บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ(มกราคม 2556) |
ยฺหวิดเพ็ง (Jyutping) เป็นระบบการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษากวางตุ้ง พัฒนาโดย (LSHK) ซึ่งเป็นกลุ่มวิชาการในปี 1993 ระบบนี้มีชื่อทางการคือ แบบแผนการถอดภาษากวางตุ้งด้วยอักษรโรมันสมาคมภาษาศาสตร์ฮ่องกง โดยทางสมาคมได้สนับสนุนและส่งเสริมการใช้ระบบการถอดเป็นอักษรโรมันระบบนี้
ยฺหวิดเพ็ง | |||||||||||||||||||||||||
การถอดเป็นอักษรโรมันแบบยฺหวิดเพ็ง | |||||||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 粵拼 | ||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 粤拼 | ||||||||||||||||||||||||
ยฺหวิดเพ็ง | Jyut6ping3 | ||||||||||||||||||||||||
กวางตุ้ง | Yuhtping | ||||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | การสะกดภาษาเยฺว่ | ||||||||||||||||||||||||
|
คำว่า Jyutping (มาจากการถอดอักษรจีน 粵拼 เป็นอักษรโรมันแบบยฺหวิดเพ็งเอง) เป็นคำที่ย่อมาจาก 2 คำ ประกอบด้วย Jyut6jyu5 ยฺหวิดยฺหวี (粵語 หมายถึง "ภาษาเยฺว่") และ ping3jam1 เพ็งยั้ม (拼音 หมายถึง "สะกดเสียง" ซึ่งคำนี้ในภาษาจีนกลางออกเสียงว่า "พินอิน")
แม้จะเป็นระบบการถอดเป็นอักษรโรมันเพื่อแสดงวิธีการออกเสียง แต่ก็มีผู้ที่สนใจบางคนใช้ยฺหวิดเพ็งเพื่อหยั่งเสียงการเขียนภาษากวางตุ้งให้เป็นภาษาที่อ่านตามตัวอักษร (alphabetic language) โดยจะยกระดับจากตัวเขียนเพื่อช่วยการออกเสียงไปเป็นภาษาเขียนที่มีผลใช้บังคับจริง
ประวัติ
ระบบยฺหวิดเพ็งถือเป็นระบบที่ปลีกแยกจากระบบการถอดภาษากวางตุ้งด้วยอักษรโรมันแบบก่อนหน้านี้ทั้งหมด (ประมาณ 12 ระบบ เช่น งานริเริ่มของโรเบิร์ต มอร์ริสันในปี 1828 และ รวมถึงระบบที่ใช้กันแพร่หลายอย่าง และ) โดยนำอักษร z และ c มาใช้ในต้นพยางค์ และ eo และ oe ในท้ายพยางค์ รวมถึงการแทนที่อักษรต้นพยางค์ y ซึ่งใช้ในระบบก่อนหน้าทั้งหมดด้วยอักษร j
ในปี 2018 ระบบยฺหวิดเพ็งได้รับการปรับปรุงโดยเพิ่มอักษรท้ายพยางค์ -a และ -oet เพื่อสะท้อนว่าเป็นพยางค์ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบเสียงภาษากวางตุ้งในปี 1997 โดยกลุ่มงานยฺหวิดเพ็งของสมาคมภาษาศาสตร์ฮ่องกง
ต้นพยางค์
b /p/ 巴 | p /pʰ/ 怕 | m /m/ 媽 | f /f/ 花 | |
d /t/ 打 | t /tʰ/ 他 | n /n/ 那 | l /l/ 啦 | |
g /k/ 家 | k /kʰ/ 卡 | ng /ŋ/ 牙 | h /h/ 蝦 | |
gw /kʷ/ 瓜 | kw /kʷʰ/ 誇 | w /w/ 蛙 | ||
z /ts/ 渣 | c /tsʰ/ 叉 | s /s/ 沙 | j /j/ 也 |
ท้ายพยางค์
aa /aː/ 沙 | aai /aːi̯/ 徙 | aau /aːu̯/ 梢 | aam /aːm/ 三 | aan /aːn/ 山 | aang /aːŋ/ 坑 | aap /aːp̚/ 圾 | aat /aːt̚/ 剎 | aak /aːk̚/ 客 |
a /ɐ/ [1] | ai /ɐi̯/ 西 | au /ɐu̯/ 收 | am /ɐm/ 心 | an /ɐn/ 新 | ang /ɐŋ/ 笙 | ap /ɐp̚/ 濕 | at /ɐt̚/ 失 | ak /ɐk̚/ 塞 |
e /ɛː/ 些 | ei /ei̯/ 四 | eu /ɛːu̯/ 掉[2] | em /ɛːm/ 舐[3] | eng /ɛːŋ/ 鄭 | ep /ɛːp̚/ 夾[4] | ek /ɛːk̚/ 石 | ||
i /iː/ 詩 | iu /iːu̯/ 消 | im /iːm/ 閃 | in /iːn/ 先 | ing /ɪŋ/ 星 | ip /iːp̚/ 攝 | it /iːt̚/ 洩 | ik /ɪk/ 識 | |
o /ɔː/ 疏 | oi /ɔːy̯/ 開 | ou /ou̯/ 蘇 | on /ɔːn/ 看 | ong /ɔːŋ/ 康 | ot /ɔːt̚/ 喝 | ok /ɔːk̚/ 索 | ||
u /uː/ 夫 | ui /uːy̯/ 灰 | un /uːn/ 寬 | ung /ʊŋ/ 鬆 | ut /uːt̚/ 闊 | uk /ʊk/ 叔 | |||
eoi /ɵy̯/ 需 | eon /ɵn/ 詢 | eot /ɵt̚/ 摔 | ||||||
oe /œː/ 鋸 | oeng /œːŋ/ 商 | oet /œːt̚/ [5] | oek /œːk̚/ 削 | |||||
yu /yː/ 書 | yun /yːn/ 孫 | yut /yːt̚/ 雪 | ||||||
m /m̩/ 唔 | ng /ŋ̩/ 吳 |
- เฉพาะอักษรท้ายพยางค์ m และ ng เท่านั้นที่สามารถเขียนโดด ๆ ได้ ในฐานะพยางค์เสียงนาสิก
- ^ ^ ^ เป็นการออกเสียงคำเหล่านี้ในแบบภาษาพูดที่ไม่เป็นทางการ
- ^ ใช้ละเสียงในภาษาพูดที่ไม่เป็นทางการ เช่น a6 ใน 四十四 (sei3a6 sei3) ซึ่งมาจาก sei3 sap6 sei3
- ^ ใช้เป็นคำเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น oet6 เสียงเรอ หรือ goet4 เสียงกรน
วรรณยุกต์
ภาษาจีนกวางตุ้งมีวรรณยุกต์ 9 เสียง 6 เสียง (contour tone) อย่างไรก็ตาม มี 3 ใน 9 เสียงที่เป็น entering tone (จีน: 入聲; ยฺหวิดเพ็ง: jap6sing1) ซึ่งปรากฏเฉพาะในพยางค์ที่ลงท้ายด้วย p, t, และ k เท่านั้น โดยไม่มีหมายเลขเพื่อบ่งบอกเสียงวรรณยุกต์เหล่านี้แยกต่างหาก (แต่มีใน ซึ่งจะแสดงในวงเล็บในตารางด้านล่าง) ประโยคช่วยจำ คือ「風水到時我哋必發達」 fung1 seoi2 dou3 si4 ngo5 dei6 bit1 faat3 daat6 อ่านว่า ฟงเสยโตวสี่หงอเต่ย์ปิ๊ดฝาดดาด หมายถึง “เมื่อฮวงจุ้ยมาเราจะเจริญรุ่งเรือง”
ชื่อวรรณยุกต์ | ยั้มผิ่ง jam1ping4 (陰平) | ยั้มเสิง jam1soeng5 (陰上) | ยั้มโฮย jam1heoi3 (陰去) | เหยิ่งผิ่ง joeng4ping4 (陽平) | เหยิ่งเสิง joeng4soeng5 (陽上) | เหยิ่งโฮย joeng4heoi3 (陽去) | โก๊วยั้มหยับ gou1jam1jap6 (高陰入) | ไต๊ยั้มหยับ dai1jam1jap6 (低陰入) | เหยิ่งหยับ joeng4jap6 (陽入) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
หมายเลขวรรณยุกต์ | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 1 (7) | 3 (8) | 6 (9) |
ระดับเสียง | สูงเรียบ หรือ สูงตก | กลางยก | กลางเรียบ (ตรงกับเสียงสามัญในภาษาไทย) | ต่ำตก | ต่ำยก | ต่ำเรียบ | สูงเรียบ พยางค์หยุด | กลางเรียบ พยางค์หยุด | ต่ำเรียบ พยางค์หยุด |
IPA | ˥ 55 / ˥˧ 53 | ˧˥ 35 | ˧ 33 | ˨˩ 21 / ˩ 11 | ˩˧ 13 | ˨ 22 | ˥ 5 | ˧ 3 | ˨ 2 |
ตัวอย่างอักษร | 分/詩 | 粉/史 | 訓/試 | 焚/時 | 奮/市 | 份/是 | 忽/識 | 發/錫 | 佛/食 |
ตัวอย่าง | fan1/si1 | fan2/si2 | fan3/si3 | fan4/si4 | fan5/si5 | fan6/si6 | fat1/7/sik1/7 | faat3/8/sek3/8 | fat6/9/sik6/9 |
ตัวอย่าง
จีนตัวเต็ม | จีนตัวย่อ | ถอดเป็นอักษรโรมัน |
---|---|---|
廣州話 | 广州话 | Gwong2 zau1 waa2 |
粵語 | 粤语 | Jyut6 jyu5 |
你好 | 你好 | nei5 hou2 |
ตัวอย่างการถอดเป็นอักษรโรมันแบบยฺหวิดเพ็งจากความตอนหนึ่งใน
春曉 | Ceon1 Hiu2 Maang6 Hou6 Jin4 |
---|---|
春眠不覺曉, | Ceon1 min4 bat1 gok3 hiu2, |
處處聞啼鳥。 | cyu3 cyu3 man4 tai4 niu5. |
夜來風雨聲, | Je6 loi4 fung1 jyu5 sing1, |
花落知多少? | faa1 lok6 zi1 do1 siu2? |
อ้างอิง
- . The Linguistic Society of Hong Kong. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2013. สืบค้นเมื่อ 3 January 2016.
- Kataoka, Shin; Lee, Cream (2008). "A System without a System: Cantonese Romanization Used in Hong Kong Place and Personal Names". Hong Kong Journal of Applied Linguistics: 94–98.
- Linguistic Society of Hong Kong. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-06. สืบค้นเมื่อ 2020-10-07.
- Matthews, S.; Yip, V. Cantonese: A Comprehensive Grammar; London: Routledge, 1994
หนังสืออ่านเพิ่ม
- Zee, Eric (1999). Handbook of the International Phonetic Association. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 58–60. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Jyutping Pronunciation Guide
- 粵語拼盤 2006-02-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: Learning the phonetic system of Cantonese
- Chinese Character Database (Phonologically Disambiguated According to the Cantonese Dialect)
- The CantoDict Project is a dedicated Cantonese-Mandarin-English online dictionary which uses Jyutping by default
- MDBG free online Chinese-English dictionary (supports both Jyutping and Yale romanization)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul y hwidephng khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR mkrakhm 2556 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir y hwidephng Jyutping epnrabbkarthxdepnxksrormnsahrbphasakwangtung phthnaody LSHK sungepnklumwichakarinpi 1993 rabbnimichuxthangkarkhux aebbaephnkarthxdphasakwangtungdwyxksrormnsmakhmphasasastrhxngkng odythangsmakhmidsnbsnunaelasngesrimkarichrabbkarthxdepnxksrormnrabbniy hwidephngkarthxdepnxksrormnaebby hwidephngxksrcintwetm粵拼xksrcintwyx粤拼y hwidephngJyut6ping3kwangtungYuhtpingkhwamhmaytamtwxksrkarsakdphasaey wkarthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxinYuepincuxinㄩㄝˋ ㄆㄧㄣkwy hwihlwhmacuxYuehpinewd iclsYueh pʽin IPA ɥe pʰi n phasakwangtungmatrthanxksrormnaebbeylYuhtpingIPA jỳːt pʰeŋ y hwidephngJyut6ping3xksrormnkwangtungyud6 ping3 khawa Jyutping macakkarthxdxksrcin 粵拼 epnxksrormnaebby hwidephngexng epnkhathiyxmacak 2 kha prakxbdwy Jyut6jyu5 y hwidy hwi 粵語 hmaythung phasaey w aela ping3jam1 ephngym 拼音 hmaythung sakdesiyng sungkhaniinphasacinklangxxkesiyngwa phinxin aemcaepnrabbkarthxdepnxksrormnephuxaesdngwithikarxxkesiyng aetkmiphuthisnicbangkhnichy hwidephngephuxhyngesiyngkarekhiynphasakwangtungihepnphasathixantamtwxksr alphabetic language odycaykradbcaktwekhiynephuxchwykarxxkesiyngipepnphasaekhiynthimiphlichbngkhbcringprawtirabby hwidephngthuxepnrabbthiplikaeykcakrabbkarthxdphasakwangtungdwyxksrormnaebbkxnhnanithnghmd praman 12 rabb echn nganrierimkhxngorebirt mxrrisninpi 1828 aela rwmthungrabbthiichknaephrhlayxyang aela odynaxksr z aela c maichintnphyangkh aela eo aela oe inthayphyangkh rwmthungkaraethnthixksrtnphyangkh y sungichinrabbkxnhnathnghmddwyxksr j inpi 2018 rabby hwidephngidrbkarprbprungodyephimxksrthayphyangkh a aela oet ephuxsathxnwaepnphyangkhthiidrbkaryxmrbwaepnswnhnungkhxngrabbesiyngphasakwangtunginpi 1997 odyklumngany hwidephngkhxngsmakhmphasasastrhxngkngtnphyangkhb p 巴 p pʰ 怕 m m 媽 f f 花d t 打 t tʰ 他 n n 那 l l 啦g k 家 k kʰ 卡 ng ŋ 牙 h h 蝦gw kʷ 瓜 kw kʷʰ 誇 w w 蛙z ts 渣 c tsʰ 叉 s s 沙 j j 也thayphyangkhaa aː 沙 aai aːi 徙 aau aːu 梢 aam aːm 三 aan aːn 山 aang aːŋ 坑 aap aːp 圾 aat aːt 剎 aak aːk 客a ɐ 1 ai ɐi 西 au ɐu 收 am ɐm 心 an ɐn 新 ang ɐŋ 笙 ap ɐp 濕 at ɐt 失 ak ɐk 塞e ɛː 些 ei ei 四 eu ɛːu 掉 2 em ɛːm 舐 3 eng ɛːŋ 鄭 ep ɛːp 夾 4 ek ɛːk 石i iː 詩 iu iːu 消 im iːm 閃 in iːn 先 ing ɪŋ 星 ip iːp 攝 it iːt 洩 ik ɪk 識o ɔː 疏 oi ɔːy 開 ou ou 蘇 on ɔːn 看 ong ɔːŋ 康 ot ɔːt 喝 ok ɔːk 索u uː 夫 ui uːy 灰 un uːn 寬 ung ʊŋ 鬆 ut uːt 闊 uk ʊk 叔 eoi ɵy 需 eon ɵn 詢 eot ɵt 摔 oe œː 鋸 oeng œːŋ 商 oet œːt 5 oek œːk 削yu yː 書 yun yːn 孫 yut yːt 雪 m m 唔 ng ŋ 吳 echphaaxksrthayphyangkh m aela ng ethannthisamarthekhiynodd id inthanaphyangkhesiyngnasik epnkarxxkesiyngkhaehlaniinaebbphasaphudthiimepnthangkar ichlaesiynginphasaphudthiimepnthangkar echn a6 in 四十四 sei3a6 sei3 sungmacak sei3 sap6 sei3 ichepnkhaeliynesiyngthrrmchati echn oet6 esiyngerx hrux goet4 esiyngkrnwrrnyuktphasacinkwangtungmiwrrnyukt 9 esiyng 6 esiyng contour tone xyangirktam mi 3 in 9 esiyngthiepn entering tone cin 入聲 y hwidephng jap6sing1 sungpraktechphaainphyangkhthilngthaydwy p t aela k ethann odyimmihmayelkhephuxbngbxkesiyngwrrnyuktehlaniaeyktanghak aetmiin sungcaaesdnginwngelbintarangdanlang praoykhchwyca khux 風水到時我哋必發達 fung1 seoi2 dou3 si4 ngo5 dei6 bit1 faat3 daat6 xanwa fngesyotwsihngxetypidfaddad hmaythung emuxhwngcuymaeracaecriyrungeruxng chuxwrrnyukt ymphing jam1ping4 陰平 ymesing jam1soeng5 陰上 ymohy jam1heoi3 陰去 ehyingphing joeng4ping4 陽平 ehyingesing joeng4soeng5 陽上 ehyingohy joeng4heoi3 陽去 okwymhyb gou1jam1jap6 高陰入 itymhyb dai1jam1jap6 低陰入 ehyinghyb joeng4jap6 陽入 hmayelkhwrrnyukt 1 2 3 4 5 6 1 7 3 8 6 9 radbesiyng sungeriyb hrux sungtk klangyk klangeriyb trngkbesiyngsamyinphasaithy tatk tayk taeriyb sungeriyb phyangkhhyud klangeriyb phyangkhhyud taeriyb phyangkhhyudIPA 55 53 35 33 21 11 13 22 5 3 2twxyangxksr 分 詩 粉 史 訓 試 焚 時 奮 市 份 是 忽 識 發 錫 佛 食twxyang fan1 si1 fan2 si2 fan3 si3 fan4 si4 fan5 si5 fan6 si6 fat1 7 sik1 7 faat3 8 sek3 8 fat6 9 sik6 9twxyangcintwetm cintwyx thxdepnxksrormn廣州話 广州话 Gwong2 zau1 waa2粵語 粤语 Jyut6 jyu5你好 你好 nei5 hou2 twxyangkarthxdepnxksrormnaebby hwidephngcakkhwamtxnhnungin 春曉 Ceon1 Hiu2 Maang6 Hou6 Jin4春眠不覺曉 Ceon1 min4 bat1 gok3 hiu2 處處聞啼鳥 cyu3 cyu3 man4 tai4 niu5 夜來風雨聲 Je6 loi4 fung1 jyu5 sing1 花落知多少 faa1 lok6 zi1 do1 siu2 xangxing The Linguistic Society of Hong Kong khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 26 April 2013 subkhnemux 3 January 2016 Kataoka Shin Lee Cream 2008 A System without a System Cantonese Romanization Used in Hong Kong Place and Personal Names Hong Kong Journal of Applied Linguistics 94 98 Linguistic Society of Hong Kong khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 01 06 subkhnemux 2020 10 07 Matthews S Yip V Cantonese A Comprehensive Grammar London Routledge 1994hnngsuxxanephimZee Eric 1999 Handbook of the International Phonetic Association Cambridge Cambridge University Press pp 58 60 ISBN 0521652367 aehlngkhxmulxunsthaniyxypraethscinsthaniyxyphasaJyutping Pronunciation Guide 粵語拼盤 2006 02 18 thi ewyaebkaemchchin Learning the phonetic system of Cantonese Chinese Character Database Phonologically Disambiguated According to the Cantonese Dialect The CantoDict Project is a dedicated Cantonese Mandarin English online dictionary which uses Jyutping by default MDBG free online Chinese English dictionary supports both Jyutping and Yale romanization