อาการหลงผิดเฉพาะเรื่อง (อังกฤษ: monothematic delusion) เป็นอาการหลงผิดในเรื่อง ๆ หนึ่ง เปรียบเทียบกับอาการหลงผิดหลายเรื่อง (multi-thematic, polythematic) ซึ่งเป็นอาการทั่วไปในโรคจิตเภท อาการเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นพร้อมกับโรคจิตเภทหรือภาวะสมองเสื่อม (dementia) หรือสามารถเกิดขึ้นโดยไม่ปรากฏอาการทางจิตอื่น ๆ ถ้าพบอาการนี้ในกรณีที่ไม่เกี่ยวกับโรคจิต ก็มักจะเป็นผลของความผิดปกติทางกายรวมทั้งการบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะ โรคหลอดเลือดสมอง หรือความผิดปกติทางประสาท
ผู้ที่มีอาการเหล่านี้จากสาเหตุความผิดปกติทางกาย มักจะไม่ปรากฏความบกพร่องทางปัญญาและมักจะไม่มีอาการอื่น ๆ นอกจากนั้นแล้ว ยังมีบางคนที่รู้อีกด้วยว่า ความเชื่อของตัวเองเป็นเรื่องแปลกประหลาด แต่คนอื่นก็ยังไม่สามารถโน้มน้าวให้แก้ความเชื่อผิด ๆ นั้นได้[]
ประเภท
อาการต่าง ๆ ที่รวมอยู่ในประเภทอาการหลงผิดเฉพาะเรื่องรวมทั้ง
- capgras syndrome เป็นความหลงผิดว่า ญาติสนิทหรือคู่ครองถูกแทนด้วยตัวปลอมที่มีหน้าตารูปร่างเหมือนกัน
- เป็นความหลงผิดว่า บุคคลต่าง ๆ ที่คนไข้เจอความจริงแล้วเป็นบุคคลเดียวกันปลอมตัวมา
- Intermetamorphosis เป็นความหลงผิดว่า บุคคลต่าง ๆ เปลี่ยนเป็นคนอื่นทั้ง ๆ ที่รูปร่างภายนอกไม่ได้เปลี่ยน
- เป็นความหลงผิดว่า มีคู่แฝดของตนที่มีการกระทำเป็นอิสระจากตน
- Cotard delusion เป็นความหลงผิดว่า ตนเองตายแล้วหรือไม่มีอยู่จริง ๆ บางครั้งมาพร้อมกับความเชื่อว่า ตนเองกำลังเน่าเปื่อยอยู่หรือว่ามีอวัยวะอะไรบางอย่างภายในที่หายไป
- เป็นความหลงผิดว่า เงาตนเองในกระจกเป็นคนอื่น
- เป็นความหลงผิดว่า คนที่คุ้นเคย หรือว่าสถานที่ หรือว่าวัตถุ หรือว่าอวัยวะในร่างกายหนึ่ง ๆ ได้เกิดการก๊อบปี้ขึ้น ยกตัวอย่างเช่น คนไข้อาจจะคิดว่าตัวเองไม่ได้อยู่ในโรงพยาบาลที่รับตนเข้า แต่อยู่ในโรงพยาบาลที่เหมือนกันที่อยู่อีกภูมิภาคหนึ่งของประเทศ
- Somatoparaphrenia เป็นความหลงผิดที่ปฏิเสธความเป็นเจ้าของของแขนขาหนึ่ง ๆ หรือของร่างกายทั้งซีก (บ่อยครั้งเกิดกับโรคหลอดเลือดสมอง)
ให้สังเกตว่า อาการหลงผิดเหล่านี้บางครั้งรวมกลุ่มอยู่ใต้ประเภท
เหตุเกิด
งานวิจัยทางประสาทจิตวิทยาเชิงปริชาน (cognitive neuropsychology) ชี้ว่า มีองค์ประกอบสองอย่างที่เป็นเหตุของอาการหลงผิดเฉพาะเรื่อง องค์ประกอบแรกก็คือประสบการณ์ที่วิบัติ (anomalous experience) ซึ่งบ่อยครั้งมีเหตุจากความผิดปกติทางประสาท ที่นำไปสู่ความหลงผิด และองค์ประกอบที่สองเป็นความบกพร่องของกระบวนการเกิดความเชื่อ (belief formation cognitive process)
ตัวอย่างขององค์ประกอบแรกก็คือ มีงานวิจัยหลายงานที่ชี้ว่า อาการหลงผิดคะกราส์เป็นผลจากความผิดปกติทางอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ใบหน้า ดังนั้น แม้ว่าคนไข้จะสามารถรู้จำคู่ครอง (หรือญาติสนิทของตน) ได้ แต่เพราะไม่มีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่คนปกติจะมี และดังนั้นการเห็นคู่ครองของตนจึงไม่ได้ให้ความรู้สึกเหมือนกับบุคคลที่ตนรู้จัก
แต่ว่า งานวิจัยเหล่านี้ชี้ว่า ความผิดปกติทางประสาทอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะเป็นเหตุของความคิดเห็นผิด ๆ แต่จะต้องมีองค์ประกอบที่สอง ซึ่งเป็นความเองเอียง (bias) หรือความผิดปกติของกระบวนการก่อตั้งความเชื่อ ซึ่งจะรักษาและทำให้มั่นคงซึ่งความหลงผิดนั้นไว้ แต่เพราะว่า ในปัจจุบันยังไม่มีแบบจำลองที่ดีว่า กระบวนการสร้างความเชื่อนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร ดังนั้น องค์ประกอบที่สองจึงยังไม่ชัดเจน
มีงานวิจัยบางงานแสดงว่า คนไข้ที่หลงผิดมักจะด่วนสรุปเหตุการณ์ และดังนั้น มักจะถือเอาประสบการณ์ที่ผิดปกติว่าเป็นความจริง และจะทำการตัดสินใจโดยรีบร้อนอาศัยประสบการณ์เหล่านี้ นอกจากนั้นแล้ว งานวิจัยต่าง ๆยังพบอีกด้วว่า คนไข้มักตัดสินใจผิดพลาดเพราะความเอนเอียงในการทำให้เหมือน (matching bias) ซึ่งบอกว่า คนไข้มักจะพยายามที่จะยืนยันกฎกติกาของสังคมหรือของตน (โดยไม่สามารถคำนึงถึงความจริง) ความเองเอียงในการตัดสินใจสองอย่างนี้ช่วยอธิบายว่า ผู้หลงผิดสามารถที่จะยึดถือความหลงผิดได้อย่างไร และทำไมจึงไม่สามารถกลับใจได้
นักวิจัยบางพวกเชื่อว่า ความเอนเอียงสองอย่างนี้เพียงพอแล้วที่จะอธิบายอาการหลงผิด แต่บางพวกเชื่อว่า ความเอนเอียงสองอย่างนี้ไม่เพียงพอที่จะอธิบายว่า ทำไมหลักฐานเกี่ยวกับความจริงจึงไม่สามารถโน้มน้าวผู้หลงผิดให้เข้าใจถูกได้ในระยะยาว คือ เชื่อว่า ต้องมีความบกพร่องทางประสาทที่ยังไม่ปรากฏอย่างอื่น ๆ ในระบบความเชื่อของคนไข้ (ซึ่งอาจจะอยู่ในสมองซีกขวา)
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ delusion ว่า "อาการหลงผิด" และของ thematic ว่า "ตามท้องเรื่อง" หรือ "เฉพาะเรื่อง" หรือ "ใจความหลัก"
- Davies, M., Coltheart, M., Langdon, R., Breen, N. (2001). (PDF). Philosophy, Psychiatry and Psychology. 8: 133–158. doi:10.1353/ppp.2001.0007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-03-02. สืบค้นเมื่อ 2014-07-02.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Sellen, J., Oaksford, M., Langdon, R., Gray, N. (2005). "Schizotypy and Conditional Reasoning". Schizophrenia Bulletin. 31 (1): 105–116. doi:10.1093/schbul/sbi012.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Dudley RE, John CH, Young AW, Over DE (May 1997). "Normal and abnormal reasoning in people with delusions". Br J Clin Psychol. 36 (Pt 2): 243–58. PMID 9167864.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Stone, T. (2005). "Delusions and Belief Formation" (Powerpoint).[]
แหล่งข้อมูลอื่น
- Stone, T. (2005). "Face Recognition and Delusions" (Powerpoint).[]
- The Belief Formation Project a project of the Macquarie Centre for Cognitive Science, which uses research on delusions with the aim of developing a cognitive model of beliefs
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xakarhlngphidechphaaeruxng xngkvs monothematic delusion epnxakarhlngphidineruxng hnung epriybethiybkbxakarhlngphidhlayeruxng multi thematic polythematic sungepnxakarthwipinorkhcitephth xakarehlanisamarthekidkhunphrxmkborkhcitephthhruxphawasmxngesuxm dementia hruxsamarthekidkhunodyimpraktxakarthangcitxun thaphbxakarniinkrnithiimekiywkborkhcit kmkcaepnphlkhxngkhwamphidpktithangkayrwmthngkarbadecbinkaohlksirsa orkhhlxdeluxdsmxng hruxkhwamphidpktithangprasath phuthimixakarehlanicaksaehtukhwamphidpktithangkay mkcaimpraktkhwambkphrxngthangpyyaaelamkcaimmixakarxun nxkcaknnaelw yngmibangkhnthiruxikdwywa khwamechuxkhxngtwexngepneruxngaeplkprahlad aetkhnxunkyngimsamarthonmnawihaekkhwamechuxphid nnid txngkarxangxing praephthxakartang thirwmxyuinpraephthxakarhlngphidechphaaeruxngrwmthng capgras syndrome epnkhwamhlngphidwa yatisnithhruxkhukhrxngthukaethndwytwplxmthimihnataruprangehmuxnkn epnkhwamhlngphidwa bukhkhltang thikhnikhecxkhwamcringaelwepnbukhkhlediywknplxmtwma Intermetamorphosis epnkhwamhlngphidwa bukhkhltang epliynepnkhnxunthng thiruprangphaynxkimidepliyn epnkhwamhlngphidwa mikhuaefdkhxngtnthimikarkrathaepnxisracaktn Cotard delusion epnkhwamhlngphidwa tnexngtayaelwhruximmixyucring bangkhrngmaphrxmkbkhwamechuxwa tnexngkalngenaepuxyxyuhruxwamixwywaxairbangxyangphayinthihayip epnkhwamhlngphidwa engatnexnginkrackepnkhnxun epnkhwamhlngphidwa khnthikhunekhy hruxwasthanthi hruxwawtthu hruxwaxwywainrangkayhnung idekidkarkxbpikhun yktwxyangechn khnikhxaccakhidwatwexngimidxyuinorngphyabalthirbtnekha aetxyuinorngphyabalthiehmuxnknthixyuxikphumiphakhhnungkhxngpraeths Somatoparaphrenia epnkhwamhlngphidthiptiesthkhwamepnecakhxngkhxngaekhnkhahnung hruxkhxngrangkaythngsik bxykhrngekidkborkhhlxdeluxdsmxng ihsngektwa xakarhlngphidehlanibangkhrngrwmklumxyuitpraephthehtuekidnganwicythangprasathcitwithyaechingprichan cognitive neuropsychology chiwa mixngkhprakxbsxngxyangthiepnehtukhxngxakarhlngphidechphaaeruxng xngkhprakxbaerkkkhuxprasbkarnthiwibti anomalous experience sungbxykhrngmiehtucakkhwamphidpktithangprasath thinaipsukhwamhlngphid aelaxngkhprakxbthisxngepnkhwambkphrxngkhxngkrabwnkarekidkhwamechux belief formation cognitive process twxyangkhxngxngkhprakxbaerkkkhux minganwicyhlaynganthichiwa xakarhlngphidkhakrasepnphlcakkhwamphidpktithangxarmnthiekiywkhxngkbkarrbruibhna dngnn aemwakhnikhcasamarthrucakhukhrxng hruxyatisnithkhxngtn id aetephraaimmiptikiriyathangxarmnthikhnpkticami aeladngnnkarehnkhukhrxngkhxngtncungimidihkhwamrusukehmuxnkbbukhkhlthitnruck aetwa nganwicyehlanichiwa khwamphidpktithangprasathxyangediywimephiyngphxthicaepnehtukhxngkhwamkhidehnphid aetcatxngmixngkhprakxbthisxng sungepnkhwamexngexiyng bias hruxkhwamphidpktikhxngkrabwnkarkxtngkhwamechux sungcarksaaelathaihmnkhngsungkhwamhlngphidnniw aetephraawa inpccubnyngimmiaebbcalxngthidiwa krabwnkarsrangkhwamechuxnnekidkhunidxyangir dngnn xngkhprakxbthisxngcungyngimchdecn minganwicybangnganaesdngwa khnikhthihlngphidmkcadwnsrupehtukarn aeladngnn mkcathuxexaprasbkarnthiphidpktiwaepnkhwamcring aelacathakartdsinicodyribrxnxasyprasbkarnehlani nxkcaknnaelw nganwicytang yngphbxikdwwa khnikhmktdsinicphidphladephraakhwamexnexiynginkarthaihehmuxn matching bias sungbxkwa khnikhmkcaphyayamthicayunynkdktikakhxngsngkhmhruxkhxngtn odyimsamarthkhanungthungkhwamcring khwamexngexiynginkartdsinicsxngxyangnichwyxthibaywa phuhlngphidsamarththicayudthuxkhwamhlngphididxyangir aelathaimcungimsamarthklbicid nkwicybangphwkechuxwa khwamexnexiyngsxngxyangniephiyngphxaelwthicaxthibayxakarhlngphid aetbangphwkechuxwa khwamexnexiyngsxngxyangniimephiyngphxthicaxthibaywa thaimhlkthanekiywkbkhwamcringcungimsamarthonmnawphuhlngphidihekhaicthukidinrayayaw khux echuxwa txngmikhwambkphrxngthangprasaththiyngimpraktxyangxun inrabbkhwamechuxkhxngkhnikh sungxaccaxyuinsmxngsikkhwa echingxrrthaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng delusion wa xakarhlngphid aelakhxng thematic wa tamthxngeruxng hrux echphaaeruxng hrux ickhwamhlk Davies M Coltheart M Langdon R Breen N 2001 PDF Philosophy Psychiatry and Psychology 8 133 158 doi 10 1353 ppp 2001 0007 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 03 02 subkhnemux 2014 07 02 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Sellen J Oaksford M Langdon R Gray N 2005 Schizotypy and Conditional Reasoning Schizophrenia Bulletin 31 1 105 116 doi 10 1093 schbul sbi012 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Dudley RE John CH Young AW Over DE May 1997 Normal and abnormal reasoning in people with delusions Br J Clin Psychol 36 Pt 2 243 58 PMID 9167864 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Stone T 2005 Delusions and Belief Formation Powerpoint lingkesiy aehlngkhxmulxunStone T 2005 Face Recognition and Delusions Powerpoint lingkesiy The Belief Formation Project a project of the Macquarie Centre for Cognitive Science which uses research on delusions with the aim of developing a cognitive model of beliefs