ในทางจิตวิทยา ปรัชญา และสาขาย่อยอื่น ๆ อารมณ์ หมายถึงประสบการณ์ในและอัตวิสัยที่ถูกกำหนดลักษณะเฉพาะโดยทาง ปฏิกิริยาทางชีววิทยา และ อารมณ์มักจะเกี่ยวข้องและถูกจัดว่ามีอิทธิพลซึ่งกันและกันกับ พื้นอารมณ์แต่กำเนิด บุคลิกภาพ และแรงจูงใจ เช่นเดียวกับที่ได้รับอิทธิพลจากฮอร์โมนและสารสื่อประสาท อาทิ โดพามีน เซโรโทนิน ออกซิโทซิน และ อารมณ์มักเป็นพลังขับดันเบื้องหลังพฤติกรรมไม่ว่าเชิงบวกหรือเชิงลบ สรีรวิทยาของอารมณ์มีความเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับของระบบประสาท ด้วยสถานะและความแรงของการกระตุ้นที่หลากหลายซึ่งเกี่ยวเนื่องกับอารมณ์เฉพาะอย่างโดยชัดเจน ถึงแม้ว่าการแสดงออกด้วยอารมณ์อาจดูเหมือนว่าเป็นการกระทำโดยไม่ต้องใช้ความคิด แต่มุมมองที่สำคัญของอารมณ์ก็คือการรับรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตีความหมายของสิ่งที่เกิด ตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดการข่มขู่คุกคาม ประสบการณ์แห่งความกลัวจะบังเกิดโดยปกติ การรับรู้ถึงภัยอันตรายและภาวะกระตุ้นของระบบประสาทที่ตามมา (เช่นชีพจรเต้นเร็ว หายใจเร็ว เหงื่อออก กล้ามเนื้อหดเกร็ง) คือองค์ประกอบโดยรวมที่นำไปสู่การตีความหมายและการระบุว่าภาวะกระตุ้นเป็นสถานะอารมณ์ อารมณ์ก็มีความเชื่อมโยงกับแนวโน้มของพฤติกรรม การวิจัยเกี่ยวกับอารมณ์เพิ่มขึ้นอย่างมากภายในสองทศวรรษที่ผ่านมาในหลายสาขาที่ศึกษาอย่างเช่นจิตวิทยา ประสาทวิทยา แพทยศาสตร์ สังคมวิทยา และแม้แต่วิทยาการคอมพิวเตอร์ ทฤษฎีจำนวนมากที่พยายามอธิบายแหล่งกำเนิด ประสาทชีววิทยา ประสบการณ์ และการทำงานของอารมณ์ ได้แต่เพียงประคับประคองการวิจัยที่เข้มข้นมากยิ่งขึ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้ อารมณ์ในลักษณะต่าง ๆ คือความรู้สึกที่โดยทั่วไปมีองค์ประกอบทั้งสรีรวิทยาและการรับรู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
อ้างอิง
- Gaulin, Steven J. C. and Donald H. McBurney. Evolutionary Psychology. Prentice Hall. 2003. , Chapter 6, p 121-142.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangcitwithya prchya aelasakhayxyxun xarmn hmaythungprasbkarninaelaxtwisythithukkahndlksnaechphaaodythang ptikiriyathangchiwwithya aela xarmnmkcaekiywkhxngaelathukcdwamixiththiphlsungknaelaknkb phunxarmnaetkaenid bukhlikphaph aelaaerngcungic echnediywkbthiidrbxiththiphlcakhxromnaelasarsuxprasath xathi odphamin esorothnin xxksiothsin aela xarmnmkepnphlngkhbdnebuxnghlngphvtikrrmimwaechingbwkhruxechinglb srirwithyakhxngxarmnmikhwamechuxmoyngxyangiklchidkbkhxngrabbprasath dwysthanaaelakhwamaerngkhxngkarkratunthihlakhlaysungekiywenuxngkbxarmnechphaaxyangodychdecn thungaemwakaraesdngxxkdwyxarmnxacduehmuxnwaepnkarkrathaodyimtxngichkhwamkhid aetmummxngthisakhykhxngxarmnkkhuxkarrbru odyechphaaxyangyingkartikhwamhmaykhxngsingthiekid twxyangechn emuxekidkarkhmkhukhukkham prasbkarnaehngkhwamklwcabngekidodypkti karrbruthungphyxntrayaelaphawakratunkhxngrabbprasaththitamma echnchiphcretnerw hayicerw ehnguxxxk klamenuxhdekrng khuxxngkhprakxbodyrwmthinaipsukartikhwamhmayaelakarrabuwaphawakratunepnsthanaxarmn xarmnkmikhwamechuxmoyngkbaenwonmkhxngphvtikrrm karwicyekiywkbxarmnephimkhunxyangmakphayinsxngthswrrsthiphanmainhlaysakhathisuksaxyangechncitwithya prasathwithya aephthysastr sngkhmwithya aelaaemaetwithyakarkhxmphiwetxr thvsdicanwnmakthiphyayamxthibayaehlngkaenid prasathchiwwithya prasbkarn aelakarthangankhxngxarmn idaetephiyngprakhbprakhxngkarwicythiekhmkhnmakyingkhunekiywkberuxngni xarmninlksnatang khuxkhwamrusukthiodythwipmixngkhprakxbthngsrirwithyaaelakarrbrusungmixiththiphltxphvtikrrmtwxyangxarmnphunthanxangxingGaulin Steven J C and Donald H McBurney Evolutionary Psychology Prentice Hall 2003 ISBN 978 0 13 111529 3 Chapter 6 p 121 142 bthkhwamcitwithya xarmn hruxphvtikrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk