดอะมิโนที่สำคัญจากอาหาร ผ่านกระบวนการย่อยอาหาร สัตว์จะแตกโปรตีนที่ถูกย่อยเป็นกรดอะมิโนอิสระซึ่งจะถูกใช้ในเมตาบอลิซึมต่อไป
โปรตีนอธิบายเป็นครั้งแรกโดยนักเคมีชาวดัตช์ Gerardus Johannes Mulder และถูกตั้งชื่อโดยนักเคมีชาวสวีเดน Jöns Jacob Berzelius ใน ค.ศ. 1838 นักวิทยาศาสตร์ด้านอาหารยุคแรกอย่าง Carl von Voit ชาวเยอรมัน เชื่อว่าโปรตีนเป็นสารอาหารที่สำคัญที่สุดในการคงโครงสร้างของร่างกาย เพราะมีการเชื่อกันทั่วไปว่า "เนื้อสร้างเนื้อ" บทบาทศูนย์กลางของโปรตีนในฐานะเอนไซม์ในสิ่งมีชีวิตยังไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่ง ค.ศ. 1926 เมื่อเจมส์ บี. ซัมเนอร์ แสดงให้เห็นว่าเอนไซม์แท้จริงแล้วเป็นโปรตีน โปรตีนชนิดแรกที่ถูกจัดลำดับคือ อินซูลิน โดยเฟรเดอริก แซงเจอร์ ผู้ซึ่งได้รับรางวัลโนเบลจากความสำเร็จนี้ใน ค.ศ. 1958 โครงสร้างโปรตีนแบบแรกที่สามารถอธิบายได้คือ ฮีโมโกลบินและไมโอโกลบิน โดย Max Perutz และเซอร์ John Cowdery Kendrew ตามลำดับ ใน ค.ศ. 1958 โครงสร้างสามมิติของโปรตีนทั้งสองเดิมพิจารณาโดยการวิเคราะห์การเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ Perutz และ Kendrew ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำ ค.ศ. 1962 ร่วมกันสำหรับการค้นพบเหล่านี้
หน้าที่
- โปรตีนหลายชนิดทำหน้าที่เป็นเอนไซม์หรือหน่วยย่อยของเอนไซม์
- โปรตีนทำหน้าที่ทางด้านโครงสร้าง เช่น ระบบเส้นใยของเซลล์ (cytoskeleton) ผม เส้นไหม
- โปรตีนที่ควบคุมการเคลื่อนไหว เช่น แอกติน ไมโอซิน
- เป็นภูมิคุ้มกันคอยปกป้องร่างกายจากสิ่งแวดล้อม เช่น แอนติบอดี
- ขนส่งสารภายในระบบร่างกาย เช่น ฮีโมโกลบิน
- เป็นแหล่งสำรองพลังงานยามขาดแคลน เช่นโปรตีนในเมล็ดข้าวและน้ำนม
- โปรตีนที่เป็นฮอร์โมน
- โปรตีนให้ความหวานในพืช
- โปรตีนป้องกันการแข็งตัวของเลือดในปลาที่อยู่ในแถบขั้วโลก
- โปรตีนช่วยสร้างเซลล์เนื้อเยื่อใหม่
โครงสร้างของโปรตีน
ลำดับของกรดอะมิโนจะเป็นตัวกำหนดโครงสร้างและการทำงานของโปรตีนนั้นๆ โดยทั่วไป โปรตีนมีโครงสร้างสามมิติสี่ระดับด้วยกันคือ
- โครงสร้างปฐมภูมิ เป็นโครงสร้างที่แสดงพันธะระหว่างกรดอะมิโนแต่ละตัว
- โครงสร้างทุติยภูมิ เป็นโครงสร้างที่แสดงการจัดเรียงตัวของกรดอะมิโนที่อยู่ใกล้กัน โปรตีนทุกชนิดจะมีโครงสร้างระดับนี้ โดยทั่วไปมีสองแบบคือ แบบ อัลฟาเฮลิก สายเพปไทด์ขดเป็นเกลียว กับแบบเบตา สายเพปไทด์อยู่ในรูปซิกแซก
- โครงสร้างตติยภูมิ แสดงการจัดตัวของกรดอะมิโนตลอดทั้งสาย พบในโปรตีนที่เป็นก้อน การจับตัวเป็นกลุ่มก้อนของสายโพลีเพปไทด์นั้นขึ้นกับลำดับกรดอะมิโนและสารอื่นๆที่เข้ามาจับ
- โครงสร้างจตุตถภูมิ แสดงการจับตัวระหว่างสายโพลีเพปไทด์ พบในโปรตีนที่ประกอบด้วยหน่วยย่อย (subunit) โดยแต่ละหน่วยย่อยคือสายโพลีเพปไทด์หนึ่งเส้น การจัดตัวขึ้นกับลำดับกรดอะมิโนและสารอื่นๆที่เข้ามาจับเช่นเดียวกัน
โปรตีนคอนจูเกต
โปรตีนบางชนิดจะมีหมู่อื่นๆนอกจากกรดอะมิโนเข้ามาจับ โปรตีนนี้เรียกว่า (conjugated protein) ส่วนหมู่ที่มาจับเรียกว่า (prosthetic group) ตัวอย่างโปรตีนเหล่านี้ได้แก่
- ไลโปโปรตีน โปรตีนจับกับไขมัน
- ไกลโคโปรตีน โปรตีนจับกับคาร์โบไฮเดรต
- โปรตีนจับกับหมู่ฟอสเฟต
- โปรตีนจับกับ (heme)
- โปรตีนจับกับฟลาวิน นิวคลีโอไทด์ (Flavin nucleotide) เช่น (succinate dehydrogenase)
- เมทัลโลโปรตีน โปรตีนจับกับโลหะเช่น (จับกับ Fe) (จับกับ Zn) เป็นต้น
อ้างอิง
- Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth
- Branden C, Tooze J. (1999). Introduction to Protein Structure. New York: Garland Pub. ISBN .
- Murray RF, Harper HW, Granner DK, Mayes PA, Rodwell VW. (2006). Harper's Illustrated Biochemistry. New York: Lange Medical Books/McGraw-Hill. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Van Holde KE, Mathews CK. (1996). Biochemistry. Menlo Park, Calif: Benjamin/Cummings Pub. Co., Inc. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Protein Songs (Stuart Mitchell - DNA Music Project), 'When a "tape" of mRNA passes through the "playing head" of a ribosome, the "notes" produced are amino acids and the pieces of music they make up are proteins.'
ฐานข้อมูลและโครงการ
- Comparative Toxicogenomics Database curates protein-chemical interactions, as well as gene/protein-disease relationships and chemical-disease relationships.
- Bioinformatic Harvester[] A Meta search engine (29 databases) for gene and protein information.
- The Protein Databank (see also PDB Molecule of the Month 2020-07-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, presenting short accounts on selected proteins from the PDB)
- Proteopedia - Life in 3D: rotatable, zoomable 3D model with wiki annotations for every known protein molecular structure.
- UniProt the Universal Protein Resource 2008-06-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Human Protein Atlas
- NCBI Entrez Protein database
- NCBI Protein Structure database
- Human Protein Reference Database 2006-04-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Human Proteinpedia 2007-03-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Folding@Home (Stanford University) 2012-09-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
เว็บไซต์ทางการศึกษา
- UC Berkeley video lecture 2010-03-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน on proteins
- Proteins: Biogenesis to Degradation - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology 2005-02-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
oprtin xngkvs protein epnsarprakxbchiwekhmi sungprakxbdwyphxliephpithdhnungsayhruxmakkwa thiphbknepnrupthrngklmhruxesniy odythahnathixanwykrabwnkarthangchiwwithya phxliephpithdepnphxliemxrsayediywthiepnesntrngkhxngkrdxamionthiechuxmekhakndwyphnthaephpithdrahwanghmuaelahmukhxngkrdxamionehluxkhang residue thixyutidkn ladbkrdxamioninoprtinkahndodyladbkhxngyin sungekharhsinrhsphnthukrrm odythwip rhsphnthukrrmprakxbdwykrdxamionmatrthan 20 chnid xyangirkdi singmichiwitbangchnidxacmisilionsistixin aelaiphrorilsininkrnikhxngsingmichiwitodemnxarekhiybangchnid inrhsphnthukrrmdwy imnanhruxrahwangkarsngekhraah sarehluxkhanginoprtinmkmikhnprbaetngthangekhmiodykrabwnkarkarprbaetnghlngthranselchn posttranslational modification sungepliynaeplngkhunsmbtithangkayphaphaelathangekhmi karcderiyng khwamesthiyr kickrrm aelathisakhythisud hnathikhxngoprtinnn bangkhrngoprtinmiklumthimiichephpithdtidxyudwy sungsamartheriykwa oprsthitikkrup prosthetic group hruxokhaefketxr oprtinyngsamarththanganrwmknephuxbrrluhnathibangxyang aelabxykhrngthioprtinmakkwahnungchnidrwmknephuxsrangoprtinechingsxnthimikhwamesthiyr txngkarxangxing phaph 3 mitikhxngimoxoklbin oprtinchnidhnung hnunginlksnaxnoddednthisudkhxngphxliephpithdkhuxkhwamsamarthcderiyngepnkhnkxnklmid khxbekhtsungoprtinphbekhaipepnokhrngsrangtamniyamnn aetktangknipmak oprtinbangchnidphbtwipepnokhrngsrangaekhngxyangyingodymikarphnaeprelknxy epnaebbthieriykwa okhrngsrangpthmphumi swnoprtinchnidxunnnmikarcderiyngihmkhnanihycakokhrngsranghnungipyngxikokhrngsranghnung karepliynaeplngokhrngsrangnimkekiywkhxngkbkarsngtxsyyan dngnn okhrngsrangoprtincungepnsuxklangsungkahndhnathikhxngoprtinhruxkickrrmkhxngexnism oprtinthukchnidimcaepntxngxasykrabwnkarcderiyngkxnthahnathi ephraayngmioprtinbangchnidthanganinsphaphthiyngimidcderiyng echnediywkbomelkulihy macromolecules xun dngechn phxliaeskkhairdaelakrdniwkhlixik oprtinepnswnsakhykhxngsingmichiwitaelamiswnekiywkhxnginaethbthukkrabwnkarinesll oprtincanwnmakepnexnismsungerngptikiriyathangchiwekhmi aelasakhytxkrabwnkaremtabxlisum oprtinyngmihnathidanokhrngsranghruxechingkl xathi aexktinaelaimoxsininklamenuxaelaoprtininisothsekeltxn sungsrangepnrabbokhrngsrangkhacunruprangkhxngesll oprtinxunsakhyinkarsngsyyankhxngesll kartxbsnxngkhxngphumikhumkn karyudtidknkhxngesll aelawtckresll oprtinyngcaepninkarkinxaharkhxngstw ephraastwimsamarthsngekhraahkrdxamionthnghmdtamthitxngkarid aelatxngidrbkrdxamionthisakhycakxahar phankrabwnkaryxyxahar stwcaaetkoprtinthithukyxyepnkrdxamionxisrasungcathukichinemtabxlisumtxip oprtinxthibayepnkhrngaerkodynkekhmichawdtch Gerardus Johannes Mulder aelathuktngchuxodynkekhmichawswiedn Jons Jacob Berzelius in kh s 1838 nkwithyasastrdanxaharyukhaerkxyang Carl von Voit chaweyxrmn echuxwaoprtinepnsarxaharthisakhythisudinkarkhngokhrngsrangkhxngrangkay ephraamikarechuxknthwipwa enuxsrangenux bthbathsunyklangkhxngoprtininthanaexnisminsingmichiwityngimidrbkaryxmrbcnkrathng kh s 1926 emuxecms bi smenxr aesdngihehnwaexnismaethcringaelwepnoprtin oprtinchnidaerkthithukcdladbkhux xinsulin odyefredxrik aesngecxr phusungidrbrangwloneblcakkhwamsaercniin kh s 1958 okhrngsrangoprtinaebbaerkthisamarthxthibayidkhux hiomoklbinaelaimoxoklbin ody Max Perutz aelaesxr John Cowdery Kendrew tamladb in kh s 1958 okhrngsrangsammitikhxngoprtinthngsxngedimphicarnaodykarwiekhraahkareliywebnkhxngrngsiexks Perutz aela Kendrew idrbrangwloneblsakhaekhmipraca kh s 1962 rwmknsahrbkarkhnphbehlanihnathioprtinhlaychnidthahnathiepnexnismhruxhnwyyxykhxngexnism oprtinthahnathithangdanokhrngsrang echn rabbesniykhxngesll cytoskeleton phm esnihm oprtinthikhwbkhumkarekhluxnihw echn aexktin imoxsin epnphumikhumknkhxypkpxngrangkaycaksingaewdlxm echn aexntibxdi khnsngsarphayinrabbrangkay echn hiomoklbin epnaehlngsarxngphlngnganyamkhadaekhln echnoprtininemldkhawaelananm oprtinthiepnhxromn oprtinihkhwamhwaninphuch oprtinpxngknkaraekhngtwkhxngeluxdinplathixyuinaethbkhwolk oprtinchwysrangesllenuxeyuxihmokhrngsrangkhxngoprtinladbkhxngkrdxamioncaepntwkahndokhrngsrangaelakarthangankhxngoprtinnn odythwip oprtinmiokhrngsrangsammitisiradbdwyknkhux okhrngsrangpthmphumi epnokhrngsrangthiaesdngphntharahwangkrdxamionaetlatw okhrngsrangthutiyphumi epnokhrngsrangthiaesdngkarcderiyngtwkhxngkrdxamionthixyuiklkn oprtinthukchnidcamiokhrngsrangradbni odythwipmisxngaebbkhux aebb xlfaehlik sayephpithdkhdepnekliyw kbaebbebta sayephpithdxyuinrupsikaesk okhrngsrangttiyphumi aesdngkarcdtwkhxngkrdxamiontlxdthngsay phbinoprtinthiepnkxn karcbtwepnklumkxnkhxngsayophliephpithdnnkhunkbladbkrdxamionaelasarxunthiekhamacb okhrngsrangctutthphumi aesdngkarcbtwrahwangsayophliephpithd phbinoprtinthiprakxbdwyhnwyyxy subunit odyaetlahnwyyxykhuxsayophliephpithdhnungesn karcdtwkhunkbladbkrdxamionaelasarxunthiekhamacbechnediywknoprtinkhxncuektoprtinbangchnidcamihmuxunnxkcakkrdxamionekhamacb oprtinnieriykwa conjugated protein swnhmuthimacberiykwa prosthetic group twxyangoprtinehlaniidaek ilopoprtin oprtincbkbikhmn iklokhoprtin oprtincbkbkharobihedrt oprtincbkbhmufxseft oprtincbkb heme oprtincbkbflawin niwkhlioxithd Flavin nucleotide echn succinate dehydrogenase emthloloprtin oprtincbkbolhaechn cbkb Fe cbkb Zn epntnxangxingLehninger A L Nelson D L and Cox M M 1993 Principle of Biochemistry 2nd ed New York Worth Branden C Tooze J 1999 Introduction to Protein Structure New York Garland Pub ISBN 0 8153 2305 0 Murray RF Harper HW Granner DK Mayes PA Rodwell VW 2006 Harper s Illustrated Biochemistry New York Lange Medical Books McGraw Hill ISBN 0 07 146197 3 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Van Holde KE Mathews CK 1996 Biochemistry Menlo Park Calif Benjamin Cummings Pub Co Inc ISBN 0 8053 3931 0 aehlngkhxmulxunProtein Songs Stuart Mitchell DNA Music Project When a tape of mRNA passes through the playing head of a ribosome the notes produced are amino acids and the pieces of music they make up are proteins thankhxmulaelaokhrngkar Comparative Toxicogenomics Database curates protein chemical interactions as well as gene protein disease relationships and chemical disease relationships Bioinformatic Harvester lingkesiy A Meta search engine 29 databases for gene and protein information The Protein Databank see also PDB Molecule of the Month 2020 07 24 thi ewyaebkaemchchin presenting short accounts on selected proteins from the PDB Proteopedia Life in 3D rotatable zoomable 3D model with wiki annotations for every known protein molecular structure UniProt the Universal Protein Resource 2008 06 08 thi ewyaebkaemchchin Human Protein Atlas NCBI Entrez Protein database NCBI Protein Structure database Human Protein Reference Database 2006 04 24 thi ewyaebkaemchchin Human Proteinpedia 2007 03 14 thi ewyaebkaemchchin Folding Home Stanford University 2012 09 08 thi ewyaebkaemchchinewbistthangkarsuksa UC Berkeley video lecture 2010 03 26 thi ewyaebkaemchchin on proteins Proteins Biogenesis to Degradation The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology 2005 02 19 thi ewyaebkaemchchinduephimchiwekhmi krdxamion exnismbthkhwamchiwekhmi ekhmixinthriy aelaomelkulchiwphaphniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk