บทความนี้ เนื่องจากชื่อเป็นศัพท์เฉพาะทางของกายวิภาคศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถานยังไม่บัญญัติภาษาไทย หนังสือเฉพาะทางใช้ศัพท์อังกฤษ |
Bálint's syndrome เป็นกลุ่มอาการความเสียหายทางประสาทและจิตใจ 3 อย่างที่ไม่สามัญและยังไม่เป็นที่เข้าใจกันดี คือ
- ความไม่สามารถที่จะรับรู้วัตถุต่าง ๆ ในลานสายตาโดยสิ้นเชิง (simultanagnosia)
- ความยากลำบากในการตรึงตา (oculomotor apraxia)
- และความไม่สามารถในการขยับมือไปยังวัตถุหนึ่ง ๆ โดยใช้ตา (optic ataxia)
Bálint's syndrome | |
---|---|
ชื่ออื่น | Balint-Holmes syndrome, Optic ataxia-gaze apraxia-simultanagnosia syndrome |
Balint Syndrome | |
สาขาวิชา | ประสาทวิทยา, จักษุวิทยา, ทัศนมาตรศาสตร์ |
กลุ่มอาการนี้มีชื่อตามประสาทแพทย์ชาวออสโตร-ฮังกาเรียน น.พ. เรสโช แบลินต์ ผู้ระบุถึงอาการนี้เป็นคนแรกในปี ค.ศ. 1909
อาการนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งที่สุดอย่างฉับพลันเป็นผลจากโรคหลอดเลือดสมองกำเริบ 2 ครั้งหรือยิ่งกว่านั้นในเขตสมองเขตเดียวกัน (หรือใกล้ ๆ กัน) ในซีกสมองแต่ละซีก ดังนั้นจึงเป็นอาการที่ไม่เกิดขึ้นบ่อย นักวิจัยบางท่านกล่าวว่าเหตุที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุดในอาการนี้แบบสมบูรณ์แบบก็คือความดันโลหิตต่ำแบบฉับพลันและรุนแรง มีผลเป็นเนื้อตายเหตุขาดเลือดตรงส่วนเชื่อมต่อกันของสมองกลีบท้ายทอยและสมองกลีบข้าง (occipito-parietal) ในซีกสมองทั้งสองข้าง นอกจากนั้นแล้ว แม้ว่าจะพบยากยิ่งกว่านั้น ก็คือกรณีของอาการนี้ที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในโรคสมองเสื่อมเช่นโรคอัลไซเมอร์ หรือในอาการบาดเจ็บที่สมองตรงส่วนเชื่อมต่อกันในสมองเช่นกัน
การไม่ตระหนักถึงอาการนี้อาจนำไปสู่การวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ผิดพลาด และมีผลเป็นการบำบัดรักษาที่ไม่สมควรหรือไม่เพียงพอ ดังนั้น แพทย์รักษาพึงมีความคุ้นเคยกับอาการนี้และกับเหตุเกิดและอาการปรากฏต่าง ๆ
อาการ
อาการนี้สามารถลดสมรรถภาพทางร่างกายไปได้มากเพราะมีผลต่อ visuospatial skill (ทักษะเกี่ยวกับพื้นที่รอบตัวที่เห็นทางตา) การมองหา (visual scanning) และการใส่ใจทางตา เพราะว่าอาการมีผลเป็นความพิการอย่างสำคัญทางตาและทางภาษา จึงสามารถมีผลต่อความปลอดภัยของคนไข้ แม้ในเวลาที่อยู่ในบ้าน และอาจจะทำให้ไม่สามารถทำอาชีพได้ ในหลายกรณี อาการโดยสมบูรณ์ทั้งสามอย่าง คือ ความไม่สามารถที่จะรับรู้วัตถุต่าง ๆ ในลานสายตาโดยสิ้นเชิง (simultanagnosia) ความยากลำบากในการตรึงตา (oculomotor apraxia) และความไม่สามารถในการขยับมือไปยังวัตถุหนึ่ง ๆ โดยใช้ตา (optic ataxia) จะไม่ปรากฏจนกระทั่งคนไข้ได้รับการพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพ นักบำบัดโรคผู้ไม่คุ้นเคยกับอาการนี้อาจจะทำการวินิจฉัยผิดเมื่อคนไข้ไม่มีการเจริญคืบหน้าตามที่คาดหวังเพราะเหตุอาการ 3 อย่างเหล่านั้นว่า จะไม่เกิดประโยชน์จากการบำบัดรักษาที่ใช้กันทั่ว ๆ ไปอีกต่อไป เพราะธรรมชาติของอาการแต่ละอย่างจะเป็นตัวขัดขวางความก้าวหน้าแก่กันและกัน ยังต้องมีงานศึกษาวิจัยอีกมากเพื่อพัฒนาขั้นตอนการรักษาที่มุ่งบำบัดอาการทั้งหมดโดยเป็นกลุ่มเนื่องจากว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวพันกันเป็นอย่างยิ่ง
Simultanagnosia
Simultanagnosia เป็นความไม่สามารถที่จะรับรู้เหตุการณ์หรือวัตถุต่าง ๆ หลายอย่างพร้อม ๆ กันที่ปรากฏในลานสายตา คนไข้อาการนี้รับรู้โลกอย่างไม่สมบูรณ์ คือเป็นลำดับของวัตถุเดี่ยว ๆ ต่อ ๆ กันโดยไม่เห็นภาพรวมทั้งหมด
ความผิดปกติในการรับรู้พื้นที่รอบ ๆ ตัวเกี่ยวเนื่องกับความใส่ใจทางตา คือความสามารถที่มีในการระบุถึงวัตถุเดี่ยว ๆ ในสิ่งที่เห็น แต่ไม่สามารถระบุภาพโดยรวม เรียกว่า เป็นการหดตัวลงของหน้าต่าง gestalt ของคนไข้ ซึ่งก็คือหน้าต่างแห่งความใส่ใจทางตา โดยปกติแล้ว มนุษย์จะตรึงตาไปที่จุดต่าง ๆ ในสถานการณ์ทางสังคมเพราะว่าจุดต่าง ๆ เหล่านั้นช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของสถานการณ์นั้น ๆ ดังนั้น การฟื้นฟูสภาพอาการ simultanagnosia อาจจะต้องเกี่ยวข้องกับการขยายหน้าต่างความใส่ใจที่เกิดการหดตัวลง (ที่เป็นลักษณะเฉพาะของอาการนี้)
Simultanagnosia เป็นความบกพร่องทางการเห็นที่ลึกซึ้ง เพราะว่า เข้าไปทำลายสมรรถภาพในการรับรู้วัตถุหลาย ๆ อย่างในภาพ ๆ หนึ่ง ในขณะที่ไม่มีผลต่อความสามารถในการรู้จำวัตถุเดี่ยว ๆ ผลงานวิจัยหนึ่งเสนอว่า simultanagnosia อาจเกิดจากการแข่งขันแบบสุด ๆ ระหว่าง (การรับรู้) วัตถุต่าง ๆ ซึ่งทำให้ลำบากในการที่จะถอนความใส่ใจจากวัตถุหนึ่งเมื่อเข้าไปใส่ใจในวัตถุนั้นแล้ว คนไข้ simultanagnosia มีหน้าต่างความใส่ใจทางตาที่หดตัวลงและจะไม่สามารถมองเห็นวัตถุเกินกว่าหนึ่งในขณะนั้น ๆ คนไข้เห็นโลกแบบปะติดปะต่อ ทีละจุด ๆ ดังนั้น จึงเลือกเอาเพียงวัตถุหนึ่ง ๆ หรือแม้แต่เพียงแค่องค์ประกอบบางอย่างของวัตถุหนึ่ง ๆ โดยที่ไม่สามารถเห็นภาพรวม
งานวิจัยหนึ่งซึ่งทำการตรวจสอบโดยตรงในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการหดตัวของหน้าต่างความใส่ใจในคนไข้ simultanagnosia กับการเห็นของบุคคลสุขภาพดีที่มีการประมวลผลทางตาปกติ ยืนยันถึงของเขตปัญหาของคนไข้ (ที่กล่าวมาแล้ว)
มีหลักฐานหลายอย่างที่แสดงว่า คอร์เทกซ์ของมนุษยแบ่งการประมวลสัญญาณการเห็นออกเป็นสองสาย คือ วิถีประสาทสมองกลีบท้ายทอย-สมองกลีบข้าง-สมองกลีบหน้าประมวลข้อมูลที่แสดงว่า วัตถุหนึ่ง ๆ อยู่ที่ไหน (where pathway) ในขณะที่วิถีประสาทสมองกลีบท้ายทอย-สมองกลีบขมับ-สมองกลีบหน้าประมวลข้อมูลที่แสดงว่า วัตถุหนึ่ง ๆ นั้นคืออะไร (what pathway) (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่สมมุติฐานทางสัญญาณสองทาง)
Oculomotor apraxia
น.พ. แบลินต์เรียกอาการของ Oculomotor apraxia ว่า "psychic paralysis of gaze (อัมพาตทางใจในการจ้องมอง)" ซึ่งเป็นความไม่สามารถขยับตาไปตามใจในเพื่อเปลี่ยนการตรึงตาจากที่ ๆ หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง
Optic ataxia
Optic ataxia เป็นความไม่สามารถในการเคลื่อนมือไปที่วัตถุหนึ่ง ๆ โดยใช้งตา เป็นกรณีที่ไม่สามารถอธิบายความพิการโดยความบกพร่องทางการสั่งการ (motor) ทางการรับรู้ทางกาย (somatosensory) ทางลานสายตา หรือทางความชัดเจนของการเห็น (acuity) Optic ataxia เกิดขึ้นในคนไข้อาการนี้ กำหนดโดยความบกพร่องในการควบคุมการยื่นแขนออกไปยังเป้าหมายที่เห็นทางตา พร้อมกับการวางทิศทางและรูปแบบการจับของมือที่ไม่ถูกต้อง เป็นความผิดปกติของการสั่งการอำนวยโดยการเห็น (visuomotor disorder) เฉพาะอย่าง โดยไม่เกี่ยวกับการรับรู้พื้นที่รอบ ๆ ตัวอย่างผิด ๆ
Optic ataxia บางครั้งเรียกว่า "misreaching" (แปลว่า เอื้อมไปผิด) หรือ "dysmetria" (แปลว่า ยากที่จะวัด) ซึ่งเป็นอาการที่มีความเสียหายรองลงไปจากความบกพร่องในการรับรู้ทางการเห็นอื่น ๆ คนไข้ Bálint's syndrome มักจะมีการเคลื่อนไหวมือที่บกพร่องที่อาศัยตา แม้ว่าจะมีพละกำลังที่มือแขนเป็นปกติ คือคนไข้ไม่สามารถจับวัตถุเมื่อกำลังมองดูวัตถุนั้น ๆ เพราะเหตุความไม่สัมพันธ์กันระหว่างการเห็นและการเคลื่อนไหวมือ โดยเฉพาะในมือที่อยู่ตรงข้าม (contralesional) กับรอยโรคในสมอง
Dysmetria หมายถึงการสูญเสียการเคลื่อนไหวที่ประสานกัน กำหนดโดยการยื่นมือ แขน ขา หรือการขยับตา ที่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปสัมพันธ์กับตำแหน่งที่ต้องการ ซึ่งบางครั้งพรรณนาว่า เป็นความไม่สามารถในการตัดสินระยะทางหรือขนาด
ดังที่ (น.พ.) แบลินต์กล่าวไว้ optic ataxia ทำให้คนไข้เกิดความลำบากในการใช้ชีวิตประจำวัน
เนื่องจากว่า "เมื่อกำลังตัดชิ้นเนื้อ...ที่เขากำลังจับไว้ด้วยซ่อมในมือซ้าย...ก็จะเสาะหาชิ้นเนื้อนั้นภายนอกภาชนะด้วยมีดในมือขวา" หรือว่า "...เมื่อกำลังจุดบุหรี่ เขามักจะจุดที่ตรงกลางไม่ใช่ที่ตรงปลาย" (น.พ.) แบลินต์ได้ชี้ถึงความผิดปกติทั้งระบบของของอาการนี้ ซึ่งปรากฏได้ชัดในพฤติกรรมของคนไข้เมื่อกำลังสืบหา (อะไร ๆ) ในพื้นที่ "ดังนั้น เมื่อบอกให้จับวัตถุที่ยื่นให้ด้วยมือขวาของเขา
เขาจะจับมันพลาดเป็นปกติ และจะพบมันได้ก็ต่อเมื่อมือของเขาไปชนมัน"
สมรรถภาพในการเอื้อม (มือและแขน) ของคนไข้ก็จะเปลี่ยนไปด้วย คือ ต้องใช้เวลานานกว่าที่จะเอื้อม (อวัยวะ) ไปหาวัตถุ สมรรถภาพการจับวัตถุหนึ่ง ๆ ก็จะเสียหายไปด้วย คนไข้ยิ่งทำได้แย่ลงอย่างมากถ้าไม่ให้เห็นมือหรือเป้าหมาย (ที่จะจับ)
เหตุ
ความผิดปกติทางตาในอาการนี้มักจะเกิดจากความเสียหายที่ยอดส่วนเชื่อมของสมองกลีบขมับ-สมองกลีบท้ายทอย (temporal-occipital) ในซีกสมองทั้งสองข้าง สมองกลีบขมับเป็นส่วนด้านข้างของสมองข้างหู และสมองกลีบท้ายทอยเป็นส่วนหลังของสมอง ดังนัน ส่วนเชื่อมจึงอยู่ที่ข้าง ๆ ด้านหลังของสมอง ในอาการนี้ ส่วนยอดของสมองกลีบข้างในซีกสมองทั้งสมองอาจจะเกิดความเสียหายด้วย สมองกลีบข้างเป็นส่วนตรงกลางด้านบนของสมอง
การวินิจฉัย
การขาดความตระหนักถึงอาการนี้อาจนำไปสู่การวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ผิดว่า คนไข้ตาบอด มีโรคจิต หรือมีภาวะสมองเสื่อม คนที่จะสังเกตเห็นว่าคนไข้มีอาการนี้ก่อนอื่นทั้งหมดมักจะเป็นผู้บำบัดโรคที่ให้การพยาบาลฟื้นสภาพหลังจากคนไข้เกิดรอยโรคในสมอง แต่ว่า เพราะว่ามีผู้บำบัดโรคเป็นจำนวนน้อยที่คุ้นเคยกับอาการนี้ อาการต่าง ๆ ที่ได้สังเกตเห็นก็จะรับคำอธิบายผิดอื่น ๆ โดยที่ไม่ได้พิจารณาถึงอาการนี้ หรือตรวจสอบยืนยันด้วยวิธีทางการแพทย์หรือประสาทรังสีวิทยา ดังนั้น ความปรากฏของความผิดปกติทางพื้นที่ ที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันสืบต่อจากความเสียหายที่สมองกลีบข้างในซีกสมองทั้งสองข้าง เป็นเครื่องชี้บ่งที่มีกำลังของ Bálint's syndrome และควรที่จะตรวจสอบต่อไปว่าใช่อาการนี้หรือไม่ งานวิจัยหนึ่งรายงานว่า ความเสียหายที่เขตต่าง ๆ ของส่วนเชื่อมระหว่างสมองกลีบท้ายทอยและสมองกลีบข้างในซีกสมองทั้งสองข้างดูเหมือนจะมีความสัมพันธ์กับ Bálint's syndrome
หลักฐานโดยประสาทกายวิภาค
มีการพบ Bálint's syndrome ในคนไข้ที่มีความเสียหายต่อสมองกลีบข้างด้านหลังในซีกสมองทั้งสองข้าง เหตุหลักของความเสียหายและอาการมาจากโรคหลอดเลือดสมองที่เกิดซ้ำ ๆ กัน โรคอัลไซเมอร์ เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ (intracranial tumor) หรือการบาดเจ็บที่สมอง นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่า multifocal leukoencephalopathy และโรคครอยตส์เฟลดต์-จาค็อบ ก็ก่อให้เกิดอาการเช่นนี้อีกด้วย อาการนี้เกิดจากความเสียหายต่อบริเวณที่รับโลหิตมาจากเส้นเลือดใหญ่สองเส้น (watershed area) ด้านบนข้างหลัง หรือที่เรียกว่า parietal-occipital vascular border zone (โซนเชื่อมต่อกันระหว่างสมองกลีบข้าง-สมองกลีบท้ายทอยที่มีเส้นเลือด) หรือที่เรียกว่าเขตบร็อดแมนน์ 19 และ 7
อาการปรากฏ
อาการที่อาจเป็นตัวบ่งบอก Bálint's syndrome หลังจากเกิดความเสียหายต่อสมองทั้งสองซีกมีดังต่อไปนี้
- มีการจำกัดการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่ปรากฏ 35-40 องศาไปทางด้านขวาเท่านั้น คนไข้สามารถเคลื่อนไหวตาทั้งสองแต่ไม่สามารถตรึงตาที่สิ่งเร้านั้น ๆ (ataxia)
- คนไข้สามารถใส่ใจในวัตถุเดียวเท่านั้นในขณะหนึ่ง ๆ ซึ่งมีผลให้กิจในชีวิตประจำวันต่าง ๆ เช่นการอ่านหนังสือเป็นสิ่งที่ยากลำบาก เพราะว่า ต้องทำการรับรู้ตัวหนังสือทีละตัว (ataxia)
- ความผิดปกติในการเห็นรูป/พื้นหลัง ที่คนไข้สามารถสามารถเห็นพื้นหลังแต่ไม่เห็นวัตถุที่อยู่ภายในพื้นหลังนั้น หรือว่าสามารถเห็นวัตถุแต่ไม่สามารถเห็นพื้นหลัง (simultanagnosia)
- คนไข้คนหนึ่งปรากฏว่าพยายามใส่รองเท้าแตะโดยพยายามสอดเท้าเข้าไปในรองเท้าห่าง 2-3 นิ้วจากรองเท้าที่มีอยู่ แม้ว่าคนไข้จะมีโฟกั๊สอยู่ที่รองเท้าจริง ๆ (oculomotor apraxia)
- คนไข้คนหนึ่งยกช้อนหรือซ่อมที่มีอาหารไปที่เหนือปากหรือใต้ปาก และพยายามที่จะหาปากโดยทดลองขยับช้อนหรือซ่อมนั้นไปรอบ ๆ ใบหน้า (optic ataxia)
การบำบัดรักษา
มีเอกสารที่ตีพิมพ์น้อยมาก เกี่ยวกับวิธีการบำบัดโดยเฉพาะสำหรับโรคเกี่ยวกับการเห็นและพื้นที่เช่น Bálint’s syndrome งานวิจัยหนึ่งแสดงว่า การฝึกหัดเพื่อรักษาฟื้นฟูควรจะเล็งที่การพัฒนาการสืบหาทางตา การพัฒนาการเคลื่อนไหวมือโดยใช้ตา และการพัฒนาการประสานกัน (integration) ของวัตถุต่าง ๆ ที่เห็นทางตา มีวิธีการรักษาเป็นจำนวนน้อยมากที่ได้รับการเสนอ และที่เสนอแล้วนั้น ก็ได้รับคำวิจารณ์ว่า มีการพัฒนาและการประเมินผลที่ไม่ดี
มีแนวคิด 3 อย่างในการบำบัดรักษาความบกพร่องในการรับรู้ เช่นกับที่มีในคนไข้ Bálint's syndrome ได้แก่
- วิธีการปรับตัว (โดยกิจ) ซึ่งเป็นการฝึกหัดที่ใช้ทักษะและความสามารถที่มีอยู่ของคนไข้ เพื่อช่วยคนไข้ทำการชดเชยเพื่อแก้ปัญหา หรือช่วยคนไข้เปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เกิดปัญหาน้อยลง นี้เป็นแนวคิดที่นิยมที่สุด
- วิธีแก้ปัญหา ซึ่งฟื้นสภาพระบบประสาทกลางที่เสียหายโดยให้ฝึกทักษะการรับรู้ ซึ่งอาจมีผลโดยทั่วไปกับกิจกรรมชีวิตประจำวันทั้งหมด เป็นวิธีที่ทำโดยใช้กิจกรรมที่ทำบนโด๊ะหรือข้อฝึกหัดระบบรับความรู้สึกและระบบสั่งการ (sensorimotor)
- วิธีการฝึกในหลาย ๆ สถานการณ์ (multicontext) ซึ่งเป็นการตอบสนองต่อความจริงว่า การเรียนรู้ในสถานการณ์หนึ่งอาจจะใช้ไม่ได้ในอีกสถานการณ์หนึ่ง จึงมีการฝึกหัดยุทธวิธีเฉพาะอย่างในหลาย ๆ สถานการณ์โดยใช้แบบฝึกหัดและการเคลื่อนไหวหลายหลาก และอาศัยการสำนึกตน (self-awareness)
กรณีศึกษา
อาการต่าง ๆ ของ Bálint’s syndrome พบในคนไข้โรคไมเกรนวัย 29 ปีคนหนึ่ง ในขณะที่เห็นออราก่อนการปวดหัวไมเกรนจะเกิดขึ้น เธอจะไม่สามารถเห็นวัตถุต่าง ๆ ในลานสายตาได้พร้อม ๆ กัน ไม่สามารถเคลื่อนไหวมือประสานกับการเห็น และไม่สามารถตรึงตาที่วัตถุหนึ่ง ๆ ตามสั่ง แต่อาการต่าง ๆ จะไม่มีก่อนการเกิดขึ้นของไมเกรนหรือหลังจากที่ผ่านไปแล้ว
งานศึกษาเกี่ยวกับคนไข้ที่มีโรค Corticobasal Ganglionic Degeneration (CGBD) คนหนึ่งพบว่าคนไข้มีอาการนี้ที่เริ่มเจริญขึ้น โดยเป็นผลของ CGBD คนไข้เกิดความไม่สามารถในการเคลื่อนตาไปที่วัตถุต่าง ๆ ในส่วนรอบ ๆ (peripheral) ลานสายตา ไม่สามารถเอื้อมมือไปจับวัตถุต่าง ๆ ในส่วนรอบ ๆ ลานสายตา และไม่สามารถรู้จำวัตถุมากกว่าหนึ่งในขณะเดียวกัน เมื่อมีการแสดงรูปการขโมยคุกกี้จากบทตรวจสอบ Boston Diagnostic Aphasia Examination
ชายวัย 58 ปีมี Bálint's syndrome ที่เกิดจากความบาดเจ็บในสมองอย่างรุนแรง 4 เดือนหลังจากความบาดเจ็บ เขาได้ผ่านโปรแกรมฟื้นฟูความบาดเจ็บในสมองเป็นเวลา 6 เดือนในโรงพยาบาล กลวิธีในการรักษาแบ่งเป็น 3 วิธีรวมทั้ง (1) กลวิธีการชดเชย (2) แบบการฝึกหัดเพื่อรักษา (3) การใช้ทักษะที่ได้ใหม่ในสิ่งแวดล้อมและสถานการณ์หลาย ๆ อย่าง มีการประเมินคนไข้ทางประสาทจิตวิทยาและทางทักษะชีวิตประจำวันทั้งก่อนรับคนไข้และหลังจากจำหน่ายคนไข้จากโรงพยาบาลแล้ว คนไข้ปรากฏความก้าวหน้าในการทดสอบที่ประเมินความสามารถเกี่ยวกับการเห็นและพื้นที่ (visuospatial) แม้ว่า ความก้าวหน้าที่ดีขึ้นที่สุดจะเป็นความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวันและการทำงานทางกาย
คนไข้ที่หูหนวกมาตั้งแต่กำเนิดปรากฏอาการบางอย่างของ Bálint’s syndrome คือ ไม่สามารถรับรู้เหตุการณ์หลายอย่าง ๆ พร้อมกันที่เกิดให้เห็นในลานสายตา นอกจากนั้นแล้ว เธอยังไม่สามารถทำการตรึงตาหรือติดตามวัตถุหนึ่ง ๆ ด้วยตา และก็มีสมรรถภาพบกพร่องด้วยในการทำกิจต่าง ๆ ทางกายที่ต้องใช้ตา
ไม่ค่อยมีรายงานเกี่ยวกับ Bálint's syndrome ในเด็ก แต่มีงานวิจัยบางงานที่แสดงหลักฐานว่าอาการนี้ก็มีในเด็กด้วย คือมีการรายงานถึงกรณีเด็กชายอายุ 10 ขวบในปี ค.ศ. 2003 นอกจากนั้นแล้ว ก็ยังมีรายงานในเด็กชายอายุ 7 ขวบด้วย ในเด็ก อาการนี้มีผลต่อการใช้ชีวิตหลายอย่าง แต่ที่เห็นชัดที่สุดก็คือปัญหาในการเรียน โดยเฉพาะเกี่ยวกับการอ่านหนังสือ ผู้ทำงานวิจัยสนับสนุนให้มีการตระหนักถึงอาการนี้เพิ่มยิ่งขึ้นเพื่อที่จะให้การบำบัดรักษากับคนไข้และเพื่อให้เกิดการปรับสภาพสิ่งแวดล้อมที่สมควรต่อคนไข้
ข้อวิจารณ์
มีการคัดค้านถึงการจัดกลุ่มอาการเช่นนี้ เพราะว่าองค์ประกอบ 3 อย่าง (simultanagnosia, oculomotor apraxia, และ optic ataxia) แต่ละอย่างอาจเป็นผลของความบกพร่องหรือความผิดปกติหลายอย่าง
เพราะว่า Bálint's syndrome หาได้ยากและยากที่จะประเมินโดยใช้วิธีทั่วไปทางคลินิก
งานเอกสารที่มีอยู่โดยมากเป็นการรายงานเค้ส (case report) ที่เต็มไปด้วยความเอนเอียงในการเลือกเค้ส (case selection bias) การใช้ศัพท์ที่ไม่เหมือนกัน การตรวจสอบการเห็นขั้นพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ การระบุส่วนของรอยโรคที่ไม่ชัดเจน
และการไม่ระบุความแตกต่างของความบกพร่องในช่วงที่อาการเกิดขึ้นโดยฉับพลัน (acute phase) กับช่วงที่มีอาการเกิดขึ้นแบบเรื้อรัง (chronic phase)
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Udesen, H; Madsen, A. L. (1992). "Balint's syndrome--visual disorientation". Ugeskrift for Laeger. 154 (21): 1492–4. PMID 1598720.
- synd/1343 ใน Who Named It?
- Bálint, Dr. (1909). "Seelenlähmung des 'Schauens', optische Ataxie, räumliche Störung der Aufmerksamkeit. pp. 51–66" [Soul imbalance of 'seeing', optical ataxia, spatial disturbance of attention. pp. 51–66]. European Neurology (ภาษาเยอรมัน). 25: 51–66. doi:10.1159/000210464.
- Kerkhoff, G. (2000). "Neurovisual rehabilitation: Recent developments and future directions". Journal of Neurology, Neurosurgery & Psychiatry. 68 (6): 691–706. doi:10.1136/jnnp.68.6.691. PMC 1736971. PMID 10811691.
- Ribai, P.; Vokaer, M.; De Tiege, X.; Massat, I.; Slama, H.; Bier, J.C. (2006). "Acute Balint's syndrome is not always caused by a stroke". European Journal of Neurology. 13 (3): 310–2. doi:10.1111/j.1468-1331.2006.01144.x. PMID 16618355. S2CID 6567099.
- Perez, F. M.; Tunkel, R. S.; Lachmann, E. A.; Nagler, W. (2009). "Balint's syndrome arising from bilateral posterior cortical atrophy or infarction: Rehabilitation strategies and their limitation". Disability and Rehabilitation. 18 (6): 300–4. doi:10.3109/09638289609165884. PMID 8783001.
- Zgaljardic, Dennis J.; Yancy, Sybil; Levinson, Jason; Morales, Gabrielle; Masel, Brent E. (2011). "Balint's syndrome and post-acute brain injury rehabilitation: A case report". Brain Injury. 25 (9): 909–17. doi:10.3109/02699052.2011.585506. PMID 21631186. S2CID 207447734.
- Toyokura, M; Koike, T (2006). "Rehabilitative intervention and social participation of a case with Balint's syndrome and aphasia". The Tokai Journal of Experimental and Clinical Medicine. 31 (2): 78–82. PMID 21302228.
- Rizzo, Matthew (2000). "Clinical Assessment of Complex Visual Dysfunction". Seminars in Neurology. 20 (1): 75–87. doi:10.1055/s-2000-6834. PMID 10874778.
- Rizzo, M (2002). "Psychoanatomical substrates of Balint's syndrome". Journal of Neurology, Neurosurgery & Psychiatry. 72 (2): 162–78. doi:10.1136/jnnp.72.2.162. PMC 1737727. PMID 11796765.
- Dalrymple, Kirsten A.; Birmingham, Elina; Bischof, Walter F.; Barton, Jason J.S.; Kingstone, Alan (2011). "Experiencing simultanagnosia through windowed viewing of complex social scenes". Brain Research. 1367: 265–77. doi:10.1016/j.brainres.2010.10.022. PMID 20950591. S2CID 9857024.
- Jackson, Georgina M.; Swainson, Rachel; Mort, Dominic; Husain, Masud; Jackson, Stephen R. (2009). "Attention, competition, and the parietal lobes: Insights from Balint's syndrome". Psychological Research. 73 (2): 263–70. doi:10.1007/s00426-008-0210-2. PMID 19156438. S2CID 26978283.
- Dalrymple, Kirsten A.; Bischof, Walter F.; Cameron, David; Barton, Jason J. S.; Kingstone, Alan (2010). "Simulating simultanagnosia: Spatially constricted vision mimics local capture and the global processing deficit". Experimental Brain Research. 202 (2): 445–55. doi:10.1007/s00221-009-2152-3. PMID 20066404. S2CID 23818496.
- Kim, Min-Shik; Robertson, Lynn C. (2001). "Implicit Representations of Space after Bilateral Parietal Lobe Damage". Journal of Cognitive Neuroscience. 13 (8): 1080–7. 10.1.1.579.299. doi:10.1162/089892901753294374. PMID 11784446. S2CID 18411954.
- Perenin, M.-T.; Vighetto, A. (1988). "Optic Ataxia: A Specific Disruption in Visuomotor Mechanisms". Brain. 111 (3): 643–74. doi:10.1093/brain/111.3.643. PMID 3382915.
- Battaglia-Mayer, A.; Caminiti, R. (2002). "Optic ataxia as a result of the breakdown of the global tuning fields of parietal neurones". Brain. 125 (2): 225–37. doi:10.1093/brain/awf034. PMID 11844724.
- Drane DL, Lee GP, Huthwaite JS; และคณะ (May 2009). "Development of a partial Balint's syndrome in a congenitally deaf patient presenting as pseudo-aphasia". Clin Neuropsychol. 23 (4): 715–28. doi:10.1080/13854040802448718. PMC 2836810. PMID 18923965.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Valenza N, Murray MM, Ptak R, Vuilleumier P (2004). "The space of senses: impaired crossmodal interactions in a patient with Balint syndrome after bilateral parietal damage". Neuropsychologia. 42 (13): 1737–48. doi:10.1016/j.neuropsychologia.2004.05.001. PMID 15351624.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Kas A, de Souza LC, Samri D; และคณะ (May 2011). "Neural correlates of cognitive impairment in posterior cortical atrophy". Brain. 134 (Pt 5): 1464–78. doi:10.1093/brain/awr055. PMID 21478188.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Rosselli, Mónica; Ardila, Alfredo; Beltran, Christopher (2001). "Rehabilitation of Balint's Syndrome: A Single Case Report". Applied Neuropsychology. 8 (4): 242–7. doi:10.1207/S15324826AN0804_7. PMID 11989728. S2CID 969103.
- Al-Khawaja, I (2001). "Neurovisual rehabilitation in Balint's syndrome". Journal of Neurology, Neurosurgery & Psychiatry. 70 (3): 416. doi:10.1136/jnnp.70.3.416. PMC 1737281. PMID 11248903.
- Shah, P. A; Nafee, A (1999). "Migraine aura masquerading as Balint's syndrome". Journal of Neurology, Neurosurgery & Psychiatry. 67 (4): 554–5. doi:10.1136/jnnp.67.4.554. PMC 1736566. PMID 10610392.
- Mendez, M. F. (2000). "Corticobasal Ganglionic Degeneration with Balint's Syndrome". Journal of Neuropsychiatry. 12 (2): 273–5. doi:10.1176/appi.neuropsych.12.2.273. PMID 11001609.
- Gillen, Jennifer A; Dutton, Gordon N (2007). "Balint's syndrome in a 10-year-old male". Developmental Medicine & Child Neurology. 45 (5): 349–52. doi:10.1111/j.1469-8749.2003.tb00407.x. PMID 12729150.
- Drummond, Suzannah Rosalind; Dutton, Gordon N. (2007). "Simultanagnosia following perinatal hypoxia—A possible pediatric variant of Balint syndrome". Journal of American Association for Pediatric Ophthalmology and Strabismus. 11 (5): 497–8. doi:10.1016/j.jaapos.2007.03.007. PMID 17933675.
แหล่งข้อมูลอื่น
- National Institute on Deafness and Other Communication Disorders - Apraxia of speech
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnimichuxepnphasaxngkvs enuxngcakchuxepnsphthechphaathangkhxngkaywiphakhsastr rachbnthitysthanyngimbyytiphasaithy hnngsuxechphaathangichsphthxngkvs Balint s syndrome epnklumxakarkhwamesiyhaythangprasathaelacitic 3 xyangthiimsamyaelayngimepnthiekhaickndi khuxkhwamimsamarththicarbruwtthutang inlansaytaodysineching simultanagnosia khwamyaklabakinkartrungta oculomotor apraxia aelakhwamimsamarthinkarkhybmuxipyngwtthuhnung odyichta optic ataxia Balint s syndromechuxxunBalint Holmes syndrome Optic ataxia gaze apraxia simultanagnosia syndromeBalint Syndromesakhawichaprasathwithya cksuwithya thsnmatrsastr klumxakarnimichuxtamprasathaephthychawxxsotr hngkaeriyn n ph ersoch aeblint phurabuthungxakarniepnkhnaerkinpi kh s 1909 xakarniekidkhunbxykhrngthisudxyangchbphlnepnphlcakorkhhlxdeluxdsmxngkaerib 2 khrnghruxyingkwanninekhtsmxngekhtediywkn hruxikl kn insiksmxngaetlasik dngnncungepnxakarthiimekidkhunbxy nkwicybangthanklawwaehtuthiekidkhunbxythisudinxakarniaebbsmburnaebbkkhuxkhwamdnolhittaaebbchbphlnaelarunaerng miphlepnenuxtayehtukhadeluxdtrngswnechuxmtxknkhxngsmxngklibthaythxyaelasmxngklibkhang occipito parietal insiksmxngthngsxngkhang nxkcaknnaelw aemwacaphbyakyingkwann kkhuxkrnikhxngxakarnithiephimkhuneruxy inorkhsmxngesuxmechnorkhxlisemxr hruxinxakarbadecbthismxngtrngswnechuxmtxkninsmxngechnkn karimtrahnkthungxakarnixacnaipsukarwinicchythangkaraephthythiphidphlad aelamiphlepnkarbabdrksathiimsmkhwrhruximephiyngphx dngnn aephthyrksaphungmikhwamkhunekhykbxakarniaelakbehtuekidaelaxakarprakttang xakarxakarnisamarthldsmrrthphaphthangrangkayipidmakephraamiphltx visuospatial skill thksaekiywkbphunthirxbtwthiehnthangta karmxngha visual scanning aelakarisicthangta ephraawaxakarmiphlepnkhwamphikarxyangsakhythangtaaelathangphasa cungsamarthmiphltxkhwamplxdphykhxngkhnikh aeminewlathixyuinban aelaxaccathaihimsamarththaxachiphid inhlaykrni xakarodysmburnthngsamxyang khux khwamimsamarththicarbruwtthutang inlansaytaodysineching simultanagnosia khwamyaklabakinkartrungta oculomotor apraxia aelakhwamimsamarthinkarkhybmuxipyngwtthuhnung odyichta optic ataxia caimpraktcnkrathngkhnikhidrbkarphyabalephuxfunfusphaph nkbabdorkhphuimkhunekhykbxakarnixaccathakarwinicchyphidemuxkhnikhimmikarecriykhubhnatamthikhadhwngephraaehtuxakar 3 xyangehlannwa caimekidpraoychncakkarbabdrksathiichknthw ipxiktxip ephraathrrmchatikhxngxakaraetlaxyangcaepntwkhdkhwangkhwamkawhnaaekknaelakn yngtxngmingansuksawicyxikmakephuxphthnakhntxnkarrksathimungbabdxakarthnghmdodyepnklumenuxngcakwa khwamesiyhaythiekidkhunnnekiywphnknepnxyangying Simultanagnosia Simultanagnosia epnkhwamimsamarththicarbruehtukarnhruxwtthutang hlayxyangphrxm knthipraktinlansayta khnikhxakarnirbruolkxyangimsmburn khuxepnladbkhxngwtthuediyw tx knodyimehnphaphrwmthnghmd khwamphidpktiinkarrbruphunthirxb twekiywenuxngkbkhwamisicthangta khuxkhwamsamarththimiinkarrabuthungwtthuediyw insingthiehn aetimsamarthrabuphaphodyrwm eriykwa epnkarhdtwlngkhxnghnatang gestalt khxngkhnikh sungkkhuxhnatangaehngkhwamisicthangta odypktiaelw mnusycatrungtaipthicudtang insthankarnthangsngkhmephraawacudtang ehlannchwysrangkhwamekhaicekiywkbkhwamhmaykhxngsthankarnnn dngnn karfunfusphaphxakar simultanagnosia xaccatxngekiywkhxngkbkarkhyayhnatangkhwamisicthiekidkarhdtwlng thiepnlksnaechphaakhxngxakarni Simultanagnosia epnkhwambkphrxngthangkarehnthiluksung ephraawa ekhaipthalaysmrrthphaphinkarrbruwtthuhlay xyanginphaph hnung inkhnathiimmiphltxkhwamsamarthinkarrucawtthuediyw phlnganwicyhnungesnxwa simultanagnosia xacekidcakkaraekhngkhnaebbsud rahwang karrbru wtthutang sungthaihlabakinkarthicathxnkhwamisiccakwtthuhnungemuxekhaipisicinwtthunnaelw khnikh simultanagnosia mihnatangkhwamisicthangtathihdtwlngaelacaimsamarthmxngehnwtthuekinkwahnunginkhnann khnikhehnolkaebbpatidpatx thilacud dngnn cungeluxkexaephiyngwtthuhnung hruxaemaetephiyngaekhxngkhprakxbbangxyangkhxngwtthuhnung odythiimsamarthehnphaphrwm nganwicyhnungsungthakartrwcsxbodytrngineruxngkhwamsmphnthrahwangkarhdtwkhxnghnatangkhwamisicinkhnikh simultanagnosia kbkarehnkhxngbukhkhlsukhphaphdithimikarpramwlphlthangtapkti yunynthungkhxngekhtpyhakhxngkhnikh thiklawmaaelw mihlkthanhlayxyangthiaesdngwa khxrethkskhxngmnusyaebngkarpramwlsyyankarehnxxkepnsxngsay khux withiprasathsmxngklibthaythxy smxngklibkhang smxngklibhnapramwlkhxmulthiaesdngwa wtthuhnung xyuthiihn where pathway inkhnathiwithiprasathsmxngklibthaythxy smxngklibkhmb smxngklibhnapramwlkhxmulthiaesdngwa wtthuhnung nnkhuxxair what pathway dukhxmulephimetimthismmutithanthangsyyansxngthang Oculomotor apraxia n ph aeblinteriykxakarkhxng Oculomotor apraxia wa psychic paralysis of gaze xmphatthangicinkarcxngmxng sungepnkhwamimsamarthkhybtaiptamicinephuxepliynkartrungtacakthi hnungipsuxikthihnung Optic ataxia Optic ataxia epnkhwamimsamarthinkarekhluxnmuxipthiwtthuhnung odyichngta epnkrnithiimsamarthxthibaykhwamphikarodykhwambkphrxngthangkarsngkar motor thangkarrbruthangkay somatosensory thanglansayta hruxthangkhwamchdecnkhxngkarehn acuity Optic ataxia ekidkhuninkhnikhxakarni kahndodykhwambkphrxnginkarkhwbkhumkaryunaekhnxxkipyngepahmaythiehnthangta phrxmkbkarwangthisthangaelarupaebbkarcbkhxngmuxthiimthuktxng epnkhwamphidpktikhxngkarsngkarxanwyodykarehn visuomotor disorder echphaaxyang odyimekiywkbkarrbruphunthirxb twxyangphid Optic ataxia bangkhrngeriykwa misreaching aeplwa exuxmipphid hrux dysmetria aeplwa yakthicawd sungepnxakarthimikhwamesiyhayrxnglngipcakkhwambkphrxnginkarrbruthangkarehnxun khnikh Balint s syndrome mkcamikarekhluxnihwmuxthibkphrxngthixasyta aemwacamiphlakalngthimuxaekhnepnpkti khuxkhnikhimsamarthcbwtthuemuxkalngmxngduwtthunn ephraaehtukhwamimsmphnthknrahwangkarehnaelakarekhluxnihwmux odyechphaainmuxthixyutrngkham contralesional kbrxyorkhinsmxng Dysmetria hmaythungkarsuyesiykarekhluxnihwthiprasankn kahndodykaryunmux aekhn kha hruxkarkhybta thimakekiniphruxnxyekinipsmphnthkbtaaehnngthitxngkar sungbangkhrngphrrnnawa epnkhwamimsamarthinkartdsinrayathanghruxkhnad dngthi n ph aeblintklawiw optic ataxia thaihkhnikhekidkhwamlabakinkarichchiwitpracawn enuxngcakwa emuxkalngtdchinenux thiekhakalngcbiwdwysxminmuxsay kcaesaahachinenuxnnphaynxkphachnadwymidinmuxkhwa hruxwa emuxkalngcudbuhri ekhamkcacudthitrngklangimichthitrngplay n ph aeblintidchithungkhwamphidpktithngrabbkhxngkhxngxakarni sungpraktidchdinphvtikrrmkhxngkhnikhemuxkalngsubha xair inphunthi dngnn emuxbxkihcbwtthuthiyunihdwymuxkhwakhxngekha ekhacacbmnphladepnpkti aelacaphbmnidktxemuxmuxkhxngekhaipchnmn smrrthphaphinkarexuxm muxaelaaekhn khxngkhnikhkcaepliynipdwy khux txngichewlanankwathicaexuxm xwywa iphawtthu smrrthphaphkarcbwtthuhnung kcaesiyhayipdwy khnikhyingthaidaeylngxyangmakthaimihehnmuxhruxepahmay thicacb ehtukhwamphidpktithangtainxakarnimkcaekidcakkhwamesiyhaythiyxdswnechuxmkhxngsmxngklibkhmb smxngklibthaythxy temporal occipital insiksmxngthngsxngkhang smxngklibkhmbepnswndankhangkhxngsmxngkhanghu aelasmxngklibthaythxyepnswnhlngkhxngsmxng dngnn swnechuxmcungxyuthikhang danhlngkhxngsmxng inxakarni swnyxdkhxngsmxngklibkhanginsiksmxngthngsmxngxaccaekidkhwamesiyhaydwy smxngklibkhangepnswntrngklangdanbnkhxngsmxngkarwinicchykarkhadkhwamtrahnkthungxakarnixacnaipsukarwinicchythangkaraephthythiphidwa khnikhtabxd miorkhcit hruxmiphawasmxngesuxm khnthicasngektehnwakhnikhmixakarnikxnxunthnghmdmkcaepnphubabdorkhthiihkarphyabalfunsphaphhlngcakkhnikhekidrxyorkhinsmxng aetwa ephraawamiphubabdorkhepncanwnnxythikhunekhykbxakarni xakartang thiidsngektehnkcarbkhaxthibayphidxun odythiimidphicarnathungxakarni hruxtrwcsxbyunyndwywithithangkaraephthyhruxprasathrngsiwithya dngnn khwampraktkhxngkhwamphidpktithangphunthi thiekidkhunxyangchbphlnsubtxcakkhwamesiyhaythismxngklibkhanginsiksmxngthngsxngkhang epnekhruxngchibngthimikalngkhxng Balint s syndrome aelakhwrthicatrwcsxbtxipwaichxakarnihruxim nganwicyhnungraynganwa khwamesiyhaythiekhttang khxngswnechuxmrahwangsmxngklibthaythxyaelasmxngklibkhanginsiksmxngthngsxngkhangduehmuxncamikhwamsmphnthkb Balint s syndrome hlkthanodyprasathkaywiphakh mikarphb Balint s syndrome inkhnikhthimikhwamesiyhaytxsmxngklibkhangdanhlnginsiksmxngthngsxngkhang ehtuhlkkhxngkhwamesiyhayaelaxakarmacakorkhhlxdeluxdsmxngthiekidsa kn orkhxlisemxr enuxngxkinkaohlksirsa intracranial tumor hruxkarbadecbthismxng nxkcaknnaelw yngphbwa multifocal leukoencephalopathy aelaorkhkhrxytsefldt cakhxb kkxihekidxakarechnnixikdwy xakarniekidcakkhwamesiyhaytxbriewnthirbolhitmacakesneluxdihysxngesn watershed area danbnkhanghlng hruxthieriykwa parietal occipital vascular border zone osnechuxmtxknrahwangsmxngklibkhang smxngklibthaythxythimiesneluxd hruxthieriykwaekhtbrxdaemnn 19 aela 7 xakarprakt xakarthixacepntwbngbxk Balint s syndrome hlngcakekidkhwamesiyhaytxsmxngthngsxngsikmidngtxipni mikarcakdkarrbrutxsingerathiprakt 35 40 xngsaipthangdankhwaethann khnikhsamarthekhluxnihwtathngsxngaetimsamarthtrungtathisingerann ataxia khnikhsamarthisicinwtthuediywethanninkhnahnung sungmiphlihkicinchiwitpracawntang echnkarxanhnngsuxepnsingthiyaklabak ephraawa txngthakarrbrutwhnngsuxthilatw ataxia khwamphidpktiinkarehnrup phunhlng thikhnikhsamarthsamarthehnphunhlngaetimehnwtthuthixyuphayinphunhlngnn hruxwasamarthehnwtthuaetimsamarthehnphunhlng simultanagnosia khnikhkhnhnungpraktwaphyayamisrxngethaaetaodyphyayamsxdethaekhaipinrxngethahang 2 3 niwcakrxngethathimixyu aemwakhnikhcamiofksxyuthirxngethacring oculomotor apraxia khnikhkhnhnungykchxnhruxsxmthimixaharipthiehnuxpakhruxitpak aelaphyayamthicahapakodythdlxngkhybchxnhruxsxmnniprxb ibhna optic ataxia karbabdrksamiexksarthitiphimphnxymak ekiywkbwithikarbabdodyechphaasahrborkhekiywkbkarehnaelaphunthiechn Balint s syndrome nganwicyhnungaesdngwa karfukhdephuxrksafunfukhwrcaelngthikarphthnakarsubhathangta karphthnakarekhluxnihwmuxodyichta aelakarphthnakarprasankn integration khxngwtthutang thiehnthangta miwithikarrksaepncanwnnxymakthiidrbkaresnx aelathiesnxaelwnn kidrbkhawicarnwa mikarphthnaaelakarpraeminphlthiimdi miaenwkhid 3 xyanginkarbabdrksakhwambkphrxnginkarrbru echnkbthimiinkhnikh Balint s syndrome idaek withikarprbtw odykic sungepnkarfukhdthiichthksaaelakhwamsamarththimixyukhxngkhnikh ephuxchwykhnikhthakarchdechyephuxaekpyha hruxchwykhnikhepliynsingaewdlxmihekidpyhanxylng niepnaenwkhidthiniymthisud withiaekpyha sungfunsphaphrabbprasathklangthiesiyhayodyihfukthksakarrbru sungxacmiphlodythwipkbkickrrmchiwitpracawnthnghmd epnwithithithaodyichkickrrmthithabnodahruxkhxfukhdrabbrbkhwamrusukaelarabbsngkar sensorimotor withikarfukinhlay sthankarn multicontext sungepnkartxbsnxngtxkhwamcringwa kareriynruinsthankarnhnungxaccaichimidinxiksthankarnhnung cungmikarfukhdyuththwithiechphaaxyanginhlay sthankarnodyichaebbfukhdaelakarekhluxnihwhlayhlak aelaxasykarsanuktn self awareness krnisuksaxakartang khxng Balint s syndrome phbinkhnikhorkhimekrnwy 29 pikhnhnung inkhnathiehnxxrakxnkarpwdhwimekrncaekidkhun ethxcaimsamarthehnwtthutang inlansaytaidphrxm kn imsamarthekhluxnihwmuxprasankbkarehn aelaimsamarthtrungtathiwtthuhnung tamsng aetxakartang caimmikxnkarekidkhunkhxngimekrnhruxhlngcakthiphanipaelw ngansuksaekiywkbkhnikhthimiorkh Corticobasal Ganglionic Degeneration CGBD khnhnungphbwakhnikhmixakarnithierimecriykhun odyepnphlkhxng CGBD khnikhekidkhwamimsamarthinkarekhluxntaipthiwtthutang inswnrxb peripheral lansayta imsamarthexuxmmuxipcbwtthutang inswnrxb lansayta aelaimsamarthrucawtthumakkwahnunginkhnaediywkn emuxmikaraesdngrupkarkhomykhukkicakbthtrwcsxb Boston Diagnostic Aphasia Examination chaywy 58 pimi Balint s syndrome thiekidcakkhwambadecbinsmxngxyangrunaerng 4 eduxnhlngcakkhwambadecb ekhaidphanopraekrmfunfukhwambadecbinsmxngepnewla 6 eduxninorngphyabal klwithiinkarrksaaebngepn 3 withirwmthng 1 klwithikarchdechy 2 aebbkarfukhdephuxrksa 3 karichthksathiidihminsingaewdlxmaelasthankarnhlay xyang mikarpraeminkhnikhthangprasathcitwithyaaelathangthksachiwitpracawnthngkxnrbkhnikhaelahlngcakcahnaykhnikhcakorngphyabalaelw khnikhpraktkhwamkawhnainkarthdsxbthipraeminkhwamsamarthekiywkbkarehnaelaphunthi visuospatial aemwa khwamkawhnathidikhunthisudcaepnkhwamsamarthinkarichchiwitpracawnaelakarthanganthangkay khnikhthihuhnwkmatngaetkaenidpraktxakarbangxyangkhxng Balint s syndrome khux imsamarthrbruehtukarnhlayxyang phrxmknthiekidihehninlansayta nxkcaknnaelw ethxyngimsamarththakartrungtahruxtidtamwtthuhnung dwyta aelakmismrrthphaphbkphrxngdwyinkarthakictang thangkaythitxngichta imkhxymiraynganekiywkb Balint s syndrome inedk aetminganwicybangnganthiaesdnghlkthanwaxakarnikmiinedkdwy khuxmikarraynganthungkrniedkchayxayu 10 khwbinpi kh s 2003 nxkcaknnaelw kyngmiraynganinedkchayxayu 7 khwbdwy inedk xakarnimiphltxkarichchiwithlayxyang aetthiehnchdthisudkkhuxpyhainkareriyn odyechphaaekiywkbkarxanhnngsux phuthanganwicysnbsnunihmikartrahnkthungxakarniephimyingkhunephuxthicaihkarbabdrksakbkhnikhaelaephuxihekidkarprbsphaphsingaewdlxmthismkhwrtxkhnikhkhxwicarnmikarkhdkhanthungkarcdklumxakarechnni ephraawaxngkhprakxb 3 xyang simultanagnosia oculomotor apraxia aela optic ataxia aetlaxyangxacepnphlkhxngkhwambkphrxnghruxkhwamphidpktihlayxyang ephraawa Balint s syndrome haidyakaelayakthicapraeminodyichwithithwipthangkhlinik nganexksarthimixyuodymakepnkarraynganekhs case report thietmipdwykhwamexnexiynginkareluxkekhs case selection bias karichsphththiimehmuxnkn kartrwcsxbkarehnkhnphunthanthiimephiyngphx karrabuswnkhxngrxyorkhthiimchdecn aelakarimrabukhwamaetktangkhxngkhwambkphrxnginchwngthixakarekidkhunodychbphln acute phase kbchwngthimixakarekidkhunaebberuxrng chronic phase echingxrrthaelaxangxingUdesen H Madsen A L 1992 Balint s syndrome visual disorientation Ugeskrift for Laeger 154 21 1492 4 PMID 1598720 synd 1343 in Who Named It Balint Dr 1909 Seelenlahmung des Schauens optische Ataxie raumliche Storung der Aufmerksamkeit pp 51 66 Soul imbalance of seeing optical ataxia spatial disturbance of attention pp 51 66 European Neurology phasaeyxrmn 25 51 66 doi 10 1159 000210464 Kerkhoff G 2000 Neurovisual rehabilitation Recent developments and future directions Journal of Neurology Neurosurgery amp Psychiatry 68 6 691 706 doi 10 1136 jnnp 68 6 691 PMC 1736971 PMID 10811691 Ribai P Vokaer M De Tiege X Massat I Slama H Bier J C 2006 Acute Balint s syndrome is not always caused by a stroke European Journal of Neurology 13 3 310 2 doi 10 1111 j 1468 1331 2006 01144 x PMID 16618355 S2CID 6567099 Perez F M Tunkel R S Lachmann E A Nagler W 2009 Balint s syndrome arising from bilateral posterior cortical atrophy or infarction Rehabilitation strategies and their limitation Disability and Rehabilitation 18 6 300 4 doi 10 3109 09638289609165884 PMID 8783001 Zgaljardic Dennis J Yancy Sybil Levinson Jason Morales Gabrielle Masel Brent E 2011 Balint s syndrome and post acute brain injury rehabilitation A case report Brain Injury 25 9 909 17 doi 10 3109 02699052 2011 585506 PMID 21631186 S2CID 207447734 Toyokura M Koike T 2006 Rehabilitative intervention and social participation of a case with Balint s syndrome and aphasia The Tokai Journal of Experimental and Clinical Medicine 31 2 78 82 PMID 21302228 Rizzo Matthew 2000 Clinical Assessment of Complex Visual Dysfunction Seminars in Neurology 20 1 75 87 doi 10 1055 s 2000 6834 PMID 10874778 Rizzo M 2002 Psychoanatomical substrates of Balint s syndrome Journal of Neurology Neurosurgery amp Psychiatry 72 2 162 78 doi 10 1136 jnnp 72 2 162 PMC 1737727 PMID 11796765 Dalrymple Kirsten A Birmingham Elina Bischof Walter F Barton Jason J S Kingstone Alan 2011 Experiencing simultanagnosia through windowed viewing of complex social scenes Brain Research 1367 265 77 doi 10 1016 j brainres 2010 10 022 PMID 20950591 S2CID 9857024 Jackson Georgina M Swainson Rachel Mort Dominic Husain Masud Jackson Stephen R 2009 Attention competition and the parietal lobes Insights from Balint s syndrome Psychological Research 73 2 263 70 doi 10 1007 s00426 008 0210 2 PMID 19156438 S2CID 26978283 Dalrymple Kirsten A Bischof Walter F Cameron David Barton Jason J S Kingstone Alan 2010 Simulating simultanagnosia Spatially constricted vision mimics local capture and the global processing deficit Experimental Brain Research 202 2 445 55 doi 10 1007 s00221 009 2152 3 PMID 20066404 S2CID 23818496 Kim Min Shik Robertson Lynn C 2001 Implicit Representations of Space after Bilateral Parietal Lobe Damage Journal of Cognitive Neuroscience 13 8 1080 7 10 1 1 579 299 doi 10 1162 089892901753294374 PMID 11784446 S2CID 18411954 Perenin M T Vighetto A 1988 Optic Ataxia A Specific Disruption in Visuomotor Mechanisms Brain 111 3 643 74 doi 10 1093 brain 111 3 643 PMID 3382915 Battaglia Mayer A Caminiti R 2002 Optic ataxia as a result of the breakdown of the global tuning fields of parietal neurones Brain 125 2 225 37 doi 10 1093 brain awf034 PMID 11844724 Drane DL Lee GP Huthwaite JS aelakhna May 2009 Development of a partial Balint s syndrome in a congenitally deaf patient presenting as pseudo aphasia Clin Neuropsychol 23 4 715 28 doi 10 1080 13854040802448718 PMC 2836810 PMID 18923965 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Valenza N Murray MM Ptak R Vuilleumier P 2004 The space of senses impaired crossmodal interactions in a patient with Balint syndrome after bilateral parietal damage Neuropsychologia 42 13 1737 48 doi 10 1016 j neuropsychologia 2004 05 001 PMID 15351624 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Kas A de Souza LC Samri D aelakhna May 2011 Neural correlates of cognitive impairment in posterior cortical atrophy Brain 134 Pt 5 1464 78 doi 10 1093 brain awr055 PMID 21478188 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Rosselli Monica Ardila Alfredo Beltran Christopher 2001 Rehabilitation of Balint s Syndrome A Single Case Report Applied Neuropsychology 8 4 242 7 doi 10 1207 S15324826AN0804 7 PMID 11989728 S2CID 969103 Al Khawaja I 2001 Neurovisual rehabilitation in Balint s syndrome Journal of Neurology Neurosurgery amp Psychiatry 70 3 416 doi 10 1136 jnnp 70 3 416 PMC 1737281 PMID 11248903 Shah P A Nafee A 1999 Migraine aura masquerading as Balint s syndrome Journal of Neurology Neurosurgery amp Psychiatry 67 4 554 5 doi 10 1136 jnnp 67 4 554 PMC 1736566 PMID 10610392 Mendez M F 2000 Corticobasal Ganglionic Degeneration with Balint s Syndrome Journal of Neuropsychiatry 12 2 273 5 doi 10 1176 appi neuropsych 12 2 273 PMID 11001609 Gillen Jennifer A Dutton Gordon N 2007 Balint s syndrome in a 10 year old male Developmental Medicine amp Child Neurology 45 5 349 52 doi 10 1111 j 1469 8749 2003 tb00407 x PMID 12729150 Drummond Suzannah Rosalind Dutton Gordon N 2007 Simultanagnosia following perinatal hypoxia A possible pediatric variant of Balint syndrome Journal of American Association for Pediatric Ophthalmology and Strabismus 11 5 497 8 doi 10 1016 j jaapos 2007 03 007 PMID 17933675 aehlngkhxmulxunNational Institute on Deafness and Other Communication Disorders Apraxia of speechkarcaaenkorkhDICD 10 H51 8ICD 368 16thrphyakrphaynxk 363746